directions_run

การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง ”

ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายพิศิษฎ์ ทองอ่อน

ชื่อโครงการ การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2563 ถึง 10 ตุลาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63001740012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีการขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลควนเมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถจัดการขยะ ในวัดและโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้สามารถจัดการขยะ ในวัดและโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  2. กิจกรรมที่ 1จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน
  3. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน
  4. กิจกรรมที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการธนาคารขยะ
  5. กิจกรรมที่ 4 จุดรวบรวมขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายแลกของใช้
  6. กิจกรรมที่ 5 การประเมินผล
  7. กิจกรรมที่ 6 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่
  8. บัญชีธนาคาร
  9. เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท
  10. ประชุมกลไกระดับจังหวัด การจัดการขยะอำเภอรัษฎา
  11. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 12
  12. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5
  13. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2
  14. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3
  15. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4
  16. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7
  17. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 14
  18. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนวัดควนเมา
  19. กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ประเมินผลโดยแบบสอบถาม
  20. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านหนองมวง
  21. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านไร่ใหญ่
  22. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านทุ่งสมอ
  23. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org
  24. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  25. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  26. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ
  27. เข้าร่วมกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความก้าวหน้า จากการดำเนินงานครั้งที่ 1 “หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้น (Node Flagship) จังหวัดตรัง ประเด็นการจัดการขยะ”
  28. กิจกรรมที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการธนาคารขยะ
  29. กิจกรรมที่ 4 จุดรวบรวมขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายแลกของใช้
  30. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 14
  31. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 5
  32. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 3
  33. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 7
  34. ถอดบทเรียนเพื่อยกระดับสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายระดับจังหวัดตรัง การจัดการขยะ
  35. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 4
  36. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 12
  37. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 2
  38. กิจกรรมย่อยที่ 5.3 กิจกรรมการถอดบทเรียน
  39. ประชุมติดตามการดำเนินโครงการ (ARE) และสรุปบทเรียน
  40. กิจกรรมที่ 6 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่
  41. ARE ขยะครั้งที่2
  42. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ 1,373 ครัวเรือน 3,448
วัดและโรงเรียน 700

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท

วันที่ 21 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและทำงานคณะ เข้าร่วมประชุมและทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ นำเสนอแผนการดำเนินโครงการในระยะเวลา 10 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความเข้าใจในการดำเนินโครงการ รวมถึงทราบหลักเกณฑ์ในการทำบัญชีการเงิน

 

3 0

2. ประชุมกลไกระดับจังหวัด การจัดการขยะอำเภอรัษฎา

วันที่ 5 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เวทีรายงานความก้าวหน้าโครงการการจัดการขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานรายละเอียดโครงการ และแผนการดำเนินงานใน 10 เดือน

 

5 0

3. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 12

วันที่ 7 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำของหมู่ที่ 12 ในการคัดแยกขยะ การจัดการขยะแต่ละประเภท รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการธนาคารขยะของหมู่บ้าน เพื่อสร้างความยั่งยืนในการจัดการขยะของหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำหมู่บ้านเข้าร่วมการอบรบการให้ความรู้การคัดแยกขยะและการบริหารจัดการธนาคารขยะ จำนวนทั้งสิ้น 20 คน ประกอบด้วย
แกนนำ ที่มาจาก อสม 3 คน, รพ.สต. 1 คน , ผู้นำชุมชน 13 คน, ตัวแทนร้านค้า 2 คน ตัวแทนครูโรงเรียน 1 คน

 

20 0

4. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5

วันที่ 10 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน ในการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการแยกตามประเภท และสามารถจัดการตามประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง และสามารถแนะนำครัวเรือนใกล้เคียงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำหมู่บ้านเข้าร่วมการอบรบการให้ความรู้การคัดแยกขยะและการบริหารจัดการธนาคารขยะ จำนวนทั้งสิ้น 20 คน ประกอบด้วย
แกนนำ ที่มาจาก อสม 3 คน, รพ.สต. 1 คน , ผู้นำชุมชน 13 คน, ตัวแทนร้านค้า 2 คน ตัวแทนครูโรงเรียน 1 คน

 

20 0

5. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน ในการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการแยกตามประเภท และสามารถจัดการตามประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง และสามารถแนะนำครัวเรือนใกล้เคียงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำหมู่บ้านเข้าร่วมการอบรบการให้ความรู้การคัดแยกขยะและการบริหารจัดการธนาคารขยะ จำนวนทั้งสิ้น 20 คน ประกอบด้วย
แกนนำ ที่มาจาก อสม 3 คน, รพ.สต. 1 คน , ผู้นำชุมชน 13 คน, ตัวแทนร้านค้า 2 คน ตัวแทนครูโรงเรียน 1 คน

 

20 0

6. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3

วันที่ 17 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน ในการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการแยกตามประเภท และสามารถจัดการตามประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง และสามารถแนะนำครัวเรือนใกล้เคียงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นกิจกรรม การอบรมให้ความรู้ แก่แกนนำของหมู่บ้าน ให้มีความรู้ในการคัดแยกขยะ การจัดการขยะตามประเภท อย่างถูกต้อง และเกิดความต่อเนื่อง โดยการมีการจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้าน

 

20 0

7. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน ในการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการแยกตามประเภท และสามารถจัดการตามประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง และสามารถแนะนำครัวเรือนใกล้เคียงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นกิจกรรม การอบรมให้ความรู้ แก่แกนนำของหมู่บ้าน ให้มีความรู้ในการคัดแยกขยะ การจัดการขยะตามประเภท อย่างถูกต้อง และเกิดความต่อเนื่อง โดยการมีการจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้าน

 

20 0

8. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน ในการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการแยกตามประเภท และสามารถจัดการตามประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง และสามารถแนะนำครัวเรือนใกล้เคียงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นกิจกรรม การอบรมให้ความรู้ แก่แกนนำของหมู่บ้าน ให้มีความรู้ในการคัดแยกขยะ การจัดการขยะตามประเภท อย่างถูกต้อง และเกิดความต่อเนื่อง โดยการมีการจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้าน

 

20 0

9. กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 14

วันที่ 25 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน ในการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการแยกตามประเภท และสามารถจัดการตามประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง และสามารถแนะนำครัวเรือนใกล้เคียงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นกิจกรรม การอบรมให้ความรู้ แก่แกนนำของหมู่บ้าน ให้มีความรู้ในการคัดแยกขยะ การจัดการขยะตามประเภท อย่างถูกต้อง และเกิดความต่อเนื่อง โดยการมีการจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้าน

 

20 0

10. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนวัดควนเมา

วันที่ 28 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้สามารถคัดแยกขยะ รู้วิธีการจัดการขยะ ตามประเภท ได้อย่างถูกต้อง และมีการประเมินผลโดยใช้แบบคำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินผลกิจกรรม ผ่านแบบคำถาม เป็นการวัดผล การดำเนินการ สรุปได้ว่า เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะ รู้ถึงผลดี ผลเสีย และผลกระทบ หากจัดการขยะไม่ถูกวิธี

 

250 0

11. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านหนองมวง

วันที่ 14 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้สามารถคัดแยกขยะ รู้วิธีการจัดการขยะ ตามประเภท ได้อย่างถูกต้อง และมีการประเมินผลโดยใช้แบบคำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินผลกิจกรรม ผ่านแบบคำถาม เป็นการวัดผล การดำเนินการ สรุปได้ว่า เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะ รู้ถึงผลดี ผลเสีย และผลกระทบ หากจัดการขยะไม่ถูกวิธี

 

48 0

12. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านไร่ใหญ่

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้สามารถคัดแยกขยะ รู้วิธีการจัดการขยะ ตามประเภท ได้อย่างถูกต้อง และมีการประเมินผลโดยใช้แบบคำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินผลกิจกรรม ผ่านแบบคำถาม เป็นการวัดผล การดำเนินการ สรุปได้ว่า เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะ รู้ถึงผลดี ผลเสีย และผลกระทบ หากจัดการขยะไม่ถูกวิธี

 

54 0

13. กิจกรรมย่อยที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านทุ่งสมอ

วันที่ 16 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้สามารถคัดแยกขยะ รู้วิธีการจัดการขยะ ตามประเภท ได้อย่างถูกต้อง และมีการประเมินผลโดยใช้แบบคำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินผลกิจกรรม ผ่านแบบคำถาม เป็นการวัดผล การดำเนินการ สรุปได้ว่า เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะ รู้ถึงผลดี ผลเสีย และผลกระทบ หากจัดการขยะไม่ถูกวิธี

 

44 0

14. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org

วันที่ 9 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน ประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้การจัดทำรายงานความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความรู้ในการรายงานผลการดำเนินโครงการผ่านระบบ www.happynetwork.org

 

2 0

15. เข้าร่วมกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความก้าวหน้า จากการดำเนินงานครั้งที่ 1 “หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้น (Node Flagship) จังหวัดตรัง ประเด็นการจัดการขยะ”

วันที่ 15 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความก้าวหน้า จากการดำเนินงานครั้งที่ 1 “หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้น (Node Flagship) จังหวัดตรัง ประเด็นการจัดการขยะ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้า การดำเนินงานตามผลลัพธ์ตามบันไดผลลัพธ์ ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ และการขับเคลื่อนงานร่วมกับภาคียุทธศาสตร์อื่น และร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ บทเรียนปัญหาอุปสรรค และเงื่อนไขข้อจำกัด ในการดำเนินงานที่ผ่านมาและนำมาปรับปรุงวางแผนการดำเนินงานของหน่วยจัดการในระยะเวลาโครงการที่เหลืออยู่

 

2 0

16. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 17 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อประชาสัมพันธ์ให้พื้นที่ตำบลควนเมา เป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

0 0

17. กิจกรรมที่ 4 จุดรวบรวมขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายแลกของใช้

วันที่ 1 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมส่งเสริมการจัดการขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย โดยการเสริมพลัง ให้มีการรวบรวมขยะอันตรายและขยะรีไซเคิลให้มากขึ้น โดยมีกิจกรรมขยะอันตรายแลกของใช้ และมีจุดรวบรวมขยะรีไซเคิล จำนวน 5 จุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรวบรวมขยะอันตราย และขยะรีไซเคิล เพิ่มมากขึ้น

 

3,000 0

18. กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ประเมินผลโดยแบบสอบถาม

วันที่ 3 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบสอบถาม ในการสำรวจ การจัดการขยะของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 140 ครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสำรวจ พบว่า ครัวเรือนรู้จักประเภท และวิธีการจัดการขยะ แต่ยังมีการใช้โฟม และถุงพลาสติก

 

140 0

19. กิจกรรมที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการธนาคารขยะ

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

โดยการนำคณะกรรมการธนาคารขยะ จำนวน 7 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน พร้อมด้วย คณะกรรมการอีก 2 คน รวมเป็น 37 คน เดินทาง จากที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลควนเมา สู่  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมดตะนอย เวลา 10.00 น. รับฟังคำบรรยายจาก เกี่ยวกับการจัดการขยะภายใน ตำบลเกาะลิบง ชุมชนมดตะนอย เวลา 11.00 น. เดินทางสู่ชุมชนในเขตตำบลเกาะลิบง ณ ศูนย์เรียนรู้ต่าง ๆ ดังนี้ ฐานเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์ ฐานเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะรีไซเคิล
เวลา 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 น. ฐานเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอันตราย  ฐานเรียนรู้ธนาคารขยะ (การจัดการขยะรีไซเคิล) ฐานเรียนรู้สิ่งประดิษฐ์จากขยะทั่วไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการธนาคารขยะ  ได้มีการนำตัวอย่าง การจัดการขยะตำบลเกาะลิบง มาปรับใช้ในตำบลควนเมา เกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์  การจัดการขยะรีไซเคิล การจัดการขยะอันตราย  ฐานเรียนรู้ธนาคารขยะ (การจัดการขยะรีไซเคิล) ฐานเรียนรู้สิ่งประดิษฐ์จากขยะทั่วไป

 

50 0

20. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 14

วันที่ 18 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

21. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 5

วันที่ 19 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

22. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 3

วันที่ 30 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

23. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 7

วันที่ 7 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

24. ถอดบทเรียนเพื่อยกระดับสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายระดับจังหวัดตรัง การจัดการขยะ

วันที่ 7 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ถอดบทเรียนเพื่อยกระดับสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายระดับจังหวัดตรัง การจัดการขยะ ณ ทรายทองบีชรีสอร์ท ต.เกาะสุกร อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่วมกับกลุ่ม อื่น ๆ ในจังหวัดตรัง ซึ่งดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการขยะ ในพื้นที่จังหวัดตรัง

 

1 0

25. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 4

วันที่ 9 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

26. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 12

วันที่ 19 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

27. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

วันที่ 25 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำชุดนิทรรศการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำชุดนิทรรศการ

 

0 0

28. กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน หมู่ที่ 2

วันที่ 26 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากการประเมินผลโครงการ เรียบร้อยแล้ว จึงนำผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม คืนข้อมูลแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน และการคืนข้อมูลจากการประเมินผลของโครงการ

 

20 0

29. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 20 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่า internet และโทรศัพท์ สำหรับการประสานงานในกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าโทรศัพท์และอินเทอร์เน็ต จำนวน 10 เดือน

 

0 0

30. กิจกรรมย่อยที่ 5.3 กิจกรรมการถอดบทเรียน

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมสรุปผลการดำเนินการตามโครงการ ความเป็นมา สถานการณ์ ปัญหาการจัดการขยะในพื้นที่ตำบลควนเมา การขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่ ความสำเร็จ ความพึงพอใจในการดำเนินงานขับเคลื่อน ปัญหาอุปสรรค แนวทางการแก้ไข และ แนวทางการพัฒนา การใช้ประโยชน์ โดยมีวิทยากร คือ นางเอมอร แสนดี หัวหน้าสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลควนเมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการสรุปผลการดำเนินการโครงการฯ สำเร็จ ในเรื่องการจัดการขยะ ในวัด ไม่สำเร็จ ในเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือน การตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้าน มีปัญหาอุปสรรคอันเนื่องมาจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรนา (COVID-19) และผลที่ได้จากการไม่ได้คาดหมาย คือ การไม่โรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา

 

40 0

31. ประชุมติดตามการดำเนินโครงการ (ARE) และสรุปบทเรียน

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

สรุปกิจกรรมการดำเนินโครงการ การถอดบทเรียนเพื่อการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานสามารถสะท้อนข้อมูลการดำเนินโครงการ สรุปปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงาน แนวทางการดำเนินการในอนาคต

 

2 0

32. กิจกรรมที่ 6 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่

วันที่ 1 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คลิปสั้นความยาว 3 นาที

 

16 0

33. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินผู้จัดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

0 0

34. ARE ขยะครั้งที่2

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายงานการดำเนินโครงการ การสะท้อนผลลัพธ์กับ Node Flagship ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานเสนอความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ สรุปผลการดำเนินกิจกรรม ตลอดระยะเวลา 10 เดือน

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีการขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลควนเมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถจัดการขยะ ในวัดและโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะกรรมการจัดการหมู่บ้าน จำนวน 7 หมู่บ้าน 1.2 มีการจัดการขยะรีไซเคิล อย่างน้อย ปีละ 4 ครั้ง
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้สามารถจัดการขยะ ในวัดและโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 สามารถจัดการขยะในวัดและโรงเรียน เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4148
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ 1,373 ครัวเรือน 3,448
วัดและโรงเรียน 700

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีการขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลควนเมาอย่างต่อเนื่อง  เพื่อให้สามารถจัดการขยะ ในวัดและโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้สามารถจัดการขยะ ในวัดและโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (2) กิจกรรมที่ 1จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน (3) กิจกรรมที่ 2  อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน (4) กิจกรรมที่ 3  เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการธนาคารขยะ (5) กิจกรรมที่ 4  จุดรวบรวมขยะรีไซเคิล  และขยะอันตรายแลกของใช้ (6) กิจกรรมที่ 5  การประเมินผล (7) กิจกรรมที่ 6 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ (8) บัญชีธนาคาร (9) เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท (10) ประชุมกลไกระดับจังหวัด การจัดการขยะอำเภอรัษฎา (11) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 12 (12) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 (13) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 (14) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 (15) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 (16) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 (17) กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับแกนนำหมู่บ้าน หมู่ที่ 14 (18) กิจกรรมย่อยที่ 2  อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนวัดควนเมา (19) กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ประเมินผลโดยแบบสอบถาม (20) กิจกรรมย่อยที่ 2  อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านหนองมวง (21) กิจกรรมย่อยที่ 2  อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านไร่ใหญ่ (22) กิจกรรมย่อยที่ 2  อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านทุ่งสมอ (23) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org (24) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (25) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (26) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (27) เข้าร่วมกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความก้าวหน้า จากการดำเนินงานครั้งที่ 1 “หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้น (Node Flagship) จังหวัดตรัง ประเด็นการจัดการขยะ” (28) กิจกรรมที่ 3  เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการธนาคารขยะ (29) กิจกรรมที่ 4  จุดรวบรวมขยะรีไซเคิล  และขยะอันตรายแลกของใช้ (30) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 14 (31) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 5 (32) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 3 (33) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 7 (34) ถอดบทเรียนเพื่อยกระดับสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายระดับจังหวัดตรัง การจัดการขยะ (35) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 4 (36) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 12 (37) กิจกรรมย่อยที่ 5.2 จัดเวทีคืนข้อมูลแก่หมู่บ้าน  หมู่ที่ 2 (38) กิจกรรมย่อยที่ 5.3 กิจกรรมการถอดบทเรียน (39) ประชุมติดตามการดำเนินโครงการ (ARE) และสรุปบทเรียน (40) กิจกรรมที่ 6 การจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ (41) ARE ขยะครั้งที่2 (42) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และตามคำสั่งจังหวัดตรัง ที่ 2879/2564 เรื่อง มาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2564  ข้อ8.2 ห้ามการจัดกิจกรรมซึ่งมีการรวมกลุ่มของบุคคลที่มีจำนวนรวมกันมากกว่ายี่สิบคน เว้นแต่ กิจกรรมหรือการรวมกลุ่มของบคุคลดังต่อไปนี้สามารถจัดได้ แต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคที่ทางราชการกำหนดอย่างเคร่งครัด (6) กิจกรรมที่ดำเนินโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเป็นกิจกรรมที่จัดโดยองค์กรหรือหน่วยงานของรัฐ (6.1) กรณีการรวมกลุ่มของบุคคลที่มีจำนวนรวมกันไม่เกินหนึ่งร้อยคน ต้องได้รับการอนุมัติโดยหัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด หรือนายอำเภอ (ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคอำเภอ ศปก.อำเภอ)
เนื่องจากสถานการณ์โรค ทำให้ไม่สามารถดำเนินการตามโครงการได้ และสามารถดำเนินการได้บางส่วน เช่นการจัดการขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย

เนื่องจากไม่มีการรวมตัวกัน

การจัดการขยะอันตราย มีข้อเสนอแนะ ว่า ควรเพิ่มจุดให้มีมากยิ่ง ประชาชน สามารถเข้าถึงได้มากขึ้น เช่น ร้านค้าในชุมชน


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง

รหัสโครงการ 63001740012 ระยะเวลาโครงการ 5 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก ถึงความสำคัญ ของการขยะ

ถนน บ้านเรือน สะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก

ขยายผลไปยังหมู่บ้านใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีจุดรวบรวมขยะอันตราย

ภาพการจัดการขยะอันตราย

เพิ่มจำนวน ในการรวบรวมขยะอันตรายให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดกระบวนการจัดการขยะ ครบวงจร

บ้านเรือนสะอาด ปราศจากขยะ

เพิ่มจำนวน ครัวเรือน ในการส่งขยะรีไซเคิลรวบรวมให้มากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เกิดการรวมกลุ่ม ในหมู่บ้าน ในการจัดการขยะ อย่างจริงจัง

ผู้นำ เห็นความสำคัญของการจัดการขยะ

เพิ่มจำนวน ครัวเรือนในการจัดการขยะให้เพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ชุมชน มีการตื่นตัว ในการจัดการขยะ ในหมู่บ้านของตนเอง เข้าข่ายลักษณะ ชุมชนจัดการตนเอง

ครัวเรือน ชุมชน ถนน สะอาด ปราศจากขยะ

เพิ่มความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ชุมชน มีศาลาเอนกประสงค์ เป็นที่ประชุม เป็นศูนย์เรียนรู้ และเป็นศูนย์กลาง ของหมู่บ้าน

ทุกหมู่บ้าน มีศาลาเอนกประสงค์ เป็นจุดศูนย์กลาง

พัฒนาให้มีความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

เกิดการเรียนรู้ มีจิตสำนึก มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก ถึงความสำคัญ ของการจัดการขยะ รู้ถึงปัญหา หากมีการจัดการไม่ถูกวิธี

หมู่บ้าน ชุมชน สะอาด

ขยายไปยังครัวเรือน ชุมชน และหมู่บ้านอื่น ๆ

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ทำให้ ส่วนบุคคล มีวินัย ในตนเอง ขยะเกิดขึ้นเอง จัดการเอง

บ้านเรือนสะอาด

เพิ่มความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การลดใช้โฟม การลดใช้ถุงพลาสติก

มีร้านค้าในชุมชน เป็นร้านค้าปลอดโฟม

เป็นการพัฒนาการบริโภคให้มีความยั่งยืน จนเป็นวิถีชีวิต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการรวมกลุ่มในการจัดเก็บขยะริมถนนสองข้างทางในตอนเช้า

ถนนสะอาด

ขยายไปยังถนนสายอื่น ๆ เพิ่มจำนวนสายของถนน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

เกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ในการจัดการขยะในครัวเรือน

บ้านเรือนสะอาด

เกิดการรวมกลุ่มในการจัดการขยะ ไม่มีเวลาไปยุ่งเกียวกับอบายมุข

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

มีสติ มีสมาธิ ในการแยกประเภทของขยะ มีการคิด วิเคราะห์ ประเภทของขยะ

มีการรวมกลุ่มจัดการขยะรีไซเคิล

มีจำนวนสมาชิกในการจัดการขยะ รีไซเคิล มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีวิถีชีวิต ประจำวัน ในการจัดการขยะ ทุกครั้ง ทุกชิ้น

มีสุขภาพ สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ของครัวเรือน และชุมชน

บ้านเรือนสะอาด ปราศจากโรค

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการขยะในครัวเรือน และชุมชน ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีในครัวเรือน และชุมชน

ครัวเรือนสะอาด บ้านเรือนสะอาด

พัฒนาต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนตลอดไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

การจัดการขยะที่ดี ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ด้านสุขภาพแน่นอน ทำให้บ้านเรือนปลอดโปร่ง โล่ง สบาย น่าอยู่ ชุมชน สะอาด ปราศจากขยะ และโรคภัยต่าง ๆ มากมาย เช่นไข้เลือดออก ท้องร่วง โรคที่เกิดจากสัตว์ มากมาย

หลักฐานยืนยัน จากหน่วยงานสาธารณสุข ในปีที่แล้ว ในตำบลควนเมา ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก

สร้างให้เกิดความยั่งยืน และต่อเนื่อง

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การจัดการขยะ คือการจัดอนามัยสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว มีผลดีต่อสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ลดอัตราการป่วย

หลักฐานยืนยัน จากหน่วยงานสาธารณสุข ในปีที่แล้ว ในตำบลควนเมา ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก

สร้างให้เกิดความยั่งยืน และต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การจัดการขยะในครัวเรือน และชุมชน ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีในครัวเรือน และชุมชน

ครัวเรือนสะอาด บ้านเรือนสะอาด ชุมชนสะอาด

ขยายไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การจัดการขยะที่ดี จะสามารถเพิ่มรายได้ ให้แก่ครัวเรือน

มีการซื้อ-ขาย ขยะรีไซเคิล ในหมุ่บ้าน

เพิ่มจำนวนครัวเรือน ในการจัดการขยะให้เพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกติกา ของหมู่บ้าน ในการจัดการขยะ

ระเบียบของหมู่บ้าน

ให้ทุกหมู่บ้าน มีเช่นเดิยวกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

หมู่ที่ 7 ตำบลควนเมา มีการใช้มาตรการทางสังคม หากครัวเรือน ไม่มีการจัดการขยะ จะไม่ให้มีการกู้ยืมเงินของหมู่บ้าน

กติกาของหมู่บ้าน

ให้หมู่บ้านอื่น ใช้เป็นแนวทาง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

มีกฎ กติกาของหมู่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

อบต.ควนเมา มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเรียบร้อยแล้ว

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน มีการวางแผน การเรียนรู้ ร่วมกัน

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน ทำให้เกิดความภูมิใจการจัดการ หมู่บ้านของตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน ทำให้เล็งเห็นประโยชน์ร่วมกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เมื่อเกิดการรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน ทำให้เกิดความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน ทำให้เกิดกระบวนการตัดสินใจ ในระบบกลุ่ม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

การรวมกลุ่มด้วยกันในชุมชน ทำให้เกิดกระบวนการทำงาน ในระบบกลุ่ม มีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

 

 

การจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ต.ควนเมา อ.รัษฎา จ.ตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิศิษฎ์ ทองอ่อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด