แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง ”

ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ ประดับวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง

ที่อยู่ ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740018 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2563 ถึง 10 ตุลาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อพัฒนากลไกการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง (2) 2.เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานอย่างน้อย 5 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. (4) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5) กิจกรรมย่อยที่ 1 ประชุมคณะทำงาน (6) กิจกรรมย่อยที่ 2 ประชุมคณะทำงาน (7) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมคณะทำงาน (8) กิจกรรมย่อยที่ 4 ประชุมคณะทำงาน (9) กิจกรรมย่อยที่ 5 ประชุมคณะทำงาน (10) กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (11) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org (12) 2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (13) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1( ก.ค.-พ.ย.63) (14) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (15) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (16) อบรมเชิงปฏิบัติการช่างอาสาและช่างท้องถิ่นการปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ (17) เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง (18) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 2 ( 1ธ.ค.63-พ.ค.64) (19) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (20) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3 ( 30เม.ย.-30พ.ค.64) (21) กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 1 (22) กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 2 (23) กิจกรรมที่ 4 การจัดทำธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง (24) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรม การสร้างครัวเรือนต้นแบบสู่การพัฒนาเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง (25) กิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยการปรับสภาพบ้านเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลบางกุ้ง (26) กิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (มิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ) (27) กิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ (28) กิจกรรมที่ 6 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การดำเนินการค่อนข้างมีปัญหาอุปสรรค ในขั้นตอนกระบวนการทำงาน เนื่องจากปัญหาจากโรคระบาดในชุมชน สังคม แต่ได้รับการแก้ปัญหาของสถานการณ์ดังกล่าว ให้มีการยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนแผนการทำงาน และขยายระยะเวลาดำเนินโครงการฯ ทำให้การดำเนินการบางกิจกรรมดำเนินการไปได้ เช่นกิจกรรม ปรับสภาพแวดล้อมที่ไม่ให้เกิดการรวมตัวของประชาชนจำนวนมาก แต่ประสบปัญหาเรื่องการใช้จ่ายที่เป็นค่าวัสดุ ไม่เกินร้อยละ 20 ของโครงการ ข้อเสนอแนะเรื่องการกำหนดการใช่จ่ายค่าวัสดุ ควรกำหนดมากกว่านี้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง มีพื้นที่ 37.2 ตารางกิโลเมตร จำนวนประชากร 4,218 คน ประกอบไปด้วย 9 หมู่บ้าน มีสถานศึกษาโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 3 โรง โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาจำนวน 1 โรง มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 1 ศูนย์ มีวัด จำนวน 2 แห่ง มีศูนย์ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และพัฒนาอาชีพผู้สูงอายุ จำนวน 1 แห่ง มีชมรมผู้สูงอายุ มีระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Long Term Care: LTC)มี Care giver จำนวน 6 คน มีกลุ่มและองค์กรชุมชนต่างๆ มีองค์การบริหารส่วนตำบลบางกุ้ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาวง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหนือคลอง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาเป็นค้าขาย และรับจ้าง ปัจจุบันมีผู้สูงอายุจำนวน 565 ราย มีประชาชนมีอายุ 50-59 ปี จำนวน 435คน มีผู้พิการจำนวน 142 คน ซึ่งประชากรที่จะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย ณ ปัจจุบันประมาณร้อยละ 23 และในอีก 10 ปีข้างหน้ามีอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุเกินร้อยละ 10 จากข้อมูลการสำรวจทางด้านสาธารณสุขพบว่าประชาชนในกลุ่มผู้สูงอายุและวัยทำงาน มีโรคประจำตัว เช่น ความดัน เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจฯลฯ จำนวน 339 ราย คิดเป็นร้อยละ 60 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดของตำบลบางกุ้ง 565 คน มีผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 14 ราย ผู้สูงอายุติดบ้าน จำนวน 50 ราย มีสาเหตุจากการไม่ได้ดูแลสุขภาพ เช่น ออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร พฤติกรรมการบริโภค การหกล้มในห้องน้ำ เมื่อเข้าสู่วัยชรามีรายได้ไม่เพียงพอ ขาดการออมเงิน และต้องรับภาระในการเลี้ยงดูหลานที่ลูกทิ้งไว้ ประกอบกับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสม มีความเสี่ยงต่อการดำรงชีพ จากการดำเนินงานที่ผ่านมาของชมรมผู้สูงอายุตำบลบางกุ้ง มีการขับเคลื่อนการเตรียมการรองรับสังคมผู้สูงวัยร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางกุ้งอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เป็นเป้าหมายหลัก และขยายฐานสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีอายุตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไปเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ปัจจุบันมีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 300 คน มีคณะกรรมการชมรมฯจำนวน 28 คน มีการจัดโรงเรียนผู้สงอายุจำนวน 1 รุ่น มีนักเรียนจำนวน 50 คน มีการออมเงินของชมรมผู้สูงอายุมีจำนวน สมาชิก 123 คน มีเงินออมเป็นเงิน 156,000 บาท(เก็บทุกวันที่ 9 ของเดือน) มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆมาอย่างต่อเนื่อง โดยงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลบางกุ้ง ในการศึกษาดูงานกล่มผู้สูงอายุ การส่งเสริมอาชีพกลุ่มผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง การออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจสุขภาพฟัน การปรับสภาพบ้านให้เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ การปรับสภาพห้องน้ำ การปรับแสงสว่างให้เพียงพอ การติดตั้งราวจับ การจัดสุขาพาสุข และการขอรถเข็นเพื่อความสะดวกของผู้สูงอายุ ดังนั้น การจัดทำโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยของตำบลบางกุ้ง จึงเป็นกระบวนการสร้างการเรียนรู้ให้ผู้นำและประชาชนในกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่อายุ 40 ปี ขึ้นไป ได้รับรู้สถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลง และรับรู้ถึงการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย ตามสภาพปัญหาต่างๆ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสภาพแวดล้อม ที่จะต้องเตรียมการรองรับสังคมผู้สูงวัย ให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่มีโรคภัย มีเงินออม มีลูกหลานดูแลเอาใจใส่ มีที่อยู่อาศัยที่มั่นคงและเหมาะสม มีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ โดยใช้ต้นทุนจากชุมชนเป็นหลัก เพื่อสร้างความยั่งยืน และสามารถถ่ายทอดไปสู่บุตรหลานได้ เป็นการสร้างจิตสำนึกดีในการดูแล ไม่ทอดทิ้ง ให้กลายเป็นพฤติกรรมของครอบครัวและชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อพัฒนากลไกการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง
  2. 2.เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานอย่างน้อย 5 ครั้ง
  3. กิจกรรมที่ 2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม.
  4. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  5. บัญชีธนาคาร
  6. กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  7. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org
  8. กิจกรรมย่อยที่ 1 ประชุมคณะทำงาน
  9. กิจกรรมย่อยที่ 2 ประชุมคณะทำงาน
  10. 2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  11. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1( ก.ค.-พ.ย.63)
  12. กิจกรรมที่ 4 การจัดทำธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง
  13. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรม การสร้างครัวเรือนต้นแบบสู่การพัฒนาเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง
  14. กิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยการปรับสภาพบ้านเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลบางกุ้ง
  15. กิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (มิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ)
  16. กิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ
  17. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 1
  18. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมคณะทำงาน
  19. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  20. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ
  21. กิจกรรมที่ 6 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
  22. กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 2
  23. กิจกรรมย่อยที่ 4 ประชุมคณะทำงาน
  24. อบรมเชิงปฏิบัติการช่างอาสาและช่างท้องถิ่นการปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
  25. กิจกรรมย่อยที่ 5 ประชุมคณะทำงาน
  26. เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง
  27. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 2 ( 1ธ.ค.63-พ.ค.64)
  28. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  29. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3 ( 30เม.ย.-30พ.ค.64)
  30. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 20
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ประชาชนอายุทั่วไป 40-59 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ขออนุมัติเดินทางไปราชการ
  • ตอบแบบตอบรับเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศ
  • เข้าประชุมปฐมนิเทศ วันที่ 30 กรกฎาคม 2563 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ภูผายอดรีสอร์ท อ.ห้วยยอด จ.ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นายสมบูรณ์ ประดับวงศ์ ประธานคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง พร้อมด้วย นางสาวกชกาญจน์ ทองใบ คณะทำงาน/เลขานุการ นางสาวบุษรา คเชนทร์มาศ เหรัญญิก เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศ ในวันเวลาและสถานที่ดังกล่าว
  • กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ทำความรู้จัก สร้างความสามัคคี ในแต่ละพื้นที่
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการฯ จัดทำบันไดผลลัพธ์ในแต่ละพื้นที่ ในวันที่วันที่ 30 กรกฎาคม 2563
  • ตัวแทนคณะทำงานมีความเข้าใจบทบาทและวิธีทำงานกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ และแนวทางการบริหารจัดการการเงินของโครงการ
  • ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลสูงวัย (40-59) และสูงอายุ 60 ปี เป็นต้นไป เพื่อการประเมินผลลัพธ์

 

3 0

2. กิจกรรมย่อยที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 20 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • กำหนดระเบียบวาระการประชุม กำหนดวันเวลา สถานที่ประชุม
  • ทำหนังสือขอเชิญประชุม
  • แต่งตั้งคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัย
  • วางแผนการดำเนินงาน
  • สรุปรายงานการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 20 ตุลาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้้เข้าร่วมประชุม ครั้งที่ 1 ในวันที่ 20 ตุลาคม 2563 จำนวน 18 ท่าน
  • ชี้แจงโครงการ เตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง โดยมีระยะเวลาโครงการตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2563 ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ในวงเงินรวมทั้งสิ้น 117,000.00 บาท โดยแบ่งจ่าย เป็น 3 งวด
  • เป้าหมาย ประชาชนทั่วไป อายุ 40-59 ปี จำนวน 80 คน ผู้สูงอายุ 60ปีขึ้นไป จำนวน 20 คน
  • ร่วมประชุม ปรึกษาหารือเป้าหมายเพื่อคัดเลือกคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุตำบลบางกุ้ง
  • ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง

 

20 0

3. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org

วันที่ 21 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ลงรับหนังสือ
  2. ขออนุมัติเดินทางไปราชการ / ตอบหนังสือเข้าร่วมประชุม
  3. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการจัดทำรายงาน ส.1และการเงิน ง.1 ตามวันเวลา และสถานที่ดังกล่าว ในวันที่ 21 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม อบต.นาข้าวเสีย อ.นาโยง จ.ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางสาวบุษรา คเชนทร์มาศ ตำแหน่ง เหรัญญิก ร่วมด้วย นางสาวอ้อยทิพย์ มาจุรินทร์ คณะทำงาน ได้รับมอบหมาย จากนายสมบูรณ์ ประดับวงศ์ ประธานคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง
เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และการเงิน ง.1 ในระบบ www.happynetwork.org และสามารถดำเนินการ รายงานผลการดำเนินโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง ทางเว็ปไซต์ได้

 

3 0

4. กิจกรรมย่อยที่ 2 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-ก่อนประชุม - กำหนดระเบียบวาระการประชุม กำหนดวันเวลา สถานที่ประชุม - แจ้งหนังสือเชิญการประชุม - จัดเตรียมความพร้อม ก่อนวันประชุม - วันประชุม - แจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัย - แจ้งบันไดผลลัพธ์ โครงการฯ - ทำความเข้าใจ พร้อมแจก แบบสอบถาม เรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง - หลังประชุม -สรุปผลการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง ครั้งที่ 2 ในวันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2563 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 23 ท่าน - รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง โดยมีบทบาทหน้าที่
1.ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ เพื่อร่วมกันวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงาน
2. รณรงค์สร้างความเข้าใจและประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้คนในชุมชนเข้าใจการดำเนินงาน 3.จัดกิจกรรมส่งเสริมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุก่นเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยในชุมชน 4.กำกับติดตามการดำเนินงานโครงการและประเมินผลโครงการ - ทบทวนบันไดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด 1. กลุ่มเป้าหมายได้ดูแลสุขภาพและออกกำลังกายเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 2. กลุ่มเป้าหมายได้จัดสภาพแวดล้อมบริเวณและภายในบ้านให้เหมาะสมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 3. กลุ่มเป้าหมายได้มีการออมในรูปแบบการออมเงินในกลุ่มการเงินชุมชน หรือการออมรูปแบบอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ50 4. ผู้สูงวัยได้รับการดูแลและตรวจเยี่ยมอย่างทั่วถึงจากกลุ่ม CG/อผส. 5.เกิดครัวเรือนต้นแบบเตรียมรองรับสังคมสูงวัยอย่างน้อย 8 ครัวเรือน 6. เกิดสื่อ VDO เตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง 1 ชื้น จำนวนกลุ่มเป้าหมายในโครงการฯ กลุ่มเป้าหมายหลัก ประชาชน ทั่วไป อายุ 40-59 ปี จำนวน 80 คน กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 20 คน การกระจายแบบสำรวจ ในที่ประชุมมีมติ ให้แบ่งการสำรวจออกเป็น 2 ทีม
ในกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ หมู่ที่ 3,7,8,9 มอบหมายให้ อสม.รพ.สต.บ้านนาวง เป็นผู้ดำเนินการสำรวจ จำนวน 40 คน ให้ประธาน อสม.รพ.สต.บ้านนาวง ผู้้รวบรวม กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ หมู่่ที่ 1,4,5,6 มอบหมายให้ อสม รพ.สต.บ้านเหนือคลอง เป็นผู้ดำเนินการสำรวจ จำนวน 40 คน ให้ประธาน อสม.รพ.สต.บ้านเหนือคลองผู้รวบรวม และในกลุ่มเป้าหมายรอง ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 20 คน มอบหมายให้ นางสาวบุษรา คเชนทร์มาศ เป็นผู้จัดเก็บ - ชี้แจงการจัดเก็บแบบสอบถาม และแจก แบบสอบถาม เรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง

 

32 0

5. 2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ป้ายไวนิล บันไดผลลัพธ์ โครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง
  • สติ๊กเกอร์ ติดฟิวเจอร์บอร์ด รณรงค์ สถานที่ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแฮลกอฮอล์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำไวนิล สรุปบันไดผลลัพธ์ ของโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัย ช่วยรณรงค์ สถานที่ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแฮลกอฮอล์

 

0 0

6. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1( ก.ค.-พ.ย.63)

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้า โครงการฯ เดือน 30ก.ค.-29พ.ย.63

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลรายงานความก้าวหน้า ดำเนินการเสร็จเรียบร้อย

 

0 0

7. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 1

วันที่ 4 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจง การจัดเก็บแบบสอบถามเรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง 2. เตรียมแบบสอบถามการจัดเก็บแบบสอบถามเรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง 3. มอบหมายการจัดเก็บแบบสอบถามเรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง และกำหนดการส่งชุดแบบสอบถามฯ 4. ส่งวิเคราะห์ข้อมูลการเก็บ แบบสอบถามฯ 5. ประชุมสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลสรุปการวิเคราะห์แบบสอบถามเรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง

 

60 0

8. กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 14 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผล แบบสอบถาม เรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผล แบบสอบถาม เรื่องพฤติกรรมสำคัญในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
เตรียมความพร้อมการเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (์Node Flagship) จังหวัดตรัง ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย วันที่ 16 ธันวาคม 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม 116 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง อ.เมือง จ.ตรัง

 

20 0

9. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 16 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขออนุมัติเดินทางไปราชการ 2 .เตรียมข้อมูลสำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  2. แจ้งข้อมูลแบบตอบรับเข้าร่วมประชุม 4.เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้า ผลลัพธ์การดำเนินงาน ในวันที่ 16 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม 116 ตึกอำนวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายสมบูรณ์ ประดับวงศ์ ประธานคณะทำงาน นางสาวบุษรา คเชนทร์มาศ เหรัญญิก และ นางสาวกชกาญจน์ ทองใบ เลขานุการ เข้าร่วมประชุม ในวันที่ 16 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม 116 ตึกอำนวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง ได้สรุปผลลัพธ์การดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานระหว่างโครงการ ทั้งในส่วนของบทเรียนความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและข้อระวังในการดำเนินงาน เพื่อจะได้นำไปปรังปรุงการดำเนินงานในช่วงระยะเวลาที่เหลือ
ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานโครงการเตรียมความพร้อมรับรองสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง ดังนี้ 1. ได้มีการประชุมคณะทำงาน ทั้งหมด 3 ครั้ง จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน มีภาคีเครือข่ายร่วมเป็นคณะทำงาน 2. สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึก คณะทำงานและทีมงาน อสม. มีการสรุป วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอในที่ประชุมคณะทำงาน

แผนการทำงานในขั้นตอนต่อไป 1. ส่งเสริมพัฒนาความรู้กระบวนการเตรียมตัวรองรับสังคมผู้สูงวัยของตำบลบางกุ้ง ทั้ง 4 มิติ โดยการจัดประชุม
2. การจัดทำธรรมนูญเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง
3. การสร้างครัวเรือนต้นแบบสู่การพัฒนาเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง จำนวน 8 หลัง

ปัญหาอุปสรรค การแพร่ระบาด ของโรคไวรัส โคโรน่า

 

3 0

10. กิจกรรมย่อยที่ 4 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • กำหนดระเบียบวาระการประชุม
  • หนังสือเชิญประชุม
  • ประชุมร่วมกันกำหนดปรับแผนงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-สรุปดำเนินการขออนุมัติปรับปรุงแผนงาน/กิจกรรมในงวดที่ 2

 

