แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 คณะทำงานมีความรู้ การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียน และ คณะทำงานประกอบด้วย คณะครู สภานักเรียน กรรมการโรงเรียน อปท ตัวแทนชุมชน มีความรู้ในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 2.นักเรียนมีความรู้และสามารถคัดแยกขยะได้
2.00 2.00

ผลลัพธ์ที่เกิดตามตัวชี้วัดตามบันไดผลลัพธ์ 1. เกิดคณะทำงานจาก 5 ภาคส่วน ดังนี้ ครู นักเรียน คณะกรรมการโรงเรียน อบต. ตัวแทนผู้ปกครอง 2. นักเรียน และคณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ

 

  1. ความเข้าใจในการทำงานโครงการและการดำเนินตามแผนงานยังไม่ชัดเจนมากนัก
  2. การจัดสรรเวลาเรียนและเวลาการดำเนินโครงการยังไม่ลงตัว
  3. คณะทำงานยังทำหน้าที่ตามที่มอบหมายได้ไม่ดีนัก
  4. พี่เลี้ยงลงพื้นที่ได้น้อยเนื่องจากระยะทางและเวลาการทำงานที่ไม่ค่อยตรงกัน จึงต้องอาศัยการติดตามทางสื่อโซเชียลและโทรศัพท์
2 คณะทำงานเป็นกลไกปฏิบัติการในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลไกคณะทำงานการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมที่ ประกอบด้วย คณะครู สภานักเรียน กรรมการโรงเรียน อปท ตัวแทนชุมชน 2. คณะทำงานมีกติกาข้อตกลงการทำงานชัดเจน คือ การคัดแยกขยะต้นทาง 3. มีแผนการปฏิบัติงาน คือ แผนที่ขยะ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
3.00 3.00

ผลลัพธ์ที่เกิดตามตัวชี้วัดบันไดผลลัพธ์ 1. คณะทำงานมีการมอบหมายหน้าที่ ประสานงานเชื่อมโยงในการทำงานการจัดการขยะของโรงเรียนและครอบครัวของนักเรียน 2. มีการกำหนดกติกาการจัดการขยะในโรงเรียน และรวมถึงการใช้สารเคมีในโรงเรียน 3. เกิดแผนที่ของขยะในโรงเรียนและครัวเรือนของนักเรียนนำไปสู่การจัดการขยะ

 

  1. เมื่อมีการอบรมเรื่องแผนที่ขยะ ทำให้นักเรียนและคณะทำงานเข้าใจทางเดินของขยะมากยิ่งขึ้น มองภาพของเส้นทางที่จะดำเนินโครงการได้มากขึ้น
  2. จากการศึกษาดูงาน รร.ประภัสสร ทำให้คณะทำงานเข้าใจการทำงานโครงการมากขึ้น
  3. จากสถานการณ์โควิดและน้ำท่วม ทำให้ส่งผลกระทบต่อเวลาเรียน และส่งผลต่อการดำเนินโครงการ จึงทำให้บางกิจกรรมต้องเลื่อนระยะเวลาไปบ้าง แต่ก็ยังคงดำเนินตามแผนเดิมได้
3 กลไกการติดตามและสร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1.เกิดแหล่งเรียนรู้การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมวิธี การคัดแยก - แผ่นที่ขยะ 4 ประเภทของโรงเรียน - เลี้ยงไส้เดือน กำจัดขยะอินทรีย์ ผลิตปุ๋ยใช้เอง - เลี้ยงผึ้ง เลิกฉีดยาและเคมีในโรงเรียน 2.โรงเรียนมีการคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะ 80% 3.โรงเรียนผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง 4.โรงเรียนนำปุ๋ยที่ผลิตได้ใช้ในการปลูกไม้ประดับ สร้างรายได้ให้กับนักเรียน
4.00 4.00

ผลลัพธ์ที่เกิดตามขั้นบันได
ตัวชี้วัดที่1. เกิดฐานการเรียนรู้ในโรงเรียน ได้แก่ 1.ฐานขยะรีไซเคิลและการคักแยกขยะ 2.ฐานการแปรรูปขยะ 3.ฐานปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ 4.ฐานการเลี้ยงไส้เดือน 5.ฐานการเลี้ยงผึ้ง 6.ฐานการปลูกไม้ประดับและปลูกพืชผักสวนครัว 7.ฐานการเลี้ยงไข่ไก่ ตัวชี้วัดที่2. ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 260 กก./เดือนได้มีการนำไปใช้ประโยชน์ ปริมาณ 250 กก./เดือน หลังการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 10.0 กก./เดือน
ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 700 กก./เดือน รวมกับขยะอินทรีย์ที่ได้จากครัวเรือน มีปริมาณ 94 กก./เดือน จึงสรุปได้ว่าก่อนการดำเนินโครงการมีขยะอินทรีย์ทั้งหมด 794 กก./เดือน 1. นำไปเลี้ยงไส้เดือน ปริมาณ 100 กก./เดือน ในแต่ละเดือนจะได้มูลไส้เดือนปริมาณ 30 กก./เดือน
  เมื่อนำไปจำหน่ายจะสร้างรายได้ ให้แก่โรงเรียน600บาท/เดือน 2. นำไปทำปุ๋ยหมักแห้ง ปริมาณ 394 กก./เดือน ซึ่งเมื่อได้ปุ๋ยจะนำไปใช้ภายในบริเวณโรงเรียน 3. นำไปทำปุ๋ยหมักน้ำจุลินทรีย์ ปริมาณ 300 กก./เดือน ซึ่งเมื่อได้ปุ๋ยจะนำไปใช้ภายในบริเวณโรงเรียน ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 389 กก./เดือน
ได้มีการนำไปใช้ประโยชน์โดยการจำหน่าย ปริมาณ 389 กก./เดือน
ขยะทั่วไปการนำไปใช้ประโยชน์  กล่องนมนำไปทำตะกร้าและส่งเข้าโครงการหลังคาเขียว พลาสติกที่สามารถนำไปประดิษฐ์เป็นของชำร่วย กระเป๋าและส่งเข้าโครงการวน กระดาษนำไปทำงานประดิษฐ์เปเปร์มาร์เช่ ตัวชี้วัดที่ 3 โรงเรียนมีฐานปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพเพื่อผลิตใช้เองในโรงเรียน ตัวชี้วัดที่ 4 นำปุ๋ยที่ผลิตเองไปใช้ในฐานการปลูกไม้ประดับและปลูกพืชผักสวนครัว

 

 

4 ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง
ตัวชี้วัด : -ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง 80%เกิดจากการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม จากการคัดแยกขยะ
1500.00 80.00 80.00
  1. ขยะทั่วไป ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 260 กก./เดือน ได้มีการนำไปใช้ประโยชน์ ปริมาณ 250 กก./เดือน หลังการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 10.0 กก./เดือน
  2. ขยะอินทรีย์ ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 700 กก./เดือน รวมกับขยะอินทรีย์ที่ได้จากครัวเรือน มีปริมาณ 94 กก./เดือน
    จึงสรุปได้ว่าก่อนการดำเนินโครงการมีขยะอินทรีย์ทั้งหมด 794 กก./เดือน ได้มีการนำไปใช้ประโยชน์ ปริมาณ 794 กก./เดือน ดังนี้
    1. นำไปเลี้ยงไส้เดือน ปริมาณ 100 กก./เดือน ในแต่ละเดือนจะได้มูลไส้เดือนปริมาณ 30 กก./เดือน
        เมื่อนำไปจำหน่ายจะสร้างรายได้ ให้แก่โรงเรียน600บาท/เดือน
    2. นำไปทำปุ๋ยหมักแห้ง ปริมาณ 394 กก./เดือน ซึ่งเมื่อได้ปุ๋ยจะนำไปใช้ภายในบริเวณโรงเรียน
    3. นำไปทำปุ๋ยหมักน้ำจุลินทรีย์ ปริมาณ 300 กก./เดือน ซึ่งเมื่อได้ปุ๋ยจะนำไปใช้ภายในบริเวณโรงเรียน 3.ขยะรีไซเคิล/จำหน่ายได้ ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 389 กก./เดือน
      ได้มีการนำไปใช้ประโยชน์โดยการจำหน่าย ปริมาณ 389 กก./เดือน
      หลังการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 0.0 กก./เดือน 4.ขยะอันตราย ก่อนการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 57 กก./เดือน ส่งต่อให้ อบต. เพื่อเข้าสู่กระบวนการกำจัดต่อไป มีปริมาณขยะ 57 กก./เดือน หลังการดำเนินโครงการ มีปริมาณขยะ 0.0 กก./เดือน