directions_run

เรียนรู้ทำนาข้าวเพื่อการบริโภคปลอดภัยที่บ้านตะโหมด

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างการเรียนรู้และให้เกิดความตระหนักต่อการผลิตและบริโภคที่ปลอดภัยของสมาชิกและคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและผลกระทบที่เกิดจากผลิตและบริโภค 2. มีคนมาร่วมเรียนรู้และเข้าใจต่อผลกระทบต่อการบริโภคได้อย่างน้อย 80 คน 3. ผู้ร่วมโครงการสามารถออกแบบและสร้างแผนการปลูกข้าวปลอดภัยได้
0.00 9.00

กลุ่มเป้าหมายอีก10ครัวเรือนที่ไม่สามารถร่วมกิจกรรมกับกลุ่มได้เนื่องจากยังไม่มีความพร้อมในการทำนาข้าว พื้นที่นาข้าวยังปล่อยให้ญาติเป็นคนดำเนินการอยู่จึงไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขข้อตกลงต่างๆของกลุ่มได้

2 เพื่อร่วมกันสร้างกติกาและกลไกหนุนเสริมการผลิตข้าวที่ปลอดภัยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีกติกาที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของสมาชิก 2. มีกลไกการทำงานและกลไกการติดตามการทำงานของกลุ่ม 3. มีแปลงต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ของสมาชิกและชุมชนอย่างน้อย 3 แปลง
0.00 5.00

การใช้กติกาข้อตกลงของกลุ่มคือหัวใจของการทำงานให้เกิดผลสำเร็จ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการยินดีทำตามและยอมรับข้อตกลงของกลุ่ม

3 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมและปัจจัยหนุนเสริมการผลิตที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1. สามารถผลิตปัจจัยหนุนเสริมการผลิตได้อย่างน้อย 3 อย่าง 2. สามารถนำปัจจัยหนุนเสริมการผลิตที่ปลอดภัยไปใช้ได้เต็มพื้นที่
0.00 3.00

การเรียนรู้ในกระบวนการขั้นตอนนี้ถือว่าสำคัญมากเพราะหากสมาชิกไม่สามารถผลิตปัจจัยที่หนุนเสริมการผลิตที่ปลอดภัยได้ก็อาจจะมีแนวโน้มที่จะใช้วัสดุเคมีในการดูแลบำรุงรักษาต้นข้าวได้และสามารถเรียนรู้พัฒนายกระดับการผลิตข้าวปลอดภัยที่มีคุณภาพ

4 เพื่อเพิ่มพื้นที่ให้เกิดการผลิตข้าวที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้นและส่งเสริมการบริโภคที่ปลอดภัยในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. สามารถมีพื้นที่ผลิตข้าวปลอดภัยได้อย่างน้อย 100 ไร่ 2. มีครัวเรือนที่ได้บริโภคข้าวปลอดภัยเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 100 ครัวเรือน
0.00

กลุ่มมีแนวโน้้มที่จะสามารถเพิ่มพื้นที่การผลิตได้่พิ่มขึ้นในอนาคต และสามารุเพิ่มสมาชิกในกลุ่มเพื่อเรียนรู้การผลิตข้าวปลอดภัยในชุมชนรวมทั้งการหนุนเสริมเชิงการเรียนรู้ที่มีคุณภาพะยกระดับการทำนาให้เกิดผลผลิตที่มีคุณภาพและการสร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับเกษตรกร

5 การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 2. ร่วมกิจกรรมทุกครั้งตามที่หน่วยจัดการกำหนด
0.00

กรรมการกลุ่มรับรู้การใช้จายและการจัดการการเงินของกลุ่ม เป็นที่ยอมรับร่วมกันของสมาชิกและเกิดความไว้วางใจกันภายในกลุ่ม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 142
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง 100
กลุ่มเป้าหมายหลัก 42

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการเรียนรู้และให้เกิดความตระหนักต่อการผลิตและบริโภคที่ปลอดภัยของสมาชิกและคนในชุมชน (2) เพื่อร่วมกันสร้างกติกาและกลไกหนุนเสริมการผลิตข้าวที่ปลอดภัยในชุมชน (3) เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมและปัจจัยหนุนเสริมการผลิตที่ปลอดภัย (4) เพื่อเพิ่มพื้นที่ให้เกิดการผลิตข้าวที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้นและส่งเสริมการบริโภคที่ปลอดภัยในครัวเรือน (5) การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบริหารจัดการ(กิจกรรมปฐมนิเทศน์) (2) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 1 (3) จัดทำฐานข้อมูลชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ (4) กิจกรรมบริหารจัดการ(จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.) (5) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 2 (6) อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวที่ปลอดภัยครั้งที่1 (7) เวทีเรียนรู้การทำแผนการปลูก (8) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 3 (9) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 4 (10) อบรมการผลิตปัจจัยหนุนเสริมการผลิตการผลิตครั้งที่1 (11) กิจกรรมบริหารจัดการ(ประชุมร่วมกับหน่วยจัดการและภาคียุทธสาสตร์) (12) อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวที่ปลอดภัยครั้งที่2 (13) อบรมการผลิตปัจจัยหนุนเสริมการผลิตการผลิตครั้งที่2 (14) ติดตามเยี่ยมเยียนแปลงข้าวและคัดเลือกเป็นแปลงต้นแบบครั้งที่ 1 (15) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 5 (16) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 1 (17) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 6 (18) อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวที่ปลอดภัยครั้งที่3 (19) ประเมินผลร่วมกับหน่วยจัดการครั้งที่ 1(กิจกรรมบริหารจัดการ) (20) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ละพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 2 (21) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 7 (22) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 8 (23) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 9 (24) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ละพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 3 (25) กิจกรรมประชุมคณะทำงานและสมาชิกประจำเดือนครั้งที่ 10 (26) กิจกรรมคืนข้อมูล/สรุปการดำเนินงานโครงการ (27) เวทีเรียนรู้นำเสนออัตลักษณ์ของข้าวบ้านตะโหมด (28) กิจกรรมทำสื่อประชาสัมพันธ์ (29) ติดตามเยี่ยมเยียนแปลงข้าวและคัดเลือกเป็นแปลงต้นแบบครั้งที่3 (30) กิจกรรมเวทีสังเคราะห์บทเรียนการทำงาน (31) จัดทำรายงานในระบบรายงาน (32) ติดตามเยี่ยมเยียนแปลงข้าวและคัดเลือกเป็นแปลงต้นแบบครั้งที่2 (33) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh