แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : 1.1มีคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจเป็นแก่นนำในการขับเคลื่อนการรองรับเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยได้ 1.2 มีข้อมูลการกลุ่มเป้าชัดเจนถูกต้องและสามารถเข้าร่วมกิจกรรมเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 1.3 กลุ่มเป้าหมายสมัครเป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการตำบล/กลุ่มออมทรัพย์/สถาบันการเงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 1.4 มีการดูแลและช่วยได้รับการช่วยเหลือในการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 1.5 มีหมู่บ้านต้นแบบรองรับสังคมผู้สูงวัยอย่างน้อย 2 หมู่บ้าน 1.6 ผู้สูงอายุติดเตียงติดบ้านได้รับการดูแลและเอาใจใสทั่วถึง ร้อยละ 100
0.00 18.00

 

 

  1. ได้มีการพัฒนาความรุ้ความเข้าใจให้กับคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสุูงวัย 1.1ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีความรู้ความเข้าใจและสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสุงวัยร่วมกับกลุ่มเป้าหมายและแกนนำได้ 1.2 ได้สำรวจข้อมูลเชิงลึกทั้ง 4 มิติกับประชาชนกลุ่มเป้าหมายเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการขับเคลื่อนกิจกรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้สนปรับสภาพแวดล้อม ด้านสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมมากขึ้นเกินร้อยละ 50 1.3 กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรม การออมเงินด้วยสถาบันการเงิน กับธ.ก.ศ. จำนวน 341 ราย คิดเป็นร้อยละ 64 1 1.4 มีกิจกรรมและโครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและมีงบประมาณ จาก พม.จ. สภาองค์กรชุมชน กาชาด อบต. ช่วยเหลือในการปรับสภาพที่อยุ่อาศัยให้กับผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่มี เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ของกลุ่มเป้าหมาย 1.5 มีการประกวดครัวเรือนต้นแบบเป็นแบบอย่างให้กับประชาชนในพื้นที่ ทุกหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 6 ครัวเรือน 1.6 มีการจัดกิจกรรมของโรงเรียนผู้สุงอายุ มีการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง โดยทีม CG และอาสาบริบาล อย่างทั่วถึงทุกครัวเรือนที่เป็นผู้ป่วยติดบ้านติดเตี
2 เพื่อส่งเสริมให้มีนโยบายรองรับกิจกรรมการพัฒนาเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 2.2 กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น ร้อยละ 50 2.3 กลุ่มเป้าหมายและผู้สูงวัยได้มีการปรับสภาพที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2.4 กลุ่มเป้าหมายและผู้สูงวัยได้มีการออมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2.5 ผู้สูงวัยผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ได้รับการดูแลและตรวจเยี่ยมจาก CARE GIVER และกองทุนหลักประกันสุขภาพ Long term Care 2.6 มีแผนงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแผนพัฒนาท้องถิ่น และหรือกองทุนสุขภาพตำบล
0.00 0.00

 

 

2.องค์การบริหารส่วนตำลบางด้วน ได้จัดทั้งงบประมาณ ในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสุงวัย หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ให้ความสำคัญขับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสุงวัย 2.1 ประชาชนมีความเข้าใจถึงสังคมสุงวัย และมีความคิดในการเตรียมตนเองเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบุรณ์เกินร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมาย 2.2 ทีม อสม. และ รพสต.บางด้วน ได้ส่งเสริมการออกกำลังกายครบคลุมทุกพื้นที่มีการประกวดการอออกกกำลังกายโดยใช้งบประมาณ ของ สปสช. มีประชาชนและกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายร้อยละ 80 2.3 กลุ่มเป้าได้ให้ความสำคัญของการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้นเพื่อความปลอดภัยของตนเองและคนในครอบครัว หน่วยงานภาครัฐได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้กับประชาชนเพิ่มมาก 2.4 การออมประชาชนและกลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญได้นำเงินมาฝากกับธนาคาร
ธกส. เพิ่มมากขึ้นโดยมีการนำฝากทุกเดือน 2.5 ผู้สุงอายุและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้รับการดูและเอาใจใสจากทีม CARE GIVER และ อาสาบริบาล และได้มีการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ให้กับผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง โดยให้งบ LONG TERM CARE 2.6 อบต. บางด้วนได้นำโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัยบรรจไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น และข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2565 และงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองคืการบริหารส่วนตำบลบางด้วน