20 0

11. กิจกรรมย่อยที่ 5 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 16 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • กำหนดวาระการประชุม
  • ทำหนังสือขอเชิญประชุม
  • ประชุม กำหนดแบบสอบถาม ผู้รวบรวมชุดแบบสอบถามข้อมูลเพื่อการปรับปรุงที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ จัดเก็บตามกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปรายชื่อบ้านเป้าหมาย ที่ต้องการปรับสภาพบ้านผู้สูงอายุ จำนวน 20 หลัง

 

20 0

12. อบรมเชิงปฏิบัติการช่างอาสาและช่างท้องถิ่นการปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 22 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.รับหนังสือเชิญอบรมปฏิบัติการช่างอาสาและช่างท้องถิ่นการปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ 2.ประสานผู้เข้าร่วมอบรมและตอบแบบตอบรับ 3.เข้ารับการฝึกอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ทราบสถานการณ์สังคมสูงวัยในประเทศไทยและการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ
  • แนวทางการออกแบบบ้านสภาพแวดล้อมสำรับผู้สูงอายุและคนพิการตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ.2548
  • การปรับสภาพแวดล้อมบ้านพักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ -เยี่ยมชมศูนย์ออกแบบเพื่อทุกคนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

4 0

13. เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง

วันที่ 22 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • รับหนังสือเชิญถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย
  • ประสานผู้เข้าร่วมเชิงปฏิบัติการ
  • เตรียมข้อมูลผลการดำเนินโครงการฯ
  • เข้าร่วมประชุมถอดบทเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายฯ ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

0 0

14. กิจกรรมที่ 6 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

วันที่ 30 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานผู้จัดทำสื่อ
  2. รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน
  3. ลงพื้นที่เก็บรายละเอียดการจัดทำสื่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดสื่อ VDO เตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง 1 ชิ้น

 

0 0

15. กิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยการปรับสภาพบ้านเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลบางกุ้ง

วันที่ 30 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ปรับแผนการดำเนินงาน 2.กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยการปรับสภาพบ้านเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลบางกุ้ง 3.คณะอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ลงพื้นที่ ให้ความรู้การปรับสภาพแวดล้อม ในพื้นที่สาธารณะวัดควนพญา 4. ช่าง อบต.บางกุ้ง  และช่างชุมชนร่วมกัน วางแผนการดำเนินงาน 5. ช่างชุมชนดำเนินงานตามแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดทางเท้าเดินเชื่อมศาลาการเปรียญไปห้องน้ำวัดควนพญา

 

0 0

16. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินผู้จัดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินผู้จัดโครงการ

 

0 0

17. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

3 0

18. กิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (มิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ)

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

0 0

19. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 2 ( 1ธ.ค.63-พ.ค.64)

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

0 0

20. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3 ( 30เม.ย.-30พ.ค.64)

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

0 0

21. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

0 0

22. กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 2

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

60 0

23. กิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

0 0

24. กิจกรรมที่ 4 การจัดทำธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

80 0

25. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรม การสร้างครัวเรือนต้นแบบสู่การพัฒนาเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

No

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

No

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อพัฒนากลไกการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง
ตัวชี้วัด : 1.1มีคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยได้ 1.2มีฐานข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ 1.3 มีธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง 1.4มีแผนงานโครงการที่เชื่อมโยงกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล
1.00 32.00

คณะทำงาน จำนวน 32 คน

2 2.เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง
ตัวชี้วัด : 2.1กลุ่มเป้าหมายกลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นร้อยละ 20 2.2 ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้าลดลงร้อยละ 10 2.3 อัตราการป่วยของผู้สูงอายุด้วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ(เบาหวาน ความดัน หลอดเลือดหัวใจ) ลดลงร้อยละ 10 2.4กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยได้มีการออมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2.5 กลุ่มเป้าหมายสมัครเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 2.6 ผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน ได้รับการดูแลเอาใจใส่ ร้อยละ 100 จากกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน และทีมงาน Care giver/อผส.ต.บางกุ้ง
1.00 1.00

ส่งเสริมคุณภาพชีวิตเตรียมความพร้อมฯ ตามเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 20 20
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ประชาชนอายุทั่วไป 40-59 80 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อพัฒนากลไกการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง (2) 2.เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยตำบลบางกุ้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานอย่างน้อย 5 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. (4) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5) กิจกรรมย่อยที่ 1 ประชุมคณะทำงาน (6) กิจกรรมย่อยที่ 2 ประชุมคณะทำงาน (7) กิจกรรมย่อยที่ 3 ประชุมคณะทำงาน (8) กิจกรรมย่อยที่ 4 ประชุมคณะทำงาน (9) กิจกรรมย่อยที่ 5 ประชุมคณะทำงาน (10) กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (11) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org (12) 2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (13) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1( ก.ค.-พ.ย.63) (14) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (15) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (16) อบรมเชิงปฏิบัติการช่างอาสาและช่างท้องถิ่นการปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ (17) เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง (18) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 2 ( 1ธ.ค.63-พ.ค.64) (19) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ครั้งที่2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (20) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3 ( 30เม.ย.-30พ.ค.64) (21) กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 1 (22) กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเชิงลึกโดยคณะทำงานและทีมงาน อสม. ครั้งที่ 2 (23) กิจกรรมที่ 4 การจัดทำธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง (24) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรม การสร้างครัวเรือนต้นแบบสู่การพัฒนาเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง (25) กิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยการปรับสภาพบ้านเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลบางกุ้ง (26) กิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (มิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ) (27) กิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ (28) กิจกรรมที่ 6 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การดำเนินการค่อนข้างมีปัญหาอุปสรรค ในขั้นตอนกระบวนการทำงาน เนื่องจากปัญหาจากโรคระบาดในชุมชน สังคม แต่ได้รับการแก้ปัญหาของสถานการณ์ดังกล่าว ให้มีการยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนแผนการทำงาน และขยายระยะเวลาดำเนินโครงการฯ ทำให้การดำเนินการบางกิจกรรมดำเนินการไปได้ เช่นกิจกรรม ปรับสภาพแวดล้อมที่ไม่ให้เกิดการรวมตัวของประชาชนจำนวนมาก แต่ประสบปัญหาเรื่องการใช้จ่ายที่เป็นค่าวัสดุ ไม่เกินร้อยละ 20 ของโครงการ ข้อเสนอแนะเรื่องการกำหนดการใช่จ่ายค่าวัสดุ ควรกำหนดมากกว่านี้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. คณะกรรมการดำเนินงานของโครงการเตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัย มีคณะกรรมการครบถ้วน มีความพร้อมในการทำงาน แต่จะเป็นผู้สูงวัยที่่มีอายุ 60 ปี ทำให้มีความคล่องตัวน้อย
  2. ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019

1.ผู้เตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัย ไม่ตระหนักถึงความสำคัญ 2. การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019

สร้างความตระหนักให้กับผู้เตรียมรองรับสังคมผู้สูงวัย ให้ตระหนักถึงความสำคัญของโครงการฯ


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง

รหัสโครงการ 63001740018 ระยะเวลาโครงการ 30 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีการถ่ายทอดองค์ความรู้

การประชุมคณะกรรมการฯ / การทำงาน

ถ่ายทอดต่อไปยังชุมชนฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการปรับเปลี่ยนการทำงาน แม้สถานการไม่เอื้ออำนวย

รายงานการประชุม/ปารปรับเปลี่ยนแผนการทำงาน

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การปรับสภาพบ้านของผู้สูงอายุ

บ้านที่ได้รับการปรับสภาพบ้านจำนวน 8 หลัง

ดำเนินต่อไป สู่บ้านหลังอื่นๆๆ ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การสร้างสภาพแวดล้อมในครัวเรือน

บ้านผู้สูงอายุ ที่ได้รัับการปรับสภาพบ้าน

ขยายสู่บ้านข้างเคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

เกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

บ้านต้นแบบ/พื้นที่สาธารณะ

ขยายจำนวนครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการประสานงานในชุมชน

หนังสือเชิญประชุม/รายงานการประชุม

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การระดมทุน วัสดุอุปกรณ์ ทรัพยากรบุคคล

ผลสำเร็จการดำเนินงาน

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินงานของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดการจัดการความรู้ในชุมชน

ประชาชนมีความรู้

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

มีความภาคภูมิใจในตัวเองและชุมชน/กลุ่ม

ประชาชน/กลุ่ม

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีการเห็นแก่่ประโยชน์ส่วนร่วม

พื้นที่สาธารณะ ส่วนรวม

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายและพอเพียง

มีการปรับ/เปลี่ยนวัสดุ ทดแทนกันได้ เรียบง่าย ประหยัด

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เกิดความช่วยเหลือกันและกัน

เกิดช่างอาสาในชุมชน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

เพิ่มจำนวนผู้มีจิตอาสา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

ฐานปัญญาในชุมชน

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางกุ้ง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740018

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมบูรณ์ ประดับวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด