แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนแปลงที่คาดไว้ เกิดการผลิตและบริโภคปลอดภัย บ้านควนคงและหมู่บ้านขยาย

การผลิตและบริโภคพืชผักปลอดภัยชุมชนบ้านควนคงหมู่ 14 และหมู่บ้านใกล้เคียง หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ 13

  1. มีครัวเรือนเข้าร่วมการผลิตปลอดภัย 105 ครัวเรือน ครัวเรือนผลิตผักปลอดภัยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 162.5%
  2. การปลูกผักสวนครัวอย่างน้อย 5 ชนิด 9 ครัวเรือน มากกว่า 5 ชนิด 84 ครัวเรือน

แนวทางการพัฒนาขยายการผลิตและการบริโภคที่ปลอดภัยในระดับตำบล

 

 

บริโภคผักไม่น้อยกว่า 400 กรัมต่อวัน จำนวน 290 คน

 

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนแปลงของกลไกขับเคลื่อนโครงการ

กลไกขับเคลื่อนโครงการที่มีภาคีที่เกี่ยวเข้าร่วมกับคณะทำงานโครงการ ที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการ สนับสนุน หนุนเสริม  เชื่อมประสาน ติดตามประเมินผล ส่งต่อหน่วยงานในเชิงยุทธศาสตร์

กลไกขับเคลื่อน จำนวน 14 คน
ประกอบด้วย คณะทำงานตามโครงการ 4 คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน8 คน เจ้าหน้าที่โรงพยายาบส่งเสริมสุขภาพ 1คน เจ้าหน้าที่เกษตรตำบลตำนาน1 คน

การสร้างกลไกขับเคลื่อนโครงการระดับตำบล ที่มีหน่วยงานภาคที่เกี่ยวของทุกภาคส่วนของชุมชน