directions_run

โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

เกิดคณะทำงานที่มีความสามัคคึรักใคร่กลมเกลียวกันซึ่งภาพเหล่านี้มันเลือนหายไปเป็น10ปีแล้ว

ชุมชนบ้านลานช้าง ประชาชนในชุมชนเกิดความตื่นตัว ลุกขึ้นมาจัดการตนเอง ปลุกสามัญสำนึกในการมีส่วนร่วม เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม

จากการถอดบทเรียน/จากรายงานในwebคนใต้สร้างสุข

พัฒนาคนและศักยภาพของคนในชุมชน

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

เกิดกลไกการมีส่วนร่วมและการใช้กฎ กติกา ชุมชน ในการขับเคลื่อน

การหนุนเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมให้ครัวเรือนและชุมชนมีการคัดแยกขยะต้นทางให้เกิดความตระหนัก คือ  คณะทำงานใช้การประชุมติดตาม ทุกเดือนขับเคลื่อนงานชุมชน และคณะทำงาน 23 คนที่มาจากตัวแทนรพสต.โรงเรียน อบต. อสม. ปราชญ์ชาวบ้าน กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทน 6 คุ้มบ้าน เป็นกลไกสำคัญในการจัดการขยะในชุมชน โดยการเก็บข้อมูลและประชุมคืนข้อมูลการติดตามการจัดการขยะในชุมชนทุกเดือน

จากการถอดบทเรียน/จากรายงานในwebคนใต้สร้างสุข

พัฒนาคนและศักยภาพของคณะทำงานเพิ่ม