แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยบ้านควนคง

รหัสโครงการ 63-00169-0012 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 31 มีนาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางการผลิต พืชผักปลอดภัย ด้านการปลูก การดูแลรักษา การขยายพันธ์ การใช้สารทดแทนการใช้สารเคมี เกิดเป็นนวัตกรรมจากครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 5 ครัวเรือน

นวัตกรรมการทำปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 2 ครัวเรือน หมู่ที่ 14
นวัตกรรมด้านการเตรียมดินในการปลูก 1 ครัวเรือน หมู่ที่13
นวัตกรรมการทำสารทดแทนชีวภัณฑ์ 2 ครัวเรือนหมู่ที่7และหมู่ที่8

ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การสร้างนวัตกรรมระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ผลผลิตจากบุคคลต้นแบบ ในการสร้างนวัตกรรมการผลิตในด้านการปลูก คิดสูตรการเตรียมดินพร้อมปลูกด้วยวัสดุดิบที่ส่วนประกอบของน้ำหมักหอยเชอร์รี

บุคคลต้นแบบหมู่ที่ 8  นางลดารัตน์ ขำแก้ว สร้างนวัตกรรมการเตรียมดินพร้อมปลูกเสริมทานอาหารในดิน โดยดินพร้อมปลูกมีทานอาหารที่มาจากปุ๋ยหมักน้ำจากหอยเชอรี

พัฒนาการเตรียมการพร้อมในการปลูกในเรื่องของดินพร้อมปลูกสามารถสร้างเป็นรายได้ในครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กระบวนการทำงานที่มีภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกระบวนการดำเนินงานโครงการและสนับสนุนส่งเสริมให้ความรู้ ติดตามประเมินผล ประสานงาน ส่งต่อหน่วยงานยุทธศาสตร์

คณะทำงานที่เป็นตัวแทนกลุ่มบ้าน จำนวน 4 หมู่
ภาคีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโต๊ระ ภาคีเกษตรตำบลตำนาน

สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในระดับท้องที่ ท้องถิ่น และภาครัฐ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

วิธีการดำเนินงานที่มีการมอบหมายหน้าที่ตามกลุ่มบ้าน ตามความรู้ตามความสามารถของแต่ละบุคคลให้เหมาะสมกับงาน

การสำรวจข้อมูลจะแบ่งตามกลุ่มบ้านประกอบไปด้วย 3กลุ่มบ้านในหมู่ที่14 มีตัวแทนกลุ่ม 2 คน หมู่ที่7 มีตัวแทน1คน หมู่ที่8 มีตัวแทน1คน หมู่ที่13 มีตัวแทน1คน มีการอบรมให้ความรู้จากภาคี และจะมีการติดตามประเมินผล มีภาคีที่เกี่ยวเข้าร่วมกระบวนการ 2 หน่วยงาน

การสร้างโครงสร้างการทำงานให้ชัดเจน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

การเกิดทีมการดำเนินงานโครงการ ที่มีคณะทำงาน และบุคคลต้นแบบของแต่ละหมู่บ้านและภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมดำเนินงาน เป็นคณะทำงานกลไกขันเคลื่อนโครงการ

คณะทำงานกลไกขจับเคลื่อนโครงการจำนวน 14 คน ของโครงการ ส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยบ้านควนคง

สร้างโครงงสร้างการดำเนินงานระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

แหล่งเรียนรู้การผลิตพืชผัก ปลอดภัย ของชุมชน บ้านควนคงและหมู่บ้านขยาย เป็นแหล่งแลกเปลี่ยน ในการปลูก การขยายพันธ์ การทำปุ๋ยอินทรีย์ การทำสารทดแทนชีวภัณฑ์ มีวิทยากรประจำแหล่เรียนรู้

แหล่งเรียนรู้ของชุมชน
แหล่งเรียนรู้หมู่ 14 นายกระจ่าง นุ่นดำ

พัฒนาแหล่งเรียนรู้เสริมความรู้การผลิตพืชผักปลอดภัยที่ครบวงจร เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตพืชผักปลอดภัยระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การส่งเสริมการบริโภคพืชผักปลอดภัยในครัวเรือนการบริโภคพืชผักผลไม้ที่หลากหลายไม่น้อยกว่า 400 กรัม ต่อวัน

การบริโภคผักปลอดภัยไม่น้อยกว่า 400 กรัมต่อวัน 290 คน

ขยายการส่งเสริมการบริโภคพืชผักปลอดภัยระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การส่งเสริมการผลิตพืชผักปลอดภัยในครัวเรือน ตามกติกาการผลิตปลอดภัย ครัวเรือนไม่น้อยกว่า5 ชนิด เพื่อบริโภคในครัวเรือน

ชนิดการผลิตผักเพิ่มขึ้น100% เดิมปี 2562ครัวเรือนปฏิบัติการปลูกผักสวนครัวอย่างน้อย 5 ชนิด 40 ครัวเรือน มากกว่า5 ชนิด 20 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ50% ครัวเรือนที่ผลิตผักมากกว่า5ชนิด 31 ครัวเรือน คิดเป็นเป็นร้อยละ155% ปี 2563 ครัวเรือนปฏิบัติการปลูกผักสวนครัวอย่างน้อย 5 ชนิด 9 ครัวเรือน มากกว่า 5 ชนิด 84 ครัวเรือน เพิ่ม 53 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ265%

ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคปลอดภัย โดยการผลิตพืชผักบริโภคในครัวเรือนทุกครัวเรือนของตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

คณะทำงานตามโครงการได้สร้างกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้สถานการณ์ ผลกระทบจากการใช้สารเคมี ต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมในเบื้องต้นเก็บรวบรวม สำรวจข้อมูลการใช้สารเคมี สร้างกระบวนการปฏิบัติการตามครัวเรือนต้นแบบ ส่งเสริมให้เรียนรู้การเกษตรปลอดสารเคมีและเกษตอินทรีย์จากแหล่งเรียนรู้ หมุนเสริมกติกาการผลิต ติดตามประเมินผล

ครัวเรือนต้นแบบเลิกใช้สารเคมีและสมาชิกครัวครัวเรือนปฏิบัติการ 105 ครัวเรือน เลิกใช้สารเคมีที่ชุมชนกำหนด 100%

การส่งเสริม การเก็บข้อมูลการใช้สารเคมี และผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ระดับตำบล สร้างกระบวนการเปลี่ยนแปลงระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ส่งเสริมให้มี จุด ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน เป็นแหล่งกระจายพืชผักจากการผลิตของครัวเรือนปฏิบัติการที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือน

มีจุด ซื้อขาย แลกเปลี่ยน จำนวน 3 จุด

ส่งเสริมการรวมกลุ่ม เป็นแหล่งกระจายพืชผักนอกชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

สร้างกระบวนการสร้างความเข้าใจให้ชุมชนรับทราบสถานการณ์การใช้สารเคมี และผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ชักชวนการเข้ากระบวนการเลิกใช้สารเคมี ร่วมกำหนดกติการ่วมกับปฏิบัติ

มีกติกาชุมชนการผลิตผักปลอดภัย 1. ไม่ใช้สารเคมึ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ 2. ไม่ใช้สารกำจัดแมลง ใช้สารทดแทนที่ผลิตเอง 3. ไม่ใช้ยาฆ่าหญ้าในสถานที่ปลูกผัก 4. ปลูกผักกินเองอย่างน้อย 5 ชนิด

สร้างกระบวนการร่วมกำหนดกติกาในระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การเชื่อมโยงการประสานงานระหว่างกลุ่ม สร้างกระบวนการทำงานโครงการให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลง สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ ให้ถึง นโยบายจังหวัด ด้วยการเชื่อมประสาน ระหว่างกลุ่ม เครือข่ายที่เกี่ยว ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน

การเชื่อมโยงมี 3 ระดับ
กลุ่มเชื่อมกลุ่ม ระหว่าง หมู่ที่ 14 ซึ่งเป็นต้นแบบ สู่หมู่ 13,8,7

การเชื่อมโยงกับภาคีที่เกี่ยวข้อง ประสานงานกระบวนการส่งเสริมความรู้ ประสานงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโต๊ระ ประสานงานเกษตรตำบลตำนาน

การเชื่อมโยงระดับพื้นที่ภาคียุทธศาสตร์ ที่มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายรวมกันสู่การผลักดันถึงนโยบายของจังหวัด (กิจกรรมเชื่อมร้อยเครือข่าย วันที่ 7 ตุลาคม 2563)

พัฒนาพื้นที่เป็นพื้นที่ต้นแบบระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การสร้างความเข้าใจ สถานการณ์การใช้สารเคมีและผลกระทบต่อ สุขสุภาพและสิ่งแวดล้อม โดยการเก็บข้อมูลสถานการณ์และผลกระทบการใช้สารเคมีในการเกษตร นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ถึงสถานการณ์และผลกระทบ คืนข้อมูลสู่ชุมชน  ประเมินปัญหาร่วมกัน วางแนวทางการแก้ไขปัญหา ปฏิบัตการการสร้างกระบวนการ ส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยบ้านควนคง ติดตามประเมินผล นำผลสู่การประชุมชนคณะทำงานและกลไกขับเคลื่อน วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

มีการประชุมคณะทำงานกลไกขับเคลื่อนโครงการทุกเดือน เป็นวันที่ 11 ของเดือน

พัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการ วิเคราะห์ข้อมูล การประเมินปัญหา วางแนวทางแผนการปฏิบัติการได้ชัดเจน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การสร้างกระบวนการเรียนรู้ในการปฏิบัตการ ผลิตพืชผักปลอดภัย และการใช้สารทดแทนชีวภัณฑ์ การทำปุ๋ยอินทรีย์ โดยการระดมความคิดในการทำปุ๋ยอินทรีย์และสารชีวภัณฑ์จากครัวเรือนต้นแบบ ให้เป็น นวัตกรรมที่สามารถสร้างแรงจูงในการเลิกใช้สารเคมี

นวัตกรรมการทำปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 2 ครัวเรือน หมู่ที่ 14
นวัตกรรมด้านการเตรียมดินในการปลูก 1 ครัวเรือน หมู่ที่13
นวัตกรรมการทำสารทดแทนชีวภัณฑ์ 2 ครัวเรือนหมู่ที่7และหมู่ที่8

พัฒนาศักยภาพทรัพยากรด้านบุคคลให้เป็นวิทยากรให้ความรู้ในการผลิตพืชผักปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