ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 คณะทำงานมีความรู้ การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียน และ คณะทำงานประกอบด้วย คณะครู สภานักเรียน กรรมการโรงเรียน อปท ตัวแทนชุมชน มีความรู้ในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 2.นักเรียนมีความรู้และสามารถคัดแยกขยะได้
2.00 2.00
  1. ความเข้าใจในการทำงานโครงการและการดำเนินตามแผนงานยังไม่ชัดเจนมากนัก
  2. การจัดสรรเวลาเรียนและเวลาการดำเนินโครงการยังไม่ลงตัว
  3. คณะทำงานยังทำหน้าที่ตามที่มอบหมายได้ไม่ดีนัก
  4. พี่เลี้ยงลงพื้นที่ได้น้อยเนื่องจากระยะทางและเวลาการทำงานที่ไม่ค่อยตรงกัน จึงต้องอาศัยการติดตามทางสื่อโซเชียลและโทรศัพท์
2 คณะทำงานเป็นกลไกปฏิบัติการในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลไกคณะทำงานการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมที่ ประกอบด้วย คณะครู สภานักเรียน กรรมการโรงเรียน อปท ตัวแทนชุมชน 2. คณะทำงานมีกติกาข้อตกลงการทำงานชัดเจน คือ การคัดแยกขยะต้นทาง 3. มีแผนการปฏิบัติงาน คือ แผนที่ขยะ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
3.00 3.00
  1. เมื่อมีการอบรมเรื่องแผนที่ขยะ ทำให้นักเรียนและคณะทำงานเข้าใจทางเดินของขยะมากยิ่งขึ้น มองภาพของเส้นทางที่จะดำเนินโครงการได้มากขึ้น
  2. จากการศึกษาดูงาน รร.ประภัสสร ทำให้คณะทำงานเข้าใจการทำงานโครงการมากขึ้น
  3. จากสถานการณ์โควิดและน้ำท่วม ทำให้ส่งผลกระทบต่อเวลาเรียน และส่งผลต่อการดำเนินโครงการ จึงทำให้บางกิจกรรมต้องเลื่อนระยะเวลาไปบ้าง แต่ก็ยังคงดำเนินตามแผนเดิมได้
3 กลไกการติดตามและสร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1.เกิดแหล่งเรียนรู้การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมวิธี การคัดแยก - แผ่นที่ขยะ 4 ประเภทของโรงเรียน - เลี้ยงไส้เดือน กำจัดขยะอินทรีย์ ผลิตปุ๋ยใช้เอง - เลี้ยงผึ้ง เลิกฉีดยาและเคมีในโรงเรียน 2.โรงเรียนมีการคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะ 80% 3.โรงเรียนผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง 4.โรงเรียนนำปุ๋ยที่ผลิตได้ใช้ในการปลูกไม้ประดับ สร้างรายได้ให้กับนักเรียน
4.00 4.00

 

4 ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง
ตัวชี้วัด : -ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง 80%เกิดจากการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม จากการคัดแยกขยะ
1500.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 182
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู นักเรียน โรงเรียนควนพระสาครินทร์ 182

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) คณะทำงานมีความรู้ การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (2) คณะทำงานเป็นกลไกปฏิบัติการในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน (3) กลไกการติดตามและสร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์ (4) ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเพื่อแต่งตั้งเป็นคณะทำงานการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียน (2) กิจกรรมปฐมนิเทศผู้รับทุน โครงการ NFSจังหวัดพัทลุง (3) ออกแบบกฎกติการ่วมกัน และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (4) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (5) พัฒนาศักยภาพเรียนรู้ดูงานโรงเรียนประภัสสรรังสิต จังหวัดพัทลุง (6) ออกแบบการเก็บข้อมูลสำรวจสถานการณ์ปัญหาขยะในโรงเรียนก่อนดำเนินงาน เพื่อทำแผนการจัดการขยะในโรงเรียนและเก็บข้อมูล (7) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (8) จัดอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแต่ละประเภท และทำแผ่นที่หรือเส้นทางขยะแต่ละประเภท (9) ติดตามประเมินผลและสร้างแรงจูงใจ (10) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (11) เวทีเชื่อมร้อยเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน Phatthalung Green City (12) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 (13) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงาน (14) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. (15) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (16) ค่าเดินทางและที่พักร่วมประชุมกับ สสส (17) ปฏิบัติการแปรรูปขยะแบบมีส่วนร่วม (18) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 (19) การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาเชิงผลลัพธ์(ARE) ครั้งที่ 1 (20) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 (21) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 (22) การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาเชิงผลลัพธ์(ARE) ครั้งที่ 2 (23) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 9 (24) ติดตามประเมินผลและสร้างแรงจูงใจ (25) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 10 (26) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คืนข้อมูล  พร้อมสรุปบทเรียนการดำเนินงาน (27) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh