directions_run

จัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชนที่คลองส้านแดง

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมบริหารจัดการ (ปฐมนิเทศโครงการ) 10 มิ.ย. 2563 20 มิ.ย. 2563

 

เวลา 08.30-08.45น.    เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย/ แนะนำตัวทำความรู้จัก/สันทนาการ (ทีมสันทนาการ) เวลา 08.45-09.00น.    ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม (นายไพฑูรย์ ทองสม) เวลา 09.00-09.30น.    คลี่บันไดผลลัพธ์ องค์ประกอบบันไดผลลัพธ์และภาคีร่วมดำเนินการ (นายอรุณ ศรีสุวรรณ) เวลา 09.30-10.15น.    แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการ/พี่เลี้ยง ร่วมกันทบทวน ปรับปรุงบันไดผลลัพธ์ของโครงการย่อย เวลา 10.15-10.45น.    การออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ (นายไพฑูรย์ ทองสม) เวลา 10.45-11.30น.    พักเบรก รับประทานอาหารว่าง เวลา 11.30-12.00น.    แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการ/พี่เลี้ยง ช่วยกันออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดโครงการย่อย เวลา 12.00-13.00น.    พัก รับประทานอาหารเที่ยง เวลา 13.00-13.20น.    การออกแบบแผนดำเนินงานโครงการ (นายเสณี จ่าวิสูตร) เวลา 13.20-14.00น.    แล่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย/พี่เลี้ยง ออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการย่อย เวลา 14.20-15.00น.    การบริหารจัดการ การเงิน (นางสาวจุรี หนูผุด/นายจำรัส รัตนอุบล) เวลา 15.00-15.20น    สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (นายสมนึก นุ่มดวง) เวลา 15.20-15.30น.    พักเบรก อาหารว่าง เวลา 15.30-16.30น.    การเขียนรายงานผ่านระบบHappy Network (นายไพฑูรย์ ทองสม)

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนงาน3คน ผลลัพธ์ -ได้รู้วิธีการคลี่บันไดผลลัพท์ และมีการแบ่งกลุ่มย่อยตามพื้นที่เพื่อฝึกปฏิบัติการคลี่บันไดผลลัพท์ -ได้รู้วิธีการออกแบบการจัดเก็บข้อมูล และมีการแบ่งกลุ่มย่อยตามพื้นที่เพื่อฝึกปฏิบัติการออกแบบการจัดเก็บข้อมูล ตามตัวชี้วัด ช่วงบ่าย -ได้รู้วิธีการออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการ และและมีการแบ่งกลุ่มย่อยตามพื้นที่เพื่อฝึกปฏิบัติการออกแบบแผนดำเนินงาน มีการกำหนดปฏิทินกิจกรรมก่อน-หลังตามความเหมาะสมเพื่อให้สอดคล้องกับบันไดผลลัพท์ในแต่ละขั้น ตามที่วางไว้ในแผนโครงการ -การบริหารจัดการ การเงิน เพื่อการรับ-จ่ายเงิน มีความโปรงใสตรวจสอบได้ การใช้จ่ายเงินสนับสนุนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และเอกสารหลักฐานการจ่ายเงินมีความสมบูรณ์ครบถ้วน ถูกต้อง -การเขียนโครงการผ่านระบบ Happy Network ได้รู้วิธีการเขียนโครงการผ่านระบบ

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 25 มิ.ย. 2563 25 มิ.ย. 2563

 

10.00น. สร้างความเข้าใจที่มา และวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ ผู้ติดตามโครงการ ทำความเข้าใจเรื่องที่มาของโครงการ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส เพื่อให้กลุ่มร่วมกันทำโครงการจากที่แกนนำได้ออกแบบไว้ คือการร่วมกันเรียนรู้การจัดการคลองจัดการน้ำของชุมชนโดยไปหนุนเสริมยุทธศาสตร์ กรีนซิตี้ จังหวัดพัทลุงในส่วนที่ยุทธศาสตร์จังหวัดยังมีช่องว่างอยู่ เน้นให้คณะทำงานบริหารจัดการกันเองมุ่งสร้างการเรียนรู้ให้แก่ทุกกลุ่มวัยในชุมชน ให้เห็นเป็นรูปธรรมของการจัดการคลองทั้งระบบโดยชุมชน 11.00น.สร้างความเข้าใจตัวชี้วัตของโครงการตัวชี้วัดคือสิ่ที่จะบอกว่าโครงการดำเนินไปแล้วเกิดขึ้นตามที่คณะทำงานกลุ่มได้กำหนดตัวชี้วัดไว้หรือไม่ หากทำกิจกรรมตามที่วางไว้จะเกิดผลตามที่ต้องการหรือไม่ หากไม่เกิดก็สามารถปรับแผนปรับกิจกรรมได้ความความเหมาะสมและความเห็นร่วมของคณะทำงานโดยภายใต้การเห็นชอบของพี่เลี้ยงติดตามโครงการด้วย 13.00น.ชี้แจงการเงิน งบประมาณทั้งหมดตลอดโครงการได้รับสนับสนุนจาก สสส จำนวน 157,750 บาท การใช้จ่ายให้จ่ายตามเงื่อนใขของโครงการที่กำหนดไว้ในรูปของคณะทำงานโครงการ รายละเอียดแกนนำได้ผ่านการอบรมจากหน่วยจัดการมาแล้ว 14.00น. จัดโครงสร้างคณะทำงานโครงการ 15.00น. กำหนดแผนการทำงานในระยะเดือนแรกและพิจารณาเพื่อขออนุมัติเบิกเงินโครงการ มาจัดกิจกรรมเป็นจำนวนเงิน16,200บาท ที่ประชุมมีความเห็นให้เบิกเงินได้

 

ผลผลิตคือ 1. มีผู้ร่วมประชุม 26 คน 2.ได้พิจารณาให้อนุมัติเบิกเงินโครงการงวดแรกจำนวน16,200บาท ผลลัพธ์คือ 1. ผู้ร่วมประชุมได้เรียนรู้ และเข้าใจ ที่มา เป้าหมายโครงการและเงื่อนไขการใช้เงินโครงการ 2 มีโครงสร้างคณะทำงานและบทบาทหน้าที่การทำงานภายใต้โครงการรายละเอียดตามที่แนบไฟล์มา 3. ได้แผนการทำงานในรอบเดือนหน้าคือ -ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล -จัดเวทีค้นหาคัดเลือกคณะทำงานระดับพื้นที่่ -นัดประชุมคณะทำงานครั้งที่2ในวันที่15ก.ค.2563 -จัดทำป้ายโครงการและป้ายสสส. โดยมีงบประมาณในส่วนงบบริหาร1,000บาทมอบหมายให้นายรอสรี ยาพระจันทร์เป็นคนรับผิดชอบ

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 15 ก.ค. 2563 15 ก.ค. 2563

 

10.00น.สรุปการประชุมครั้งที่แล้ว ประเด็นสรุปคือ จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน25คน
10.30น.ชี้แจงงบประมาณค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการจัดกิจกรรมครั้งก่อน คือ -มีค่าใช้จ่ายในการร่วมประชุมปฐมนิเทศน์จำนวน1,000บาท -ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่1จำนวน3,750บาท 11.00น.ออกแบบแบบจัดเก็บข้อมูลโครงการ
13.00น.วางแผนการลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล โดยให้คณะทำงานลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลให้แล้วเสร็จภายใน2เดือน มอบหมายให้ทีมแต่ละหมู่บ้านเป็นแกนนำในการลงพื้นที่จัดเก็บโดยโครงการมีค่าอาหารสำหรับผู้ที่ลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลและแบ่งกันเป็นทีมทีมละ6คนจำนวน ค่าใช้จ่ายสามารถมาเบิกได้ที่การเงินโครงการหลังจากได้จัดเก็บข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว 14.30น.เลิกประชุม

 

ผลผลิตคือ 1.มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุมจำนวน 26 คน 2.คณะทำงานได้รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว ผลลัพธ์คือ 1.ร่างแบบฟอร์มจัดเก็บข้อมูลโครงการ 2.ได้แบ่งหน้าที่และกลไกการจัดเก็บข้อมูลโครงการ

 

เวทีสร้างการเรียนรู้และค้นหาคณะทำงานร่วมระดับพื้นที่ (5หมู่บ้าน) 20 ก.ค. 2563 20 ก.ค. 2563

 

10.00น. ชี้แจงวัตถุประสงค์กินกรรม 10.30น. ร่วมกันค้นหาคณะทำงานที่มาจากพื้นที่
11.00น. กำหนดบทบาทหน้าที่ 12.00น. พัก 13.30น. ร่วมกันออกแบบกลไกและกติกาการทำงานร่วมกัน 15.00น. เลิกประชุม

 

ผลผลิต มีผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน45คน ผลลัพธ์ 1. ได้คณะทำงานระดับพื้นที่ๆละ5คน 2.ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานร่วมกันโดยหน้าที่หลักของแกนนำระดับหมู่บ้านคือ -ประสานงานในการจัดกิจกรรมในระดับหมู่บ้าน -ทำหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลในการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ -เข้าร่วมประชุมกับกลุ่มอย่างต่อเนื่อง 3.ได้กติกาในการทำงานร่วมกันคือ -เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่กลุ่มนัดหมาย -ร่วมแสดงความเห็นในการประชุมแต่ละครั้ง -การบริหารจัดการงบฯที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มต้องรับรู้และมีความรับผิดชอบร่วมกัน -ร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆในการดำเนินงานของกลุ่ม

 

บริหารจัดการ(ทำป้ายไวนิลโครงการและป้ายสสส.) 30 ก.ค. 2563 30 ก.ค. 2563

 

จัดจ้างทำป้ายโครงการและป้ายสสส.จำนวน2ป้าย

 

ผลผลิตคือ ได้ป้ายจำนวน2ป้าย

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 15 ส.ค. 2563 15 ส.ค. 2563

 

10.00น. แจ้งเพื่อทราบรายงานการประชุมครั้งที่แล้วการเงินแจ้งรายงานการเงินโครงการในรอบเดือนที่ผ่านมา คณะทำงานที่ร่วมประชุมรับทราบ 11.00น.รายงานความก้าวหน้าในการลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล คณะทำงานได้เริ่มลงพื้นที่เพื่อจัดเก็บข้อมูลตามที่ตกลงไว้แล้วในบางหมู่บ้านคือบ้านหัวช้างหมู่ที่2 และบ้านอินนอโมหมู่ที่7ต.ตะโหมด ความก้าวหน้าอยู่ที่ร้อยละ30ของจำนวนการจัดเก็บข้อมูล 13.00น. คณะทำงานสะท้อนปัญหาการลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลคือ -คนที่ถูกจัดเก็บข้อมูลเกิดความสงสัยในเหตุผลในการจัดเก็บข้อมูล แต่คณะทำงานก็สามารถอธิบายเหตุผลต่อกลุ่มเป้าหมายได้ -ความต่อเนื่องในการลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล ที่ไม่สามารถลงพื้นที่เก็บข้อมูลได้ต่อเนื่่องเพราะทุกคนมีภาระทางครอบครัว และกลุ่มต้องมีกิจกรรมรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในพื้นที่และกิจกรรมอื่นๆในหมู่บ้าน
ทางออกคือ ลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลไปเรื่อยๆให้ทันตามที่กำหนดไว้โดยอย่ารบกวนหน้าที่ในครอบครัวของคณะทำงานและกิจกรรมอื่นๆที่สำคัญ 14.30น.กำหนดกิจกรรมในครั้งต่อไปคือ -กิจกรรมประชุมคณะทำงานในวันที่15ก.ย.63

 

ผลผลิตคือ 1.มีคณะทำงานร่วมประชุม25 คน 2.ได้รับรองรายงานครั้งที่แล้ว ผลลัพธ์คือ 1.ได้เรียนรู้การจัดเก็บข้อมูล 2.ได้เรียนรู้ปัญหาในการทำงานและหาทางออกในการทำงานร่วมกัน

 

กิจกรรมบริหารจัดการ จัดทำระบบรายงาน 31 ส.ค. 2563 31 ส.ค. 2564

 

คณะทำงานจัดทำรายงานในระบบรายงาน

 

ได้รายงานรายละเอียดการจัดกิจกรรมลงในระบบรายงาน

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 15 ก.ย. 2563 15 ก.ย. 2563

 

10.00น. แจ้งรายงานการประชุมครั้งที่แล้วและการใช้เงินในการจัดกิจกรรมในช่วงเดือนที่ผ่านมา ที่ประชุมรับทราบ 11.00น.สรุปผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา รายงานความก้าวหน้าในการลงพื้นที่การจัดเก็บข้อมูลโครงการ คงามก้าวหน้าการจัดเก็บข้อมูลสามารถลงพื้นที่ได้ทุกพื้นที่แล้วแต่ยังไม่สามารถจัดเก็บได้ครบตามที่วางแผนกำหนดไว้ คณะทำงานบิกกล่าวอุปสรรคในการเก็บข้อมูลคือ การที่ไม่ได้ข้อมูลเชิงพื้นที่การผลิตที่ละเอียดมากนักถึงจำนวนเนื้อที่การเกษตร 13.00น.วางแผนแบ่งหน้าที่การจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติม คือให้ทีมบ้านอินนอโมลงไปช่วยทีมอื่นที่ยังจัดเก็บไม่เรียบร้อย 14.00น.ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการต่อสู้การสร้างอ่างเก็บน้ำบ้านเหมืองตะกั่ว โดยมีแกนนำชุมชนที่คัดค้านการสร้างอ่างเก็บน้ำบ้านเหมืองตะกั่วมาเล่าสถานะการณ์การต่อสู้ในพื้นที่และขอความร่วมมือในการยื่นหนังสือคัดค้านต่อผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุงและการเดินทางไปชุมนุมยังทำเนียบรัฐบาล

 

ผลผลิตคือ ผู้เข้าร่วมประชุม 21 คนและได้รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว ผลลัพธ์คือ -ได้มีการสรุปผลความก้าวหน้าการจัดเก็บข้อมูลโครงการของโครงการที่ผ่านมา -มีการแบ่งหน้าที่ในการสำรวจจัดเก็บข้อมูลพื้นที่คลองส้านแดงเพิ่มเติม เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแผนที่สายน้ำ -ได้ร่วมเรียนรู้กระบวนการต่อสู้การจัดการน้ำชุมชนกับกลุ่มรักษ์โตนสะตอ บ้านเหมืองตะกั่ว ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการสำรวจจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนที่สายน้ำ

 

เรียนรู้ปัญหาและสถานการณ์น้ำ 16 ก.ย. 2563 29 ต.ค. 2563

 

09.00-09.30น.  ลงทะเบียน /พร้อมกันที่ประชุม 09.30-10.00น.  กล่าวต้อนรับและชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ โดยนายนพรัตน์ เอียดตรง ตัวแทนกลุ่มฯ 10.00-11.00น.  เสวนาแนวทางการจัดการน้ำจังหวัดพัทลุงแบบยั่งยืนมุ่งสนองยุทธศาสตร์พัทลุงกรีนซิตี้          โดยนายประสิทธิชัย หนูนวล เลขานุการมูลนิธิภาคใต้สีเขียว / นายเสณี จ่าวิสูตร หัวหน้าทีมวิชาการสนับสนุนโครงการฯ ดำเนินการโดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ นักวิชาการผู้ติดตามและสนับสนุนโครงการฯ 11.00-12.00น.  แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแนวทางการสร้างความร่วมมือเพื่อมุงผลสำเร็จการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคีภาคราชการ ภาคท้องถิ่น ภาคประชาชน และผู้ดำเนินโครงการฯ ดำเนินการโดย นายอรุณ ศรีสุวรรณ นักวิชาการผู้ติดตามและสนับสนุนโครงการฯ 12.00น.        รับประทานอาหารร่วมกัน
13.30-15.00น.  คณะทำงานประชุมสรุปการจัดกิจกรรม และวิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรม

 

ผลผลิตคือ 1.มีผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน71คน 2.มีภาคีส่วนราชการมาร่วมจำนวน5หน่วยงาน ผลลัพธ์คือ 1.คนในชุมชนได้เข้าใจวัตถุประสงค์โครงการ 2.คนในชุมชนและคณะทำงานได้เรียนรู้แนวทางการจัดการน้ำในระดับนโบายที่เป็นนโยบายสาธาณะภาคประชนจากวิทยารับเชิญ 3.ได้ความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานภาคราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

 

กิจกรรมบริหารจัดการ(ประชุมสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด) 7 ต.ค. 2563 7 ต.ค. 2563

 

08.30-09.00น. ลงทะเบียน 09.00-09.10น. กิจกรรมสันทนาการ(ไพลิน+พื้นที่โครงการชุมชนน่าอยู่) 09.10-09.20น. เปิดกล่าวต้อนรับผู้ร่วมกิจกรรม(นายทวี เสนแก้ว ตัวแทนพื้นที่ดำเนินการชุมชนน่าอยู่) 09.20-09.45น.ทำความรู้จักชุดโครงการชุมชนน่าอยู่ผ่านสื่อวิดีทัศน์ 09.45-11.00น. นำเสนอผลลัพธ์ชุดโครงการชุมชน่าอยู่ใน 8ประเด็น+สภาผู้นำ/สลับการแสดงความเห็นจากภาคีร่วมฯ -ประเด็นการจัดการขยะ+ประเด็นเศรษฐกิจ(นัฐพงค์) -ประเด็นลดละเลิกบุหรี่+ประเด็นลดอุบัติเหตุ(สมนึก) -ประเด็นบริโภคผัก+ประเด็นลดสารเคมีการเกษตร(ถาวร) -ประเด็นกิจกรรมทางกาย+ประเด็นทรัพยากร(ประเทือง) -ประเด็นสภาผู้นำ(ไพฑูรย์) 11.00-12.00น. ทำความรู้จักยุทธศาสตร์พัทลุงกรีนซิตีและการดำเนินที่ผ่านมาภายใต้ชุดโครงการNFS(ไพฑูรย์)/ตัวแทนภาคีนำเสนอวิสัยทัศน์แนวทางการทำงานสู่พัทลุงกรีนซิตี้ 12.00-13.00น. พักรับประทานอาหาร 13.00-13.15น. กิจกรรมสันทนาการ(ไพลิน+พื้นที่ ร.ร.ขยะตำบลชะรัด) 13.15-14.30น. แบ่งกลุ่มย่อยตามประเด็นดำเนินการโครงการNFS(พื้นที่ดำเนินการประเด็น+ภาคีร่วม+ชุมชนน่าอยู่)ภายใต้โจทย์ เราจะมีแนวทางทำงานร่วมกันอย่างไรเพื่อมุ่งไปสู่พัทลุงกรีนซิตี(ไพฑูรย์) 14.30-15.30น. นำเสนอแนวทางสร้างความร่วมมือการทำงานร่วมกันตามประเด็นโดยตัวแทนกลุ่มประเด็น 15.30-16.00น. สรุปผลภาพรวม(สมนึก)

 

ผลผลิตคือ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน2คน ผลลัพธ์คือ 1.ได้ร่วมเรียนรู้การทำงานชุดโครงการชุมชนน่าอยู่และพื้นที่โครงการอื่นภายใต้ชุดโครงการเดียวกัน 2.ได้เรียนรู้การจัดเวทีที่เน้นการเรียนรู้เชิงผลลัพธ์

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 15 ต.ค. 2563 15 ต.ค. 2563

 

10.00น. แจ้งรายงานการประชุมครั้งที่แล้วและการใช้จ่ายเงินจัดกิจกรรมโครงการให้ที่ประชุมรับทราบ ที่ประชุมรับรองผลการประชุม 11.00น. สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลโครงการ ผลการจัดเก็บข้อมูลสามารถจัดเก็บข้อมูลำด้ครบตามที่กำหนดไว้ และนัดคณะทำงานมารวบรวมและสรุปข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลโครงการและฐานข้อมูลแก่ชุมชนได้เรียนรู้ในการประชุมคณะทำงานโครงการในเดือนถัดไปในวันที่15พ.ย.2563 13.00วางแผนการดำเนินการครั้งต่อไปคือการจัดกิจกรรมเรียนรู้ปัญหาและสถานะการสายน้ำ โดยกำหนดจัดในวันที่29ต.ค.63 มัสยิดบ้านนอโม และวางรูปแบบการจัดกิจกรรม แบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมคือ -นายนพรัตน์ รับผิดชอบเชิญกลุ่มเป้าหมาย -นายรอสลี รับผิดชอบอาหารและเอกสาร -นายหมัดรับผิดชอบสถานที่และอุปกรณ์ -นายอรุณ รับผิดชอบกระบวนการเวที และวิชาการ 14.00น.พิจารณาขออนุมัติเบิกงบจัดกิจกรรมจำนวน20,000บาท ที่ประชุมเห็นชอบในการขอใช้งบประมาณจัดกิจกรรม

 

ผลผลิตคือ 1.มีผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน23คน 2.ได้แผนการทำงานและแผนการใช้งบประมาณ ผลลัพธ์คือ 1.ได้ข้อมูลดิบที่ยังรวบนวมไม่เรียบร้อยจากการสำรวจพื้นบริเวณคลองส้านแดง มีพื้นที่ประมาณ 500 ไร่ โดยพื้นที่ ประมาณ 95% มีการปลูกพืช เช่น ผักกูด ยางพารา และผลไม้ เป็นต้น 2.ได้เรียนรู้กระบวนการจัดเวทีเรียนรู้ 3.ได้แบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะทำงานในการจัดกิจกรรม

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 25 พ.ย. 2563 27 ต.ค. 2563

 

10.00น.สรปผลการดำเนินงานในรอบเดือนที่ผ่านมา 11.00น.กำหนดแผนการดำเนอนงานในช่สงเดือนต่อไป 12.00น.พัก 13.00น.ชี้แจงรายงานการเงินโครงการ 14.00น.แย่งหน้าที่รับผิดชอบการทำงาน 15.00น.ปิดประชุม

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมประชุม10คน ผลลัพธ์ ได้แผนการทำงานในช่วงเดือนต่อไป ที่ประชุมรับทรายสถานะทางการเงินโครงการ คณะทำงานโครงการได้แบ่งหน้าที่การทำงาน

 

จัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสายน้ำและพื้นที่การใช้ประโยชน์ 28 พ.ย. 2563 28 พ.ย. 2563

 

1ลงพื้นที่สำรวจสายน้ำและจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสายน้ำ 2จัดรวบรวมข้อมูลที่ได้มาจากการลงพื้นที่โดยคณะทำงานโครงการ

 

ผลผลิต ได้ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้านพื้นืั้การเกษตรริมน้ำและข้อมูลความสมบูรณ์ริมน้ำ

 

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 1 30 พ.ย. 2563 6 ธ.ค. 2563

 

10.00น.ลงทะเบียน ชี้แจงเป้าหมายการทำกิจกรรม 10.30น.คณะทำงานโครงการนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการตามที่ดำเนินการตามแผนงานกิจกรรมที่กำหนดไว้ นำเสนอผลที่เกิดจากการทำกิจกรรมตามบันไดผลลัพธ์โครงการ 12.00น.พัก 13.30น.ผู้ติดตามโครงการซักถามคณะทำงานโครงการเพื่อยืนยันผลที่เกิดจากการดำเนินงานที่เกิดตามบันไดผลลัพธ์ 15.00น.สรุปผลการพูดคุย เลิกกิจกรรม

 

ผลผลิต มีผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน20คน ผลลัพธ์ เกิดผลลัพธ์ตามบันไดผลลัพธ์ขั้นที่1และ2คือเกิดคณะทำงานโครงการที่ผ่านการเรียนรู้ผลกระทบที่เกิดจากการจัดการน้ำ ได้เรียนรู้ข้อมูลการจัดการน้ำเชิงนโยบานและข้อตกลงร่วมกันของคณะทำงานโครงการ คณะทำงานโครงการได้เรียนรู้การทำงานร่วมกันเป็นทีม

 

เวทีเรียนรู้และเสนอรูปแบบการจัดการน้ำระดับชุมชน 3 ธ.ค. 2563 26 มิ.ย. 2564

 

10.00น.เริ่มประชุม คณะทำงานโครงการนำเสนอแนวทางการจัดการน้ำต่อผู้นำชุมชนและผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้น้ำเพื่อการประกอบอาชีพและการใช้น้ำในชีวิตประจำวันของคนในชุมชน 11.30น. 13.00นฬร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการสายน้ำเพื่อใช้ในการดำรงค์ชีวิตร่วมกันของคนในชุมชนและผลกระทบที่เกิดในภาพรวมระดับสายน้ำ 14.30น.สรุปการประชุม 15.00น.เลิกประชุม

 

ผลผลิต มีผู้ร่วมกิจกรรม35คน ผลลัพธ์ เกิดความเข้าในต่อแนวทางการจัดการสายน้ำร่วมกันของคนในชุมชน คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการช่วยกันอนุรักษ์ระบบนิเวศน์สายน้ำ

 

เวทีสังเคราะห์บทเรียนการจัดการน้ำชุมชน 13 ธ.ค. 2563 30 ก.ค. 2564

 

10.00น.ลงทะเบียน 10.30น.ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม 11.00น.บอกเล่าผลการดำเนินงานและความสำเร็จความก้าวหน้าของโครงการ 12.00น.พัก 13.00น. แลกเปลี่ยนความเห็นในหัวข้อปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จของการทำงาน รวมถึงข้อจำกัดและอุปสรรคในการทำงาน เทคนิคสำคัญที่ใช้ในการทำงานร่วมกันทั้งชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 15.00น.สรุปผลการพูดคุย 15.30น.ปิดกิจกรรม

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน40คน มีภาคีระดับท้องถิ่นเข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์ คณะทำงานได้สะท้อนและให้ความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานร่วมกันใหเกิดผล และได้เรียนรู้จากการทำงานร่วมกัน

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 15 ธ.ค. 2563 26 ธ.ค. 2563

 

10.00น.สรปผลการดำเนินงานในรอบเดือนที่ผ่านมา 11.00น.กำหนดแผนการดำเนอนงานในช่สงเดือนต่อไป 12.00น.พัก 13.00น.ชี้แจงรายงานการเงินโครงการ 14.00น.แย่งหน้าที่รับผิดชอบการทำงาน

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 15คน

 

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 2 18 ธ.ค. 2563 17 ก.ค. 2564

 

10.00น.ลงทะเบียน ชี้แจงเป้าหมายการทำกิจกรรม 10.30น.คณะทำงานโครงการนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการตามที่ดำเนินการตามแผนงานกิจกรรมที่กำหนดไว้ นำเสนอผลที่เกิดจากการทำกิจกรรมตามบันไดผลลัพธ์โครงการ 12.00น.พัก 13.30น.ผู้ติดตามโครงการซักถามคณะทำงานโครงการเพื่อยืนยันผลที่เกิดจากการดำเนินงานที่เกิดตามบันไดผลลัพธ์ 15.00น.สรุปผลการพูดคุย เลิกกิจกรรม

 

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน6คน ผลลัพธ์ เกิดความรู้เรื่องการจัดการน้ำโดยชุมชน  สรุปปัญหาและแนวทางการจัดการสายน้ำให้เอื้อและเหมาะสมกับการใช้ชีวิตประจำวันของคนในพื้นที่ เกิดรูปแบบการสร้างการรักษาและฟื้นฟูสายน้ำในรูปแบบของการเรียนรู้จากธรรมชาติ เกิดความรู้การต้องการใช้น้ำของคนในพื้นที่เพื่อใช้ในการเกษตร เกิดความคิดริเริ่มที่สร้างแนวทางแก้ปัญหาการใช้น้ำร่วมกับส่วนท้องถิ่นโดยมีการกำหนดแผนการอนุรักษ์และฟื้นฟูสายน้ำร่วมกัน

 

กิจกรรมปลูกป่าริมคลอง 22 ธ.ค. 2563 10 มิ.ย. 2564

 

09.00น.นัดพร้อมกันสถานที่นัดหมาย 09.30น.พูดคุยแลกเปลี่ยน และทำความเข้าใจการทำงาน 10.00น. ปฏิบัติการปลูกป่า 12.00น.พัก 13.00น.ทำกิจกรรมต่อ 15.00น.สรุปผลการทำงาน 15.30น.แยกย้ายเดินทางกลับ

 

ผลผลิต จัดกิจกรรมจำนวน2ครั้ง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม40คน ผลลัพธ์ ได้ปลูกต้นไม้จำนวน500ต้นในระยะทาง3,000เมตร

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 15 ม.ค. 2564 18 ก.พ. 2564

 

10.00น.สรปผลการดำเนินงานในรอบเดือนที่ผ่านมา 11.00น.กำหนดแผนการดำเนอนงานในช่สงเดือนต่อไป 12.00น.พัก 13.00น.ชี้แจงรายงานการเงินโครงการ 14.00น.แย่งหน้าที่รับผิดชอบการทำงาน

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมประชุม10คน

 

จัดทำฝายชะลอน้ำ 10 ก.พ. 2564 17 ก.ค. 2564

 

1วางแผนหารูปแบบการสร้างฝายธรรมชชาติ 2จัดหาวัสดุสำหรับสร้างฝายธรรมชาติ 3ลงมือสร้างฝายธรรมชาติ 4สรุปประเมินผล

 

ผลผลิต ใช้เวลาในการสร้างทั้งหมด10วัน ได้ฝายธรรมชาติจำนวน2จุด. คณะทำงานได้เรียนรู้การสร้างฝายแบบธรรมชาติ ที่ไม่จำเป็นต้องสร้างแบบถาวรที่ไม่ขวางทางน้ำ

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 15 ก.พ. 2564 8 พ.ค. 2564

 

10.00น.สรปผลการดำเนินงานในรอบเดือนที่ผ่านมา 11.00น.กำหนดแผนการดำเนอนงานในช่สงเดือนต่อไป 12.00น.พัก 13.00น.ชี้แจงรายงานการเงินโครงการ 14.00น.แย่งหน้าที่รับผิดชอบการทำงาน

 

ผลลผลิต มีผู้เข้าร่วมประชุม6คน ผลลัพธ์ คณะทำงานโครงการได้สรุปผลการดำเนินงาน อุปสรรคที่เกิดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส

 

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 24 ก.พ. 2564 24 ก.ค. 2564

 

จัดจ้างทำสื่อวิดีโอจำนวน1ชุด

 

ได้สื่อวิดีโอ เนื้อหาสรุปผลการดำเนินงานและประชาสัมพันะ์การรักษาระบบนิเวศน์สายน้ำความยาว7นาที

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 15 มี.ค. 2564 28 ต.ค. 2564

 

ไม่ได้ทำกิจกรรม

 

ไม่ได้ทำกิจกรรม

 

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 3 20 มี.ค. 2564 28 ต.ค. 2564

 

ไม่ได้ทำกิจกรรม

 

ไม่ได้ทำกิจกรรม

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน/สรุปผลการดำเนินงาน 25 มี.ค. 2564 14 ส.ค. 2564

 

10.00น. คณะทำงานโครงการนำเสนอผลการดำเนินงาน ที่เกิดจากรทำกิจกรรมภายใต้โครงการกับคนในชุมชนและผู้นำท้องถิ่น 11.30น.พัก 13.00น.ท้องถิ่นนำเนอแนวทางการทำงานร่วมกับคณะทำงานโครงการและคนในพื้นที่มีผลกระทบการการใช้น้ำในภาพรวม 14.30น.เลิกประชุม

 

ผลผลิต มีคนร่วมกิจกรรม35คน ผลลัพธ์ เกิดแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่าง แกนนำชุมชน แลัท้องถิ่น

 

ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 30 ก.ย. 2564 30 ก.ย. 2564

 

ผู้รับทุนโครงการได้ยืมเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร

 

ผู้รับทุนโครงการได้รับเงินคืนค่าเปิดบัญชีแล้ว