directions_run

รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกิตติมา มุ่งวัฒนา

ชื่อโครงการ รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-00174-0001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2020 ถึง 10 ตุลาคม 2021


กิตติกรรมประกาศ

"รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.นักเรียนมีพฤติกรรมถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยตามหลัก 3 R (2) 2.เพื่อลดขยะมูลฝอย และแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคจากขยะมูลฝอยและสร้างความตระหนักในการร่วมมือ การคัดแยกขยะในโรงเรียนและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานกลุ่มแกนนำ (2) ชื่อกิจกรรมที่ 8 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ (3) ชื่อกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ 2 ครั้ง (4) ชื่อกิจกรรมที่ 4  กิจกรรมโครงงานขยะ (5) ชื่อกิจกรรมที่ 1อบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และแกนนำ (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (7) ชื่อกิจกรรมที่7 กิจกรรมสู่ชุมชน (8) ชื่อกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ (9) ชื่อกิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงงาน และผลการดำเนินงาน (10) 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในโรงเรียน (11) 1.2 อบรมให้ความรู้ครู และบุคลากรเรื่องลดการใช้กระดาษในสำนักงาน โดยใช้เอกสารออนไลน์( Digital Textbook ) (12) 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการจัดการขยะตามหลักการจัดการขยะแบบ 3 R (13) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 1 (14) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 2 (15) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 3 (16) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 4 (17) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 5 (18) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 6 (19) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 7 (20) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 8 (21) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 9 (22) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 10 (23) 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการทำโครงงานขยะ (24) กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ (25) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (26) กิจกรรมจัดทำสื่อเผยแพร่ (27) ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 1 (28) ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 2 (29) ประชุมเวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ภูผายอด (30) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (31) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานส.1และการเงิน ง.1 (32) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (33) ค่าเดินทางประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 (34) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (35) ค่าเบี้ยเลี้ยงประชุมออนไลน์ (36) 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่1 (37) 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่2 (38) 7.3 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่3 (39) 7.4 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะครั้งที่4 (40) 7.5 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่5 (41) 7.1 กิจกรรมประชุมชี้แจงธนาคารขยะ (42) 7.12 กิจกรรมจัดการขยะจากโรงเรียนสู่ชุมชนหลุมถ่าน (43) 7.6 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่6 (44) 7.7 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่7 (45) 7.11 กิจกรรมถุงผ้าลดโลกร้อน (46) 7.8 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่8 (47) 7.9 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่9 (48) 7.10 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การขยายผลการดำเนินงานสู่ชุมชน โดยแกนนำนักเรียน (2) การประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายเพิ่มเติมเพื่อช่วยสนับสนุนเรื่องงบประมาณและความช่วยเหลือ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) ที่ได้ระบุบทบาทหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการว่าต้องออกนโยบายให้ผู้บริหารโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกแห่งต้องลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย สร้างจิตสำนึกและวินัยให้กับเยาวชนในเรื่องการบริหารจัดการขยะ โรงเรียนบ้านท่าข้าม ตั้งอยู่ที่ 173 หมู่ 1 ตำบลท่าข้าม อ.ปะเหลียน จังหวัดตรัง พื้นที่ตั้งอยู่ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลท่าข้าม โรงเรียนจัดเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีจำนวนนักเรียน 85 คน ครูและบุคลากร จำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 95คน ทำให้พบปัญหาขยะที่พบเป็นประจำ คือ ขยะจากซองบรรจุภัณฑ์ เช่น ถุงนม วันละ 85 ชิ้น และถุงไอศกริมวันละ 50 – 60 ชิ้น ขยะเหล่านี้พบได้ทั่วไปจากสนามเด็กเล่น หรือ บริเวณรอบถังขยะ จากกการเก็บข้อมูลปริมาณขยะพบว่า มีปริมาณขยะภายในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เนื่องจากพฤติกรรมการทิ้งขยะไม่เป็นที่ของนักเรียน ส่งผลให้มีมด แมลงวัน แมลงสาบ กระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณที่โรงเรียน โดยเฉพาะมดซึ่งกระจายตัวอยู่ทุกที่ที่มีแหล่งอาหารที่นักเรียนทิ้งเอาไว้ นอกจากนี้พบว่ามี แมว และสุนัข จำนวนหนึ่งที่เข้ามาคุ้ยหาอาหาร ทำให้บริเวณโดยรอบของโรงเรียนสกปรก ส่งกลิ่นเหม็นไม่พึงประสงค์ในโรงเรียน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ความปลอดภัย และการทำกิจกรรมต่างๆของนักเรียน และคณะครูโดยตรง นอกจากนี้จากการเยี่ยมบ้านนักเรียนปีการศึกษา 2562 พบว่านักเรียนร้อยละ 70 ของโรงเรียนอาศัยอยู่ในชุมชนหลุมถ่าน ซึ่งชุมชนแห่งนี้ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน การปลูกบ้านเรือนแบบมีใต้ถุนเหนือน้ำ อยู่ติดๆกันหลายหลังตัวบ้านเป็นบ้านไม้กั้นฝาด้วยสังกะสีหรือไม้กระดานอัด ขาดความมั่นคงแข็งแรง เสี่ยงต่อสัตว์มีพิษเข้าไปอยู่อาศัย ชุมชนแห่งนี้มีบ้านเรือนอาศัยอยู่รวมกันประมาณ 35ครัวเรือน ซึ่งมักจะพบเห็นขยะประเภท ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ขวดแก้ว เศษผ้า เศษกระดาษ เศษอวน หรือข้าวของที่ไม่ใช้กระจายทั่วบริเวณใต้ถุนบ้าน เนื่องจากไม่มีถังขยะ และไม่มีวิธีการกำจัดขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างถูกต้อง จากการสังเกตพฤติกรรมพบว่า ส่วนใหญ่จะทิ้งขยะใต้ถุนบ้าน และเมื่อน้ำทะเลหนุนสูงขึ้น นักเรียนก็มักจะลงไปเล่นน้ำทำให้เกิดปัญหาโรคผิวหนังตามมา บางคนเป็นตุ่มหนองตามผิวหนัง บางครั้งอักเสบต้องหยุดเรียน หรือได้รับบาดเจ็บจากการเหยียบเศษกระเบื้องที่ทิ้งไว้เกลื่อนกลาดตามพื้นหรืแอ่งน้ำ จากปัญหานี้พบว่านักเรียนร้อยละ 40 มีปัญหาต้องหยุดเรียนสาเหตุเนื่องมาจากปัญหาผิวหนังอักเสบเรื้อรัง เป็นตุ่มหนอง ซึ่งปัญหานี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องของนักเรียนนอกจากนี้จากสภาพภายในชุมชนที่เต็มไปด้วยกองขยะ ทั้งพลาสติก เศษกระเบื้อง ข้าวของเครื่องใช้ต่างๆที่ไม่ใช้แล้ว นำมากองทิ้งไว้ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง ทำให้นักเรียนได้รับอันตรายบ่อยครั้ง จากการเก็บข้อมูลภายในโรงเรียนในปี 2562 พบว่ามีนักเรียนจำนวน 1 ราย ได้รับอันตรายจากการถูกงูกัดในบ้านของตัวเองต้องนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลนานถึง 15 วัน นักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บจากการเหยียบเศษแก้วขณะเล่นน้ำในชุมชน จำนวน 3 ราย และนักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บจากการถูกสัตว์มีพิษกัดต่อยภายในชุมชนที่อยู้อาศัยของตนเองจำนวน 3 ราย และ นักเรียนที่มีปัญหาผิวหนังเป็นแผลพุพองเป็นหนอง ติดเชื้อ จำนวน 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 40 ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งปัญหาขยะเหล่านี้นับว่าเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อนักเรียนอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นเพื่อเป็นการลดและจัดการขยะในโรงเรียน และชุมชน โรงเรียนบ้านท่าข้าม จึงนำเสนอโครงการ รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะเพื่อสุขภาพที่ดีตามรูปแบบ “Banthakham Zero Waste” โดยมุ่งเน้นด้านการสร้างความตระหนักต่อสถานการณ์ด้านขยะ และนำระบบจัดการขยะ แบบ 3R ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) มาใช้การจัดการขยะที่เกิดขึ้นในโรงเรียน และชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการขยะที่ดีของนักเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.นักเรียนมีพฤติกรรมถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยตามหลัก 3 R
  2. 2.เพื่อลดขยะมูลฝอย และแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคจากขยะมูลฝอยและสร้างความตระหนักในการร่วมมือ การคัดแยกขยะในโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชื่อกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานกลุ่มแกนนำ
  2. ชื่อกิจกรรมที่ 8 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่
  3. ชื่อกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ 2 ครั้ง
  4. ชื่อกิจกรรมที่ 4 กิจกรรมโครงงานขยะ
  5. ชื่อกิจกรรมที่ 1อบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และแกนนำ
  6. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  7. ชื่อกิจกรรมที่7 กิจกรรมสู่ชุมชน
  8. ชื่อกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ
  9. ชื่อกิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงงาน และผลการดำเนินงาน
  10. 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในโรงเรียน
  11. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 1
  12. ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 1
  13. ประชุมเวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ภูผายอด
  14. 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่1
  15. 1.2 อบรมให้ความรู้ครู และบุคลากรเรื่องลดการใช้กระดาษในสำนักงาน โดยใช้เอกสารออนไลน์( Digital Textbook )
  16. ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 2
  17. 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการจัดการขยะตามหลักการจัดการขยะแบบ 3 R
  18. 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการทำโครงงานขยะ
  19. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 2
  20. 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่2
  21. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 3
  22. 7.3 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่3
  23. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  24. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 4
  25. 7.4 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะครั้งที่4
  26. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานส.1และการเงิน ง.1
  27. กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ
  28. กิจกรรมจัดทำสื่อเผยแพร่
  29. 7.5 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่5
  30. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 5
  31. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ
  32. 7.1 กิจกรรมประชุมชี้แจงธนาคารขยะ
  33. 7.12 กิจกรรมจัดการขยะจากโรงเรียนสู่ชุมชนหลุมถ่าน
  34. ค่าเดินทางประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1
  35. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  36. 7.6 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่6
  37. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 6
  38. 7.7 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่7
  39. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 7
  40. 7.11 กิจกรรมถุงผ้าลดโลกร้อน
  41. 7.8 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่8
  42. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 8
  43. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 9
  44. 7.9 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่9
  45. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 10
  46. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  47. 7.10 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่10
  48. ค่าตอบแทนประชุม
  49. ค่าตอบแทนการประชุม
  50. ค่าตอบแทนการประชุม
  51. ค่าตอบแทนการประชุม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 60 75
กลุ่มเป้าหมายหลักได้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าข้าม 99
อปท. อสม. 6

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถคัดแยกขยะได้ จำนวนปริมาณขยะในบริเวณโรงเรียนและชุมชน ลดลงร้อยละ 30 และมีการดำเนินงานธนาคารขยะในโรงเรียน เป็นการสร้างรายได้ให้กับนักเรียน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าตอบแทนประชุม

วันที่ 30 มิถุนายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุมออนไลน์/on site ร่วมกับnode Flagship

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

30 มิ.ย.64-1ก.ค.64 ประชุมสมัชชาสร้างสุขสานพลังไตรภาคี สู่เมืองตรังแห่งความสุข

 

5 0

2. 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในโรงเรียน

วันที่ 6 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในโรงเรียน ประกอบด้วย
ผอ.    1 คน ครู      9 คน นักเรียนแกนนำ 35 คน ผู้นำชุมชน  1 คน อสม.  3  คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ครู แกนนำนักเรียน ผู้นำชุมชน อสม. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน

 

49 0

3. ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงแบ่งหน้าที่ แบ่งกลุ่มนักเรียนแกนนำและแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีฐานข้อมูลเรื่องขยะ

 

40 0

4. ประชุมเวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ภูผายอด

วันที่ 21 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุมเวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโดยสสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่วมปฐมนิเทศคณะทำงาน

 

1 0

5. 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่1

วันที่ 24 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการดำเนินงานธนาคารขยะ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการดำเนินงานธนาคารขยะในโรงเรียน

 

20 0

6. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 1

วันที่ 31 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีฐานข้อมูลขยะ

 

17 0

7. 1.2 อบรมให้ความรู้ครู และบุคลากรเรื่องลดการใช้กระดาษในสำนักงาน โดยใช้เอกสารออนไลน์( Digital Textbook )

วันที่ 1 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ครูและบุคลากรเรื่องการใช้งานโปรแกรมต่างๆเพื่อแจ้งข่าวสารหรือหนังสือราชการของโรงเรียนเพื่อลดการใช้กระดาษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณการใช้กระดาษในสำนักงานลดลง

 

10 0

8. ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 2

วันที่ 7 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำนักเรียนรายงานผลการสำรวจปริมาณขยะในพื้นที่ต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีฐานข้อมูลเรื่องขยะ

 

40 0

9. 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการจัดการขยะตามหลักการจัดการขยะแบบ 3 R

วันที่ 15 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการจัดการขยะตามหลัก3R  และการสร้างความตระหนักเรื่องความสำคัญของการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความรู้ ทักษะ ตระหนักในเรื่องการจัดการขยะตามหลัก3R ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

97 0

10. 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการทำโครงงานขยะ

วันที่ 19 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การทำโครงงานขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนจัดทำโครงงานจำนวน7 โครงงาน

 

95 0

11. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 2

วันที่ 27 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามผลการดำเนินงานเดือนสิงหาคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีฐานข้อมูลขยะ

 

17 0

12. 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่2

วันที่ 28 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการดำเนินงานธนาคารขยะในโรงเรียน

 

20 0

13. 7.3 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่3

วันที่ 23 กันยายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จัดเตรียมสถานที่ดำเนินการธนาคารขยะ
  • แบ่งหน้าที่ผู้รับผิดชอบในธนาคารขยะ
  • ข้อข้อกำนหดในการฝากขยะ

 

20 0

14. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 4

วันที่ 9 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนแกนนำสรุปผลการบันทึกปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณขยะทั้งหมด 9 ชิ้น เฉลี่ย0.3ชิ้นต่อวัน แบ่งเป็นขยะทั่วไป 9 ชิ้น เฉลี่ย 0.3ชิ้นต่อวัน ขยะรีไซเคืล 0ชื้นต่อวัน

 

17 0

15. 7.4 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะครั้งที่4

วันที่ 9 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

3.1  การจัดสถานที่ สำหรับดำเนินการธนาคารขยะ  ให้จัดที่อาคารอเนกประสงค์ โดยติดตั้งป้าย แสดงราคารับซื้อขยะแต่ละประเภทให้เห็นชัดเจน เขียนรารคาทุกวันที่มีการเปลี่ยนแปลงราคา 3.2  การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
      -  แผนกรับฝาก  ( เด็กหญิงพิมพ์พิสาข์  , เด็กหญิงพัชดา -  แผนกชั่งน้ำหนัก ( เด็กหญิงนฤมน , เด็กชายภานุวัชร ) -  แผนกคัดแยกขยะ ( เด็กชายธนกฤต , เด็กหญิงบุรัสกร )       ส่วนคนอื่นๆให้สลับผลัดเปลี่ยนการมาทำงาน  โดยให้ลงบัญชีการปฏิบัติงานทุกครั้ง 3.3  ข้อกำหนดในการฝากขยะ -  รับฝากขยะทุกวันเวลา 12.00-12.30 น. -  การเบิกเงินจะเบิกได้เฉพาะวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน -  นักเรียนที่ฝากขยะ จะได้รับสมุดรับฝากทุกคน เพื่อบันทึกปริมาณขยะ และจำนวนเงินจากการ
              ฝากขยะในแต่ละครั้ง -  รายได้จากการจำหน่ายขยะจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 จ่ายให้กับสมาชิกที่มาฝากขยะตามปริมาณการฝาก ส่วนที่ 2 กำไรจากการขายขยะ จะแบ่งเป็น 70 % เป็นค่าดำเนินการธนาคาร และอีก 30 % สำหรับจ่ายค่าแรงสำหรับผู้ปฏิบัติงาน 3.4 การจ่ายค่าตอบแทนให้กับนักเรียนที่มาปฏิบัติงานจะจ่ายให้ตามชั่วโมงการปฏิบัติงาน
3.5  มีการจัดทำป้ายบัญชีและสรุปบัญชีรายงานให้ที่ประชุมทราบทุกเดือน

 

20 0

16. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานส.1และการเงิน ง.1

วันที่ 14 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการการลงข้อมูลรายงานส1และการเงิน ง.1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถลงข้อมูลรายงานได้ครบถ้วนถูกต้อง ทันเวลา

 

3 0

17. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 5

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

สรุปปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณขยะทั้งหมด 15 ชิ้น เฉลี่ยปริมาณขยะ 0.5 ชิ้นต่อวัน แบ่งเป็นขยะทั่วไป15ชิ้นเแลี่ย 0.5ชิ้นต่อวัน ขยะรีไซเคิล 0ชิ้น

 

17 0

18. 7.5 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่5

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

3.1  การดำเนินการธนาคารขยะ เริ่มดำเนินการแล้วแต่ยังไม่มีนักเรียนนำขยะมาฝาก จึงขอให้นักเรียนช่วยกันประชาสัมพันธ์ และให้นำมาฝากเป็นตัวอย่างแก่เพื่อนนักเรียนคนอื่นๆ 3.2  การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
      -  แผนกรับฝาก  ( เด็กหญิงพิมพ์พิสาข์  , เด็กหญิงพัชดา -  แผนกชั่งน้ำหนัก ( เด็กหญิงนฤมน , เด็กชายภานุวัชร ) -  แผนกคัดแยกขยะ ( เด็กชายธนกฤต , เด็กหญิงบุรัสกร )       ส่วนคนอื่นๆให้สลับผลัดเปลี่ยนการมาทำงาน  โดยให้ลงบัญชีการปฏิบัติงานทุกครั้ง 3.3  การแจกของที่ระลึกเชิญชวนให้นักเรียนนำขยะมาฝากที่ธนาคาร

 

20 0

19. ค่าเดินทางประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1

 

3 0

20. กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ

วันที่ 4 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะโดยนักเรียนทุกคนจะต้องนำหลักการจัดการขยะตามหลัก 3 R ไปใช้จัดการขยะในครัวเรือนของตนเอง โดยจะมีคณะทำงานประเมินเพื่อคัดเลือกครัวเรือนของนักเรียนเป็นครัวเรือนแกนนำการจัดการขยะแบบ 3 R
2.คณะทำงานติดตามเยี่ยมบ้านเก็บข้อมูลก่อน  ระหว่าง และหลังการทำกิจกรรม ( ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ทุกเดือน ) 3.กิจกรรมคัดเลือกแกนนำครัวเรือนบ้านหนูปลอดขยะโดยคณะทำงานประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน แกนนำครู แกนนำผู้ปกครอง  อปท. เป็นผู้ประเมินและตัดสิน ตามข้อตกลงที่วางไว้ร่วมกัน 4.ครัวเรือนนักเรียนที่ผ่านการประเมินจะได้รับเกียรติบัตร และของที่ระลึกเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีครัวเรือนต้นแบบในการคัดแยกขยะตามหลักการ3R จำนวน 3 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ8.57 ของครัวเรือนในชุมชนหลุมถ่านทั้งหมด(35ครัวเรือน )

 

115 0

21. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 6

วันที่ 11 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำนักเรียนสรุปปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ขยะทั้งหมด 8 ชิ้นเฉลี่ย0.27ชิ้นต่อวัน แบ่งเป็นขยะทั่วไป8ชิ้นเฉลี่ย 0.27ชิ้นต่อวันและขยะรีไซเคิล0ชิ้นต่อวัน

 

17 0

22. 7.12 กิจกรรมจัดการขยะจากโรงเรียนสู่ชุมชนหลุมถ่าน

วันที่ 11 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

-    ประชุมวางแผนการดำเนินงานในชุมชนร่วมกับแกนนำอปท. นักเรียนแกนนำ ชุมชนหลุมถ่าน  และอสม.ผู้รับผิดชอบในพื้นที่  เพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินงาน -  กิจกรรมอบรมให้ความรู้เสริมสร้างความตระหนัก และสร้างศักยภาพ ด้านการจัดการขยะ ตามหลัก 3 R ให้แก่แกนนำครอบครัวและนักเรียนแกนนำ ชุมชนหลุมถ่าน -  กิจกรรมกำจัดขยะในชุมชน
-  ติดตาม ผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-    ประชุมวางแผนการดำเนินงานในชุมชนร่วมกับแกนนำอปท. นักเรียนแกนนำ ชุมชนหลุมถ่าน  และอสม.ผู้รับผิดชอบใน
    พื้นที่  เพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินงาน -  กิจกรรมเสริมสร้างความตระหนัก และสร้างศักยภาพ ด้านการจัดการขยะ ตามหลัก 3 R ให้แก่แกนนำครอบครัวและ     นักเรียนแกนนำ ชุมชนหลุมถ่าน -  กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อ ให้ความรู้ ติดตาม กำกับดูแลการจัดการขยะ  โดยกำหนดแบ่งเขตพื้นที่ความ
    รับผิดชอบ ตามความสะดวกของแกนนำครอบครัว ( เน้นบ้านใกล้กัน ดูแลกัน ) -  กิจกรรมกำจัดขยะในชุมชน  และกำหนดจุคัดแยกขยะส่วนรวมตามหลัก 3 R -  ติดตาม ผลการดำเนินงานการกำจัด คัดแยกขยะ ตามหลัก 3 R  ในชุมชนหลุมถ่าน ( ผู้ทรงคุณวุฒิ  แกนนำครู แกนนำ
  อปท. และอสม.ติดตามลงพื้นที่เพื่อบันทึกผลการดำเนินงานและให้คำแนะนำแก่แกนนำครอบครัว เพื่อพัฒนาปรับปรุง   การทำงาน อย่าง น้อย 4 ครั้ง )

 

150 0

23. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

วันที่ 25 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

จัดชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการนำเสนอผลการดำเนินงานผ่านการจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการจัดทำนิทรรศการ ในวันที่ 28 ธ.ค.63 โดยนักเรียนแต่ละชั้นนำเสนอโครงงานของตนเองและจัดทำป้ายนิทรรศการ ในส่วนของการดำเนินงานโครงการ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

0 0

24. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 28 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การนำเสนอโครงงานของแต่ละชั้นเรียนระหว่างนักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง และตัวแทนอปท.
  2. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและตัวแทนสสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานโครงงานนักเรียน โดยมีรองผอ.สพป.ตรังเขต1 มาเป็นประธานเปิดงาน ชุมชนนักคิด พิชิตขยะ และมีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมจากโรงเรียนต่างๆ

 

175 0

25. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 7

วันที่ 15 มกราคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานและปริมาณขยะ ประจำเดือน มกราคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณขยะ9ชิ้น เฉลี่ย 0.3 ชิ้นต่อวัน แบ่งเป็นขยะ 9ชิ้น เฉลี่ย0.3ชิ้นต่อวัน และขยะรีไซเคิล 0 ชิ้น

 

17 0

26. 7.7 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่7

วันที่ 20 มกราคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีสมาชิกจำนวน 13 คนนำขยะมาฝาก ชนิดขยะที่นำมาฝากได้แก่ ขวดพลาสติกใส  กระดาษ  ขวดแก้ว อลูมิเนียม -ธนาคารได้กำไรจากการรับฝากขยะ เป็นเงิน286บาท จ่ายให้นักเรียนที่ปฏิบัติงานในธนาคารเป็นเงิน 68 บาทตามชั่วโมงการปฏิบัติงาน

 

20 0

27. 7.11 กิจกรรมถุงผ้าลดโลกร้อน

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2021

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมการทำถุงผ้าให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่สนใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาสัมพันธ์การรับสมัครผู้ปกครองและนักเรียนที่สนใจกิจกรรม
  • อบรมการทำถุงผ้าลดโลกร้อนให้กับผู้ที่สนใจ

 

45 0

28. 7.8 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่8

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

3.1  มีสมาชิกฝากขยะเพิ่มจำนวน 9 คน ชนิดขยะที่นำมาฝาก ได้แก่ ขวดพลาสติกใส  กระดาษ  ขวดแก้ว อลูมิเนียม
3.2  การจำหน่ายขยะรอบต่อไปให้ติดต่อร้านมารับซื้อที่ธนาคาร เนื่องจากปริมาณขยะมีจำนวนมาก
3.3  เนื่องจากมีปริมาณขยะเป็นจำนวนมาก จึงให้นักเรียนแบ่งเวรกันผลัดเปลี่ยนมาคัดแยกขยะ
3.4  ยังไม่มีสมาชิกคนใดเบิกเงินฝากค่าขยะ

 

20 0

29. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 8

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน ปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ขยะทั่วไป0 ชิ้น ขยะรีไซเคิล 0 ชิ้น ( ไม่พบขยะตามบริเวณต่างๆ นักเรียนทิ้งลงถัง และคัดแยกขยะก่อนทิ้งทุกชั้นเรียน )

 

17 0

30. 7.9 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่9

วันที่ 18 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

3.1  ไม่มีสมาชิกฝากขยะเพิ่ม
3.2  นัดหมายร้านค้ามารับขยะในวันที่ 27 มีนาคม 2564
3.3  เนื่องจากมีปริมาณขยะเป็นจำนวนมาก จึงให้นักเรียนแบ่งเวรกันผลัดเปลี่ยนมาคัดแยกขยะ ให้แล้วเสร็จก่อนวันที่  27 มีนาคม 3.4  ยังไม่มีสมาชิกคนใดเบิกเงินฝากค่าขยะ

 

20 0

31. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 9

วันที่ 19 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน ปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ขยะทั่วไป0 ชิ้น ขยะรีไซเคิล 0 ชิ้น  นักเรียนคัดแยกขยะ ก่อนทิ้งทุกชั้นเรียน

 

17 0

32. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 10

วันที่ 8 เมษายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน ปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณขยะทั่วไป0ชิ้น ขยะรีไซเคิล 0 ชิ้น นักเรียนคัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง ทุกครั้ง ทุกชั้น

 

17 0

33. 7.10 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่10

วันที่ 9 เมษายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

3.1  ปริมาณขยะที่รับฝาก จำแนกประภเทได้ตามแผนภูมิดังนี้
3.2  การจำหน่ายขยะในครั้งที่ 2 เป็นเงิน 690 บาท
3.3  สรุปรายรับธนาคารขยะ ทั้งหมด เป็นเงิน  976  บาท สรุปรายจ่ายแบ่งเป็น -  ค่าแรง  เป็นเงิน  206 บาท -  เงินฝากสมาชิก  เป็นเงิน  365 -  คงเหลือ  405 บาท 3.4  การดำเนินงานธนาคารขยะโรงเรียนบ้านท่าข้าม จะเริ่มดำเนินการอีกครั้งในปีการศึกษา 2564  โดยจะมีการรับสมัครนักเรียนที่สนใจเพื่อเข้าร่วมปฏิบัติงานในธนาคาร

 

20 0

34. ค่าตอบแทนการประชุม

วันที่ 30 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสมัชชาสร้างสุขภาคใต้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมสมัชชาสร้างสุขภาคใต้

 

0 0

35. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 3

วันที่ 30 กรกฎาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำนักเรียนรายงานผลการสำรวจปริมาณขยะประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปปริมาณขยะในเดือนกันยายน รวมทั้งหมด 488 ชิ้นเฉลี่ย 16.27 ชิ้นต่อวัน แบ่งเป็นขยะทั่วไป 239ชิ้น เฉลี่ย 7.97ชิ้นต่อวัน ขยะรีไซเคิล249ชิ้น เฉลี่ย8.3ชิ้นต่อวัน

 

17 0

36. 7.6 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่6

วันที่ 31 กรกฎาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ยังไม่มีนักเรียนนำขยะมาฝาก
มีการมอบหมายงาน และเตรียมการดำเนินงานธนาคารขยะ เน้นประชาสัมพันธ์ และมีการแจกของที่ระลึก เพื่อเชิญชวนให้นักเรียนนำขยะมาฝาก

 

20 0

37. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 31 กรกฎาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ค่าบริการอินเตอร์เน็ตสำหรับจัดทำรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าบริการอินเตอร์เน็ต จำนวน 5 เดือน

 

0 0

38. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 31 กรกฎาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่เพื่อติดตามจุดต่างๆในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดป้ายเขตปลอดบุหรี่ตามจุดต่างๆในโรงเรียน

 

134 0

39. 7.1 กิจกรรมประชุมชี้แจงธนาคารขยะ

วันที่ 31 กรกฎาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุม ชี้แจง นักเรียนและผู้ปกครอง อธิบายขั้นตอนการดำเนินงานกิจกรรมธนาคารขยะเพื่อขยายผลต่อให้ชุมชนทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีการประชุมชี้แจงแก่นักเรียนและผู้ปกครอง
  • จัดเตรียมสถานที่และวัสดุ อุปกรณ์ต่าง สำหรับดำเนินการธนาคารขยะ

 

175 0

40. ค่าตอบแทนการประชุม

วันที่ 1 สิงหาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

การถอดบทเรียนครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ส.ค.64  การถอดบทเรียนครั้งที่ 1

 

0 0

41. ค่าตอบแทนการประชุม

วันที่ 8 สิงหาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

8 ส.ค.64 การถอดบทเรียนครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

8 ส.ค.64 การถอดบทเรียนครั้งที่ 2

 

0 0

42. กิจกรรมจัดทำสื่อเผยแพร่

วันที่ 8 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมภาพ และคลิปวิดีโอต่างๆจากผลการดำเนินการโครงการ เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดจ้างทำคลิปวิดีโอสำหรับเผยแพร่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.นักเรียนมีพฤติกรรมถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยตามหลัก 3 R
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะทำงานที่ประกอบด้วย (ผู้บริหารโรงเรียน/แกน นำครู/แกนนำนักเรียน/ผู้ปกครอง) 1.2คณะทำงานมีความรู้ ทักษะและตระหนักในเรื่องการจัดการขยะตามหลัก 3 R ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 ปริมาณการใช้กระดาษในสำนักงานลดลง 1.4 มีฐานข้อมูลเรื่องขยะ 1.5 ร้านค้าในโรงเรียนปลอดโฟม ร้อยละ 100 1.6 งานกิจกรรมของโรงเรียนปลอดโฟมและลดการใช้ขยะ พลาสติก
1.00 1.00

1.คณะทำงานประกอบด้วยกรรมการชุมชน,ตัวแทนคุ้มและผู้แทน อปท. ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน,ครู 9 คน นักเรียน 80 คน แกนนำอปท.3คน, อสม.2คน แกนนำชุมชน 10 คน 2.มีข้อตกลงการทำงานของคณะทำงานที่ชัดเจน มีข้อตกลงร่วมกัน5ข้อ 3.มีข้อตกลงการทำงานของคณะทำงานที่ชัดเจน มีข้อตกลงร่วมกัน5ข้อ 4.มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะ มีการเก็บข้อมูลปริมาณขยะ ก่อนและหลังเริ่มโครงการ 5.ร้านค้าในโรงเรียนปลอดโฟมร้อยละ100

2 2.เพื่อลดขยะมูลฝอย และแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคจากขยะมูลฝอยและสร้างความตระหนักในการร่วมมือ การคัดแยกขยะในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.1แกนนำนักเรียนมีสมรรถนะในการถ่ายทอดความรู้การกำจัดขยะมูลฝอยตามหลัก 3 R ต่อนักเรียน/ ชุมชน และติดตามพฤติกรรมการกำจัดขยะของเพื่อนนักเรียน/ชุมชนได้ 2.2 มีการดำเนินงานธนาคารขยะในโรงเรียน 2.3 นักเรียนได้จัดทำโครงงานเพื่อเรียนรู้ประโยชน์จากการกำจัดขยะจำนวน 7 โครงงานและนำเสนอโครงงานผ่านการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่นบอร์ดประชาสัมพันธ์ 2.4 จำนวนปริมาณขยะในบริเวณโรงเรียน ลดลงร้อยละ 30 2.5 จำนวนปริมาณขยะในชุมชนที่อยู่อาศัยของนักเรียน( ชุมชนหลุมถ่าน ) ลดลง ร้อยละ 30 2.6 มีครัวเรือนนักเรียนต้นแบบร้อยละ5จากกิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ 2.7 นักเรียนมีรายได้จากการคัดแยกขยะตามหลัก 3 R
1.00 1.00
  1. ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลงร้อยละ 30 2.ปริมาณขยะในชุมชนลดลงร้อยละ30
  2. มีการติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน 4.มีการดำเนินงานธนาคารขยะภายในโรงเรียนโดยแกนนำนักเรียนและมีการนำขยะมาฝากที่ธนาคาร ทำให้นักเรียนมีรายได้
  3. มีการดำเนินงานโครงงานจำนวน 7 โครงงานในโรงเรียนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู่ร่วมกับบุคคลภายนอก 6.มีครัวเรือนต้นแบบร้อยละ5(จำนวน3ครัวเรือน)จากกิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 60 75 80
กลุ่มเป้าหมายหลักได้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าข้าม 99 84
อปท. อสม. 6 6

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.นักเรียนมีพฤติกรรมถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยตามหลัก 3 R (2) 2.เพื่อลดขยะมูลฝอย และแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคจากขยะมูลฝอยและสร้างความตระหนักในการร่วมมือ การคัดแยกขยะในโรงเรียนและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานกลุ่มแกนนำ (2) ชื่อกิจกรรมที่ 8 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ (3) ชื่อกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ 2 ครั้ง (4) ชื่อกิจกรรมที่ 4  กิจกรรมโครงงานขยะ (5) ชื่อกิจกรรมที่ 1อบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และแกนนำ (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (7) ชื่อกิจกรรมที่7 กิจกรรมสู่ชุมชน (8) ชื่อกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ (9) ชื่อกิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงงาน และผลการดำเนินงาน (10) 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในโรงเรียน (11) 1.2 อบรมให้ความรู้ครู และบุคลากรเรื่องลดการใช้กระดาษในสำนักงาน โดยใช้เอกสารออนไลน์( Digital Textbook ) (12) 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการจัดการขยะตามหลักการจัดการขยะแบบ 3 R (13) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 1 (14) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 2 (15) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 3 (16) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 4 (17) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 5 (18) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 6 (19) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 7 (20) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 8 (21) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 9 (22) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน ครั้งที่ 10 (23) 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการทำโครงงานขยะ (24) กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ (25) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (26) กิจกรรมจัดทำสื่อเผยแพร่ (27) ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 1 (28) ชื่อกิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ ครั้งที่ 2 (29) ประชุมเวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ภูผายอด (30) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (31) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานส.1และการเงิน ง.1 (32) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (33) ค่าเดินทางประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 (34) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (35) ค่าเบี้ยเลี้ยงประชุมออนไลน์ (36) 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่1 (37) 7.2 กิจกรรมประชุมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่2 (38) 7.3 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่3 (39) 7.4 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะครั้งที่4 (40) 7.5 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่5 (41) 7.1 กิจกรรมประชุมชี้แจงธนาคารขยะ (42) 7.12 กิจกรรมจัดการขยะจากโรงเรียนสู่ชุมชนหลุมถ่าน (43) 7.6 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่6 (44) 7.7 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่7 (45) 7.11 กิจกรรมถุงผ้าลดโลกร้อน (46) 7.8 ติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่8 (47) 7.9 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่9 (48) 7.10 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานธนาคารขยะ ครั้งที่10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การขยายผลการดำเนินงานสู่ชุมชน โดยแกนนำนักเรียน (2) การประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายเพิ่มเติมเพื่อช่วยสนับสนุนเรื่องงบประมาณและความช่วยเหลือ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การจัดการขยะในชุมชน ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ แม้ว่าจะมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งจากในครัวเรือนแล้ว แต่ยังมีขยะส่วนนึงที่จะต้องส่งไปกำจัดยังไม่มีการจัดการแก้ปัญหาในส่วนนี้

ถังขยะสำหรับพักขยะก่อนนำไปกำจัดต่อ มีจำนวนน้อยเทียบกับจำนวนครัวเรือนในชุมชน

ได้มีการประสานไปยังผู้นำชุมชนเพื่อร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหา


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

รหัสโครงการ 63-00174-0001 ระยะเวลาโครงการ 5 กรกฎาคม 2020 - 10 ตุลาคม 2021

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

นักเรียน ครู และผู้ปกครองมีองค์ความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง จากผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม

รายงานการอบรมแกนนำ

ขยายผลต่อผู้ที่อาศัยในชุมชนมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

สิงประดิษฐ์จากวัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ จากโครงงานขยะของนักเรียนแต่ละระดับชั้น ได้แก่ โมบาย แจกัน จากขวดพลาสติก ที่รองจาน ดอกไม้ ผ้ากันเปื้อน จากถุงนม

ภาพถ่าย

สิ่งประดิษฐ์อื่นๆจากเศษวัสดุเหลือใช้ ที่สามารถเพิ่มมูลค่าได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กระบวนการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง จนกระทั่งจัดการขยะได้สำเร็จในปลายทาง

รายงานโครงการ/ภาพถ่าย

ดำเนินการต่อให้เกิดความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การวางแผนงานอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบตอ่อเนื่อง โดยการสร้างความเข้าใจร่วมกันกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถึงเป้าหมายที่จะจัดการขยะ

รายงานโครงการ/ภาพถ่าย

ตรวจสอบผลการดำเนินงาน นำปัญหาอุปสรรคมาวางแผนเพื่อเตรียมการดำเนินงานในโครงการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

การร่วมมือระหว่างโรงเรียน และชุมชน ในการจัดการขยะในกิจกรรม การติดตามการดำเนินงานนักเรียนแกนนำ บ้านหนูปลอดขยะ และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

รายงานโครงการ/ภาพถ่าย

ดำเนินงานอย่างต่อเนื่องให้เกิดความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

เป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการขยะสู่ชุมชน

ภาพถ่าย ชุมชนหลุมถ่าน ต.ท่าข้าม

ขยายผลในชุมชนหลุมถ่านทุกครัวเรือน และขยายสู่รร.อื่นๆใกล้เคียง

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

นักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้น ปัญหาเรื่องโรคผิวหนังลดลง อุบัติเหตุจากสัตว์มีพิษลดลง

บันทึกสุขภาพนักเรียน บันทึกการเบิกเงินประกันนักเรียน

การจัดการขยะในชุมชนที่มีผลต่อสุขภาพนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

กิจกรรมถุงผ้า ลดโลกร้อน มีการใช้ถุงผ้าในการใส่ของแทนถุงพลาสติก และงดใช้พลาสติก กล่องโฟมใส่อาหาร ในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมของโรงเรียน โดยมีการใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่ายและไม่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ใบตองห่อขนม และการให้นักเรียนนำแก้วน้ำมาใช้แทนการใช้แก้วพลาสติก

ภาพถ่าย

ขยายผลการดำเนินงานสู่ชุมชน และผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการจัดการคัดแยกและจัดการขยะในโรงเรียนและลดปริมาณการใช้กระดาษในงานเอกสารธุรการโรงเรียน

บันทึกการประชุมติดตามผลการดำเนินงานแกนนำนักเรียน

การขยายผลสู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

กิจกรรมธนาคารขยะ โดยนักเรียนนำขยะที่คัดแยกแล้วมาฝากที่ธนาคาร และเมื่อมีการจำหน่ายขยะของธนาคาร ก็จะมีเงินเข้าบัญชีที่ฝากไว้ และสามารถเบิกเงินไปใช้ได้ และมีการจ่ายค่าตอบแทนนักเรียนที่มาช่วยงานที่ธนาคารขยะตามชั่วโมงที่มาปฏิบัติงาน

สมุดฝากขยะ ,บัญชีรับ-จ่ายของธนาคาร

เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองหรือผู้สนใจในชุมชน เข้ามาเปิดบัญชีและฝากขยะกับธนาคารได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีการวางแผน และกติกาของกลุ่มแกนนำนักเรียนและเครือข่าย

บันทึกการประชุม

การสร้างกฎ กติกาการจัดการขยะในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

กิจกรรมบ้านหนูปลปอดขยะ คัดเลือกตัวแทนนักเรียนจำนวน 3 ครัวเรือน เพื่อช่วยกันถ่ายทอดองค์ความรู้และรณรงค์การคัดแยกขยะในชุมชน

ตัวแทนแกนนำนักเรียนครัวเรือนบ้านหนูปลอดขยะ ที่มีการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถเป็นแบบอย่างให้ครัวเรือนอื่นๆในชุมชนได้ จำนวน 3 ครัวเรือน

ตัวแทนแกนนำนักเรียนครัวเรือนบ้านหนูปลอดขยะ สามารถขยายผลโดยการชักชวนครัวเรือนอื่นๆมาร่วมเป็นเครือข่าย บ้านหนูปลอดขยะ เพิ่มเติม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

กิจจกรรมจัดการขยะสู่ชุมชน โดยมีการวางแผนการจัดการร่วมกับ ตัวแทนนักเรียน อสม. ตัวแทนในชุมชน และผู้นำชุมชน เพื่อสำรวจปัญหาและความต้องการ และมีการประสานขอความช่วยเหลือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

บันทึกการประชุม

การสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การแต่งคณะคณะทำงานโดยการคัดเลือกตัวแทนในชุมชน และอสม.ในพื้นที่ เพื่อช่วยประสานงานการดำเนินโครงการในชุมชน

บันทึการประชุม / คำสั่ง

การสร้างเครือข่ายในชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและการคัดแยกขยะไปขยายผลสู่ครอบครัว ผู้ปกครอง และนำไปปฎิบัติ

การสัมภาษณ์นักเรียน และติดตามประเมินผลในชุมชน

การขยายผลองค์ความรู้สู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

มีการจัดเก็บข้อมูลทั้งก่อนและหลังโครงการเพื่อวางแผนในการทำกิจกรรมต่างๆ

บันทึกข้อมูลปริมาณขยะ

ขยายผลกิจกรรมสู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

กิจกรรมบ้านหนูปลอดขยะ โดยการคัดเลือกตัวแทนแกนนำนักเรียนครัวเรือนบ้านหนูปลอดขยะ นักเรียนที่ได้รับคัดเลือกมีความภาคภูมิใจในตัวเอง

เกียรติบัตร

การสร้างเครือข่ายครัวเรือนนักเรียนเพิ่มเติม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การช่วยกันดูแล จัดการเรื่องขยธภายในโรงเรียน โดยการปลูกฝัง สร้างความตระหนักเรื่องการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและการช่วยกันดูแล รักษาความสะอาดภายในโรงเรียน เพื่อความปลอดภัยและสุขภาพของตัวนักเรียนในโรงเรียน

การสัมภาษณ์ ภาพกิจกรรม

การสร้างความตระหนักสำนึกสาธารณะให้กับคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

กิจกรรมกำจัดขยะในชุมชนหลุมถ่าน โดยการร่วมกับนักเรียน ผู้ปกครอง อสม. ผู้นำชุมชน ช่วยกันจัดการเก็บขยะในชุมชน ทุกบ้าน โดยไม่เลือกปฏิบัติเฉพาะบ้านตนเอง แต่ทุกคนช่วยกันเก็บกวาดทั้งที่บ้านตนเองและที่ส่วนรวม

ภาพถ่ายจากกิจกรรรม

การสร้างเครือข่ายการจัดการขยะของครัวเรือนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

รวมพลังชาวท่าข้ามลดขยะ แบบ “Banthakham Zero Waste” ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-00174-0001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกิตติมา มุ่งวัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด