directions_run

โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุเชษฐ์ คงดำ

ชื่อโครงการ โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ุ63-00169-0022 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ุ63-00169-0022 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 156,170.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชมรมรักษ์ชะรัด ตั้งอยู่เลขที่ 207 หมู่ที่ 5 ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลชะรัด มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 26.82 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 16,762.50 ไร่  มีหมู่บ้านทั้งหมด 9 หมู่บ้าน จำนวน 14 ชุมชน มีครัวเรือนทั้งหมด 2,041ครัวเรือน มีประชากรรวม 7,220 คน มีโรงเรียน 3 โรงเรียน มีวัด 1 วัด มีมัสยิด 11 มัสยิด มีตลาดนัด จำนวน 5 แห่ง มีคลอง 1 สายหลักคือคลองชะรัด
สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลชะรัด เทศบาลตำบลชะรัด ได้จัดเก็บขยะในถังอาทิตย์ละ 2 ครั้ง ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 2-3 ตัน/วัน โดยรถยนต์บรรทุกขยะมูลฝอยแบบเปิดข้างเทท้าย ขนาดความจุ 12 ลบ.ม. จำนวน  1 คัน สถานที่กำจัดโดยวิธีฝังกลบ ขอใช้บริการสถานที่เอกชนภายนอกตำบลชะรัด มีถังขยะบริการ 725 ถัง พนักงานเก็บขยะ จำนวน 3 คน พนักงานขับรถ 1 คน มีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะ เช่น ค่าน้ำมันรถ ค่าซ่อมแซมรถ ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าที่ทิ้งขยะ รวมค่าใช้จ่าย 768,000 บาทต่อปี ประชาชนมีการคัดแยกในระดับครัวเรือน จำนวน 618 ครัวเรือน ยังไม่คัดแยก 1,423 ครัวเรือน ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จากสถิติการเจ็บป่วย เมื่อปี 2562 มีไข้เลือดออก จำนวน 26 คน ป่วยเป็นโรคอุจจาระร่วง 32 คน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เฉลี่ย 125 บาทต่อคน และมีค่าใช้จ่ายในการควบคุมการระบาดของโรค ปีหนึ่งประมาณ 45,000 บาทต่อปี ในส่วนผลกระทบต่อสังคม มีเรื่องร้องเรียนการนำขยะจากนอกพื้นที่มาทิ้งที่ข้างทางถนน 2ครั้ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีน้ำเสียในคลองชะรัดทำให้มีปลาเหลือน้อย ประชาชนนำน้ำมาใช้อุปโภคไม่ได้ และมีกลิ่นเหม็นจากกองขยะจากตลาดนัด จำนวน 3 แห่ง จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก ขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี 1,423 ครัวเรือน ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ เจ้าของตลาดนัดไม่ให้ความร่วมมือ จำนวน 5 แห่ง แม่ค้าขาดความรับผิดชอบในการคัดแยกขยะ 48 คน ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด ชมรมรักษ์ชะรัด ได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือปริมาณขยะลดลง โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ โดยการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการลดขยะในระดับภาพรวมของจังหวัดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
  2. เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
  3. เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
  4. เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 เวทีปฐมนิเทศพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนเกี่ยวกับการจัดการโครงการ Node Flagship พัทลุง
  2. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
  3. วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม ค่าเน็ต ค่าป้าย นิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  4. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 1 ชุมชนบ้านหัวหรั่ง
  5. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 2 ชุมชนบ้านนามะพร้าว
  6. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
  7. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 3 ชุมชนบ้านต้นส้าน
  8. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน สิงหาคม และวัสดุการประกอบการอบรม
  9. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 4 ชุมชนบ้านป่ายาง
  10. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 5 ชุมชนบ้านควนขี้แรด
  11. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 6 ชุมชนบ้านสะพานแต้ว
  12. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 7 ชุมชนบ้านหูเล่
  13. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 2 กันยายน
  14. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 8 ชุมชนบ้านมรโหม
  15. ครั้งที่ 2ค่าเดินทางและค่าที่พักฯ เวทีปิดโครงการและนำเสนอผลการดำเนินงานตาม“โครงการชุมชนน่าอยู่” (2560-2562) และเวทีเชื่อมร้อยเครือข่ายเพื่อการขับเคลื่อน Phatthalung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามโครงการหน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship (2561-2563)
  16. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 9 ชุมชนบ้านพรุโต๊ะเด็ม
  17. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง/ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ
  18. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 10 ชุมชนบ้านหวังหัวนอน
  19. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  20. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 11 ชุมชนบ้านต้นประดู่
  21. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 12ชุมชนบ้านควนท้อน
  22. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 13 ชุมชนบ้านท่ายาง
  23. กิจกรรมตรวจเอกสาร ปิดงบ งวดที่ 1
  24. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่1
  25. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 14 ชุมชนบ้านวังปริง
  26. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 3 พฤศจิกายน
  27. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาสองข้างทางถนน ครั้งที่ 1 สายโรงเรียนบ้านต้นประดู่-ศาลาเนกประสงค์บ้านต้นประดู่
  28. กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ร่วม ระหว่างโครงการย่อยและหน่วยจัดการ ฯ ณ ห้องประชุมใยบัว ศูนย์ประชุม อบจ.พัทลุง (วังโนราห์
  29. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน ครั้งที่ 4 เดือน มีนาคม 2564
  30. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาคลอง ครั้งที่ 1 คลองบริเวณสะพานประปาหัวหรั่ง
  31. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาสองข้างทางถนน ครั้งที่ 2 ถนนข้างปั้ม PT – บ้านท่าเหนาะ
  32. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 5 เดือน พฤษภาคม 64
  33. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาคลอง (พรุโต๊ะเด็ม)ครั้งที่ 2
  34. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 2
  35. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
  36. นิทรรศการแสดงผลงานการดำเนินงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ประชาชนในชุมชน 1,500
ตัวแทนครัวเรือนในตำบลชะรัด 700

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. ชุมชนยังคงดำเนินงานด้านการจัดการขยะต่อไป
2.การดำเนินกิจกรรมต่างๆในโครงการ จะมีการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลต่างๆที่ได้จากการทำกิจกรรมร่วมกันให้สาธารณะได้รับทราบและนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 เวทีปฐมนิเทศพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนเกี่ยวกับการจัดการโครงการ Node Flagship พัทลุง

วันที่ 20 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ปฐมนิเทศ และดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแผนการดำเนินงานตลอด10เดือน มีเป้าหมายตัวชี้วัดที่ชัดเจน สามารถเข้าใจระบบการเงิน และใช้โปรแกรมรายงานผลการดำเนินงานได้

 

3 0

2. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน

วันที่ 6 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ และจัดทำแผนการปฏิบัติงานตลอดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการแบ่งทีมทำงาน ออกเป็น 4  ฝ่าย คือ
    ฝ่ายอำนวยการ 11 คน    ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 18 คน  ฝ่ายสันทนาการ 25 คน  ฝ่ายวิชาการ 8 คน
    1. มีแผนการลงพื้นที่ ครบทั้ง 14 ชุมชน
    2. มีกำหนดนัดประชุมทุก ๆ 2 เดือน
    3. มีรายละเอียดกิจกรรมที่ลงพื้นที่แต่ละครั้ง         5. มีเกณฑ์การประกวดชุมชนโรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)

 

62 0

3. วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม ค่าเน็ต ค่าป้าย นิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 12 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายโครงการ 1 ป้าย  และป้ายรณรงค์งดเหล้าและ บุหรี่ จำนวน 5 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายโครงการ 1 ป้าย  และป้ายรณรงค์งดเหล้าและ บุหรี่ จำนวน 5 ป้าย

 

0 0

4. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 1 ชุมชนบ้านหัวหรั่ง

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ เวลา                รายการ 13.00 น. - 13.30 น.    ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น. ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.    ครูขยะ คนที่ 1
                    - ชี้แจงโครงการ                     - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด                     - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                     1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                     2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                    เทศบาล )                   3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)                   4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้
                    ธนาคารขยะ ม.2)
14.50 น. - 15.10 น.    กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.10 น.- 15.30 น.    ครูขยะ คนที่ 2                   - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                  - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด" 15.30 น.- 15.40 น.  สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

5. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 2 ชุมชนบ้านนามะพร้าว

วันที่ 20 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ เวลา รายการ 13.00 น. - 13.30 น. ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น. ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน
14.00 น. – 14.50 น. ครูขยะ คนที่ 1
                              - ชี้แจงโครงการ                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด                               - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                               1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                               2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                เทศบาล )                             3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)                             4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้
                            ธนาคารขยะ ม.2)
14.50 น. - 15.10 น. กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.10 น.- 15.30 น. ครูขยะ คนที่ 2                                 - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด" 15.30 น.- 16.30 น.        สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

6. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

วันที่ 26 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการกิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของตำบลชะรัด ชมรมรักษ์ชะรัด
วันที่ 26 สิงหาคม 2563 ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ม.5 ต.ท่าแค และชุมชนจัดการขยะอินทรีย์
เทศบาลตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

เวลา  รายการ 08.00 น. – 08.30 น. - ลงทะเบียน
08.30 น. – 09.10 น. - เดินทางจากเทศบาลตำบลชะรัด สู่ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง                       ตามรอยพ่อ ม.5 ต.ท่าแค อ.เมือง จ.พัทลุง 09.10 น. – 12.00 น. - เข้าศึกษาดูงานการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ 12.00 น – 13.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ ปั๊มพีที บ้านหัวหรั่ง อำเภอเขาชัยสน 13.00 น. – 16.30 น.. - ศึกษาดูงานชุมชนจัดการขยะอินทรีย์ ของเทศบาลตำบลโคกม่วง
                      อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง 16.30 น. – 17.00 น.  - เดินทางถึงเทศบาลตำบลชะรัด


** หมายเหตุ ** - กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
  - รับประทานอาหารว่าง เช้า เวลา 10.30 น.
  - รับประทานอาหารว่างบ่าย เวลา 15.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการโรงเรียนขยะ ได้รับความรู้ในเรื่องการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์เพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้มาถ่ายทอดกลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้

 

50 0

7. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 3 ชุมชนบ้านต้นส้าน

วันที่ 27 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                  รายการ 13.00 น. - 13.30 น.        ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.  ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.  ครูขยะ คนที่ 1
                  - ชี้แจงโครงการ                         - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
    - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                         1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                         2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                          เทศบาล )                         3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                        4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
    14.50 น.- 15.30 น.        กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.          ครูขยะ คนที่ 2                       - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                      - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                       สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

8. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน สิงหาคม และวัสดุการประกอบการอบรม

วันที่ 28 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมขับเคลื่อนงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แผนการลงพื้นที่ การทำงาน

 

62 0

9. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 4 ชุมชนบ้านป่ายาง

วันที่ 3 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

10. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 5 ชุมชนบ้านควนขี้แรด

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

11. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 6 ชุมชนบ้านสะพานแต้ว

วันที่ 16 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

12. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 7 ชุมชนบ้านหูเล่

วันที่ 24 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

13. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 2 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเพื่อติดตามผลการลงพื้นที่ จำนวน  4 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านป่ายาง ชุมชนบ้านสะพานแต้ว ชุมชนบ้านควนขี้แรด และชุมชนบ้านสะพานแต้ว และแลกเปลี่ยนการดำเนินกิจกรรมแต่ละชุมชนว่ามีปัญหาอุปสรรคอย่างไร และมีแนวทางขับเคลื่อนต่อไปอย่างไรให้เกิดศักยภาพสูงสุด พร้อมทั้งวางแผนการลงพื้นที่ติดตามประเมินผลกิจกรรมทั้ง 14 ชุม ตามกำหนดการเดิมที่วางไว้ และมีการประชุมเพื่อค้นหาชุมชนโมเดล 1ชุมชน และมีข้อตกลงว่าการส่งหนังสือเชิญประชุมโรงเรียนขยะจะติดต่อทางกลุ่มไลน์เท่านั้น เพื่อลดปัญหาขยะจากกระดาษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการโรงเรียนขยะ ได้มาประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนผลการดำเนินงาน  จำนวน 4 ชุมชน พร้อมนำปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นมาแก้ไข และนำข้อดีของการลงชุมชนแต่ละครั้งไปใช้กับการลงพื้นที่ชุมชนต่อไปและสิ่งที่ครูขยะต้องทำเพิ่มเติมในโรงเรียนขยะ คือ 1. เชิญประชุมทางกลุ่มไลน์โรงเรียนขยะ เท่านั้น เพื่อลดปัญหาขยะจากหนังสือเชิญประชุม 2. ค้นหาชุมชนโมเดลการจัดการขยะ 1 ชุมชน 3. ในการลงพื้นที่ติดตามผลการอบรมนั้น ให้ทำป้ายชื่อแจ้งว่าชื่อเจ้าของบ้าน ชื่ออะไร บ้านเลขที่เท่าไหร่ และถ่ายรูปลงไลน์เพื่อให้ครูขยะทุกคนทราบด้วย

 

62 0

14. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 8 ชุมชนบ้านมรโหม

วันที่ 1 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

15. ครั้งที่ 2ค่าเดินทางและค่าที่พักฯ เวทีปิดโครงการและนำเสนอผลการดำเนินงานตาม“โครงการชุมชนน่าอยู่” (2560-2562) และเวทีเชื่อมร้อยเครือข่ายเพื่อการขับเคลื่อน Phatthalung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามโครงการหน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship (2561-2563)

วันที่ 7 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ได้มีการแลกเปลี่ยนกับชุมชนที่มีผลการดำเนินงานเสร็จสิ้นแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเครือข่ายดำเนินงานเพิ่มขึ้น และได้นำเสนอผลของกิจกรรมบางส่วนในเวทีด้วย

 

3 0

16. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 9 ชุมชนบ้านพรุโต๊ะเด็ม

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

17. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 10 ชุมชนบ้านหวังหัวนอน

วันที่ 15 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

18. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 21 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อซิมเนต เพื่อใช้ในการรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีอินเตอร์เนตในการรายงานความก้าวหน้าผลการทำกิจกรรม

 

1 0

19. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 11 ชุมชนบ้านต้นประดู่

วันที่ 22 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

20. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง/ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ

วันที่ 30 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการติดตามผลจาการให้ความรู้ในพื้นที่ ว่านักเรียนในชุมชนสามารถดำเนินการได้ถูกต้องมากน้อย แนะนำในส่วนที่ยังทำไม่ถูกต้อง และเสริมกำลังใจในส่วนที่ทำถูกต้องแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีการคัดแยกขยะ ถูกต้อง และนำขยะมาใช้ประโยชน์ได้

 

62 0

21. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 12ชุมชนบ้านควนท้อน

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

22. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 13 ชุมชนบ้านท่ายาง

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

23. ค่าเดินทางเข้าร่วมกับNode จังหวัดพัทลุง

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กรรมการตรวจ เอกสารการดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เริ่มต้น ถึงเดือนตุลาคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการตรวจเอกสารการดำเนินกิจกรรม และดูการรายงานในระบบ

 

3 0

24. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่1

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเพื่อเปิดเวทีการประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 1 โดยมีพี่เลี้ยง นายประเทือง อมรวิริยะชัย ผอ.รพ.สต.บ้านชะรัด นายถาวร คงศรี เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลนาท่อม นายจำรัส รัตนอุบล หัวหน้าฝ่ายบริหารงานคลัง เทศบาลตำบลชะรัด เข้าร่วมรับฟังและให้คำแนะนำ เพิ่มเติมข้อเสนอแนะเพื่อให้กิจกรรมโรงเรียนขยะ เป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์สูงสุดในพื้นที่
สรุปข้อดีของกิจกรรม คือ 1.การขอคืนถังขยะ 708 ถังออกจากพื้นที่ผิวจราจร 2.การสร้างทีมสร้างสุข (ครูสันทนาการในพื้นที่) 3.การสร้างทีมครูวิชาการ ครูขยะจากภาคประชาชน 4.การดำเนินกิจกรรมจนสามารถลดปัญหาไข้เลือดออกและโรคอุจจาระร่วงได้ 5.มีการเชื่อมโยงกิจกรรมกับธรรมนูญสุขภาพในตำบลเป็นเรื่องเดียวกัน ข้อเสนอแนะที่อยากให้ดำเนินการเพิ่มเติม คือ 1.แบ่งบทบาทของแต่ละภาคส่วนให้ชัดเจน ว่าหน่วยงานไหนมีส่วนร่วมเสริมกิจกรรมอย่างไร เช่น ท้องถิ่น รพ.สต.ทั้ง 2 แห่ง โรงเรียน เป็นต้น 2.เพิ่มกิจกรรมนอกจากในชุมชนแล้ว ในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.ให้มีครัวเรือนต้นแบบ 4.เน้นการใช้ประโยชน์จากขยะให้เห็นชัดเจนขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเวทีให้ ผู้มีส่วนได้เสียในโรงเรียนขยะ ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และหาแนวทางในการแก้ปัญหาขยะในพื้นที่

 

62 0

25. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 14 ชุมชนบ้านวังปริง

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) มีการประชุมชาวบ้าน จำนวน 50 คน เพื่ออบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะ ดังนี้ กำหนดการ โรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค (Reduce Carrier Garbage School)
เวลา                                      รายการ 13.00 น. - 13.30 น.             ลงทะเบียน และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม 13.30 น. - 13.50 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนขยะพบปะชุมชน (นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด) 13.50 น. – 14.00 น.     ประธานชมรมรักษ์ชะรัดพบปะชุมชน 14.00 น. – 14.50 น.   ครูขยะ คนที่ 1
                                    - ชี้แจงโครงการ                                               - แจ้งรายละเอียดเกณฑ์การประกวดชุมชนสะอาด
        - ให้ความรู้การคัดแยกขยะ 4 ประเภท                                                 1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ)                                                 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับ
                                                    เทศบาล )                                               3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน)
                                              4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)
        14.50 น.- 15.30 น.                 กิจกรรมสันทนาการ เกมส์การคัดแยกขยะ /และออกกำลังกาย 15.30 น.- 16.30 น.                 ครูขยะ คนที่ 2                                           - ให้ความรู้ เรื่อง การทำ Eco-bricks
                                          - กิจกรรมสาธิตการทำ Eco-bricks "อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"                                           สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม หมายเหตุ  รับประทาน อาหารว่าง เวลา 14.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 57 คน มีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
1.ขยะอินทรีย์ (ทำถังขยะเปียก น้ำหมัก ธนาคารใบไม้ฯลฯ) 2.ขยะทั่วไป (ทำ Eco-bricks"อัดขยะพลาสติกใส่ขวด"/ทิ้งกับเทศบาล ) 3.ขยะอันตราย (ใส่ถังขยะสีแดงที่เทศบาลวางให้ในชุมชน) 4.ขยะรีไซเคิล (เก็บรวบรวมไว้ในครัวเรือนเพื่อขายให้ธนาคารขยะ ม.2)

 

50 0

26. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 3 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมโรงเรียนขยะ 6 ชุมชนที่ผ่านมา และการลงพื้นที่ติดตามการลงพื้นที่ อีก 8 ชุมชน เพื่อลงตรวจการบ้านและแนะนำแก่นักเรียนที่มีการดำเนินกิจกรรมการคัดแยกขยะที่ไม่ถูกต้อง  และมีการซ้อมกิจกรรมของครูสร้างสุข (ครูสันทนาการ) เพื่อเตรียมความพร้อมในการลงพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูขยะได้มีการพบปะพูดคุยหารือการดำเนินงานการลงพื้นที่ตรวจการบ้าน และมีการสรุปผลการตรวจการบ้านว่านักเรียนในชุมชนดำเนินการคัดแยกขยะได้ถูกต้องมากน้อยเพียงใด

 

62 0

27. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาสองข้างทางถนน ครั้งที่ 1 สายโรงเรียนบ้านต้นประดู่-ศาลาเนกประสงค์บ้านต้นประดู่

วันที่ 15 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาสองข้างทางถนน ตัดกิ่งไม้ ต้นไม้ กวาดถนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

2ข้างทางถนนสายบ้านต้นประดู่ สะอาด สวยงาม

 

50 0

28. กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ร่วม ระหว่างโครงการย่อยและหน่วยจัดการ ฯ ณ ห้องประชุมใยบัว ศูนย์ประชุม อบจ.พัทลุง (วังโนราห์

วันที่ 20 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยมีการแบ่งกลุ่มในประเด็นเดียวกันและนำเสนอ ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นในโครงการแล้ว และปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ ในส่วนของภาคบ่าย เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ world café ตามกลุ่มย่อย และสรุปผลโดยภาพรวม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นเดียวกัน 2.เรียนรู้กลุ่มอื่นๆ ประเด็นอื่นๆ เพื่อเป้าหมายเดียวกันคือ พัทลุงสีเขียว

 

3 0

29. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน ครั้งที่ 4 เดือน มีนาคม 2564

วันที่ 30 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน และเสนอแนะการดำเนินงานที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการโรงเรียนขยะได้มีการประชุม และปรับการทำงาน

 

62 0

30. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาคลอง ครั้งที่ 1 คลองบริเวณสะพานประปาหัวหรั่ง

วันที่ 10 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาคลอง บริเวณสะพานประปาบ้านหัวหรั่งก โดยนำสิ่งกีดขวางทางน้ำออก และพัฒนา 2 ข้างคลอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คลองได้รับการพัฒนา

 

50 0

31. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาสองข้างทางถนน ครั้งที่ 2 ถนนข้างปั้ม PT – บ้านท่าเหนาะ

วันที่ 6 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนา 2 ข้างทางถนน ตัดหญ้า และเก็บขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถนนได้รับการพัฒนา

 

50 0

32. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 5 เดือน พฤษภาคม 64

วันที่ 20 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมขับเคลื่อนการทำงานของคณะกรรมการโรงเรียนขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนและปรับการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ให้เห็นผลชัดเจนขึ้น

 

62 0

33. รณรงค์ BIG CLEANING DAY พัฒนาคลอง (พรุโต๊ะเด็ม)ครั้งที่ 2

วันที่ 2 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการแบ่งกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมการพัฒนา เป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ตัดหญ้าริมรอบพรุโต๊ะเด็ม และเก็บขยะในพรุโต๊ะเด็มล กลุ่มที่ 2 เก็บขยะสองข้างทางรอบพรุโต๊ะเด็มและกวาดทำความสะอาด ศาลาที่พักผ่อนหย่อนใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พรุโต๊ะเด็มมีความสะอาดสวยงาม ปราศจากขยะ และมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย

 

50 0

34. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 2

วันที่ 28 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเพื่อตอบประเด็นตามบันไดผลลัพธ์ที่ได้กำหนดไว้ตอนต้นโครงการ โดยการนำเสนอตามบันไดทั้ง 4 ขั้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการคืนข้อมูล ตามบันไดผลัพธ์ 4 ขั้น ตารางสรุปการทำถังขยะเปียก ในโครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ที่      ชื่อชุมชน จำนวนครัวเรือนที่อบรม จำนวนคัวเรือนที่ทำ
1 ชุมชนบ้านต้นประดู่ 50            44
2 ชุมชนบ้านควนท้อน 50            46
3 ชุมชนบ้านท่ายาง    50            45
4 ชุมชนบ้านวังปริง    50            56
5 ชุมชนบ้านหัวหรั่ง    50            46
6 ชุมชนบ้านนามะพร้าว 50            51
7 ชุมชนบ้านต้นส้าน    50            49
8 ชุมชนบ้านป่ายาง    50            42
9 ชุมชนบ้านควนขี้แรด 50            46
10 ชุมชนบ้านหวังหัวนอน 50            42
11 ชุมชนบ้านสะพานแต้ว 50            45
12 ชุมชนบ้านหูเล่    50            46
13 ชุมชนบ้านมรโหม    50            30
14 ชุมชนบ้านพรุโต๊ะเด็ม 50            42
        รวม        700            630 คิดเป็น 90 %

คลองชะรัดปลอดขยะ 1 แห่ง ได้แก่ 1.ชลประทานพญาโฮ้ง - นามะพร้าวตก
                ประมาณ 1.2 กิโลเมตร ถนนปลอดขยะ 2 สาย 1.ถนนเลียบคลองชลประทานนามะพร้าว - พรุหานเป็ด
              ประมาณ 5.7 กิโลเมตร               2.ถนนข้างปั้ม PT – บ้านท่าเหนาะ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ขยะในตลาดนัดได้รับการจัดการที่ถูกต้องอย่างน้อย 2 ตลาด               1. ตลาดนัดตะวันนา               2.ตลาดนัดศิลป์เจริญ มีร้านค้าจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 5 ร้าน               1.ร้านดีหวา มินิมาร์ท
              2.ร้านเจริญพาณิชย์               3.ร้านป้าสาว หัวควน               4.ร้านน้องนิ แยกชะรัด               5.ร้านชูสุวรรณ แยกพักกิ่ง กติกาที่ได้ปรับใช้ของ โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ปี 2563- 2564 จำนวน 1 หมวด คือ หมวดที่ 2 หมวดบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม         หมวดที่ 2 ว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม       19. ครอบครัวของคนในตำบลชะรัดทุกครัวเรือนคัดแยกขยะก่อนนำขยะไปทิ้ง     20. ทุกครัวเรือนในตำบลชะรัดจัดระเบียบบ้านให้สะอาดเรียบร้อยทั้งภายในและภายนอกบ้าน     21. ทุกครัวเรือนในตำบลชะรัดทิ้งขยะพิษหรือขยะอันตรายลงในถังขยะอันตรายเท่านั้น     22. ทุกครัวเรือนในตำบลชะรัดไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะหรือแม่น้ำลำคลอง     23. ทุกครัวเรือนในตำบลชะรัดลดการใช้ถุงพลาสติก     24. ทุกครัวเรือนในตำบลชะรัดใช้ตะกร้าหรือถุงผ้าไปจ่ายตลาด     25. ครัวเรือนในตำบลชะรัดนำขยะอินทรีย์ทำปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยชีวภาพและทำถังขยะอินทรีย์     26. ครัวเรือนในตำบลชะรัดงดใช้โฟมบรรจุอาหาร     27. ครัวเรือนในตำบลชะรัดจัดทำสิ่งประดิษฐ์จากขยะที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง     28. ครัวเรือนในตำบลชะรัดไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้าในพื้นที่ มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 14 แห่ง ที่ ชื่อชุมชน        ชื่อ -สกุล ครัวเรือนต้นแบบ ที่อยู่          หมายเหตุ 1 ชุมชนบ้านต้นประดู่ นายเฉลิมรัตน์ หวัดแท่น    45 ม.1
2 ชุมชนบ้านควนท้อน นางสุรีรัตน์  บุหงา    193/1 ม.1
3 ชุมชนบ้านท่ายาง    นางสุดาพร  ยาชะรัด    154 ม.4
4 ชุมชนบ้านวังปริง    นายพะยุทธ  สังข์วิสุทธิ์ 8 ม.2
5 ชุมชนบ้านหัวหรั่ง    นางอาซะนะ  เหล็มนุ้ย    72 ม.3
6 ชุมชนบ้านนามะพร้าว นางอุบล    วัชรจิรโสภณ 58 ม.6
7 ชุมชนบ้านต้นส้าน    นางสาวธารทิพย์ เหล็มนุ้ย 144 ม.3
8 ชุมชนบ้านป่ายาง    นางเจ๊ะเป๊าะ  หวังขวัญ    38 ม.9
9 ชุมชนบ้านควนขี้แรด นายวีรภัทร  เส็นบัตร    221 ม.7
10 ชุมชนบ้านหวังหัวนอน นางจุริน    จุลนิล    140 ม.7
11 ชุมชนบ้านสะพานแต้ว นางสาสสุพา  โคแหละ    67 ม.9
12 ชุมชนบ้านหูเล่    นางหร้มหละ  ดีนทอง    166 ม.8
13 ชุมชนบ้านมรโหม    นายเจ๊ะแอ  หีมดำ    160 ม.5
14 ชุมชนบ้านพรุโต๊ะเด็ม นางเจ๊ะเหนาะ โส๊ะขาว    56 ม.5


ภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินโครงการ ที่ ชื่อ - สกุล            สังกัด            เบอร์โทร      หมายเหตุ 1 นายวันชัย  ภูมิสุทธิกุล ท้องถิ่นอำเภอกงหรา 089-5996752
2 นางสุดา    ขำนุรักษ์    รพ.กงหรา        089-2955059
3 นายอ้าหรีม  เหรียญนุ้ย ประธานผู้พิการตำบลชะรัด 080-7140565
4 นายประเทือง อมรวิริยะชัย ผอ.รพ.สต.บ้านชะรัด 092-6162960
5 นางอารมย์  ไหมหมาด ผอ.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง 081-9597814
6 นายชาคริต  ดำชื่น    สสอ.กงหรา        082-9454238
7 นางสาวสุภาพร คงพันธ์    เทศบาลตำบลชะรัด 087-0335766
8 นายสุเชษฐ์  คงดำ    เทศบาลตำบลชะรัด 086-2691717
9 นายบรรจง  เครือทอง ผอ.โรงเรียนบ้านวังปริง 082-7849656
10 นางวินลยา  ลายเพชร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล ชะรัด 092-5486928

ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลง

                          ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ปริมาณขยะ ตั้งต้น 3,000 กิโลต่อวัน มกราคม 2563 สิงหาคม 2563
วันที่ เส้นทาง ปริมาณขยะ (กิโลกรัม) น้ำหนักที่ชั่ง ปริมาณขยะ (กิโลกรัม) น้ำหนักที่ชั่ง ปริมาณขยะ (กิโลกรัม) น้ำหนักที่ชั่ง 21/01/63 นำรถขยะไปชั่งน้ำหนัก สมหวังลานไม้ -5,495 -5,515 -5518 22/01/63 พุธ    สุดเขตชะรัด ม.3              1,405 /6,900 1,690/7,205  1480/6998 พฤหัสบดี สะพานป่ายาง            1,660/7,155  1,740/7,255 1570/7088 ศุกร์ หน้าเทศบาลตำบลชะรัด        1,465/6,960  1,925/7,440 1575/7093 จันทร์                810+864 1,675 6,305/6360  1110+1390  2,500

                              6,625/6,905 796+905 1701 6314/6423 อังคาร                      1,385/6,880 1,625/7,140 1404/6922                               รวม 7590 9480 7730
เพิ่มขึ้น 1890 จากครั้งแรกโควิดมาคนกลับมาอยู่บ้าน
ลดลง 1750 จากครั้งที่ 2
3000 กก.* 5 วัน = 15,000 กก.  ปริมาณขยะ  50.60% 63.20 % 51.53%
                            ลดลง  49.40% 36.80% 48.47%

 

62 0

35. ค่าจัดทำนิทรรศการแสดงผลงานการดำเนินงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการและค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 17 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดนิทรรศการ เพื่อแลกเปลี่ยนผลการดำเนินกิจกรรมและสิ่งที่ได้จากการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการปิดโครงการและสรุปผลการดำเนินโครงการมีสิ่งประดิษฐ์จากขยะ มาให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ดู ผู้รับทุนได้รับเงินคืนค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 500 บาท

 

0 0

36. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

วันที่ 17 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเพื่อปิดโครงการโรงเรียนขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค โดย เกิดเป็นโมเดลการจัดการขยะ ในรูปของคณะกรรมการดำเนินงาน จำลองแบบมาจากโรงเรียน คือ ต้องมีครู และแบ่งฝ่ายรับผิดชอบที่ชัดเจน มีแผนการตรวจ แผนการติดตามงาน และ ท้ายสุดต้องมีการสรุปงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดโมเดลการจัดการขยะ ในตำบลชะรัด และสามารถขยายผลให้ชุมชนที่มีความสนใจได้นำไปใช้ได้

 

162 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน 2.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการประชุมทุก 2 เดือน 5.คณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
6.00 5.00

เป็นแหล่งเรียนรู้ในด้านการบริหารจัดการขยะที่มีกลไกโดยโรงเรียนขยะ และมีผู้มาศึกษาดูงานแล้ว 2 คณะ

2 เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนจัดการยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 80 % 2.ในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กจัดการที่ถูกต้อง ทุกแห่ง 3.ขยะในตลาดนัดได้รับการจัดการที่ถูกต้องอย่างน้อย 2 ตลาด 4.มีร้านค้าจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 5 ร้าน
16.00 15.00

ยังติดตามประเมินผลไม่ครบทุกชุมชน เนื่องจากติดช่วงโควิด 19 และสถานการณ์น้ำท่วม ได้แนะนำให้ปรับแผนการดำเนินงานแล้ว

3 เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพสุขภาพตำบลชะรัด” 2.มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตลาดนัด ทุกเดือน 3.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 14 แห่ง 4.คลองชะรัดปลอดขยะ 1 แห่ง 5.ถนนปลอดขยะ 2 สาย
14.00 0.00

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลงร้อยละ 50 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40
1.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ประชาชนในชุมชน 1,500
ตัวแทนครัวเรือนในตำบลชะรัด 700

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน (2) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (4) เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 เวทีปฐมนิเทศพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนเกี่ยวกับการจัดการโครงการ Node Flagship พัทลุง (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (3) วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม ค่าเน็ต ค่าป้าย นิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (4) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 1 ชุมชนบ้านหัวหรั่ง (5) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 2 ชุมชนบ้านนามะพร้าว (6) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (7) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า  ครั้งที่ 3 ชุมชนบ้านต้นส้าน (8) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน สิงหาคม และวัสดุการประกอบการอบรม (9) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า    ครั้งที่ 4 ชุมชนบ้านป่ายาง (10) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 5 ชุมชนบ้านควนขี้แรด (11) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า  ครั้งที่ 6 ชุมชนบ้านสะพานแต้ว (12) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 7 ชุมชนบ้านหูเล่ (13) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 2 กันยายน (14) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า  ครั้งที่ 8 ชุมชนบ้านมรโหม (15) ครั้งที่ 2ค่าเดินทางและค่าที่พักฯ เวทีปิดโครงการและนำเสนอผลการดำเนินงานตาม“โครงการชุมชนน่าอยู่” (2560-2562) และเวทีเชื่อมร้อยเครือข่ายเพื่อการขับเคลื่อน Phatthalung  Green  City  คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี  ตามโครงการหน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship (2561-2563) (16) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 9 ชุมชนบ้านพรุโต๊ะเด็ม (17) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง/ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ (18) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 10 ชุมชนบ้านหวังหัวนอน (19) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (20) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 11 ชุมชนบ้านต้นประดู่ (21) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 12ชุมชนบ้านควนท้อน (22) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 13 ชุมชนบ้านท่ายาง (23) กิจกรรมตรวจเอกสาร ปิดงบ งวดที่ 1 (24) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)  ครั้งที่1 (25) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า ครั้งที่ 14 ชุมชนบ้านวังปริง (26) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 3 พฤศจิกายน (27) รณรงค์ BIG CLEANING DAY  พัฒนาสองข้างทางถนน ครั้งที่ 1 สายโรงเรียนบ้านต้นประดู่-ศาลาเนกประสงค์บ้านต้นประดู่ (28) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ร่วม ระหว่างโครงการย่อยและหน่วยจัดการ ฯ ณ ห้องประชุมใยบัว ศูนย์ประชุม อบจ.พัทลุง  (วังโนราห์ (29) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน  ครั้งที่ 4 เดือน มีนาคม 2564 (30) รณรงค์ BIG CLEANING DAY  พัฒนาคลอง ครั้งที่ 1 คลองบริเวณสะพานประปาหัวหรั่ง (31) รณรงค์ BIG CLEANING DAY  พัฒนาสองข้างทางถนน ครั้งที่ 2 ถนนข้างปั้ม PT – บ้านท่าเหนาะ (32) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน เดือน ครั้งที่ 5 เดือน พฤษภาคม 64 (33) รณรงค์ BIG CLEANING DAY  พัฒนาคลอง (พรุโต๊ะเด็ม)ครั้งที่ 2 (34) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 2 (35) เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน (36) นิทรรศการแสดงผลงานการดำเนินงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค)Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลชะรัด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ุ63-00169-0022

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุเชษฐ์ คงดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด