directions_run

โครงการสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่เพื่อชุมพรน่าอยู่ ปี65 -66

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ค่าดำเนินการ 1 ก.พ. 2565

 

 

 

 

 

ค่าสนับสนุนงบประมาณโครงการย่อย 1 ก.พ. 2565

 

 

 

 

 

ค่าบริหารจัดการโครงการ 29 ก.ค. 2565

 

 

 

 

 

1.1 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 6 ก.พ. 2565 6 ก.พ. 2565

 

ประสานทีมสนับสนุนวิชาการเพื่อให้สอบทานข้อมูลจากโครงการย่อยในการจัดการผลลัพธ์ของโครงการเพื่อให้เกิดข้อมูลตามบันไดผลลัพธ์

 

มีทีมวิชาการเข้าร่วมประชุมบริหารจัดการผลลัพธ์ซึ่งการบริหารจัดการผลลัพธ์

 

1.4.1 เข้าร่วมกิจกรรมกับทาง สน.๖ เวทีปฐมนิเทศโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจ 18 ก.พ. 2565 18 ก.พ. 2565

 

ประสานทีมและประชุมสร้างความเข้าใจในการแลกเปลี่ยนข้อมูลในเวทีปฐมนิเทศ

 

มีผู้เข้าร่วมเวทีเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนทั้ง 10 จังหวัดทั่วประเทศ มีความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามประเด็นปัญหาจังหวัดและความต้องการของพื้นที่โดยทำซ้ำโมเดลเดิมหรือพัฒนาโมเดลใหม่ซึ่งเน้นบทบาทการขับเคลื่อนของ Node ในการบูรณาการขับเคลื่อนงานกับภาคียุทธศาสตร์ที่มีการทำงานที่ชัดเจนในลักษณะการเชื่อมงาน เงินเพื่อขยายโมเดลต้นแบบของจังหวัด

 

ค่าตอบแทนบุคลากรประจำโครงการ 28 ก.พ. 2565 28 ก.พ. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค/วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 65 28 ก.พ. 2565 28 ก.พ. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 28 ก.พ. 2565 28 ก.พ. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.บ้านควน) 7 มี.ค. 2565 7 มี.ค. 2565

 

ประสานพื้นที่/จัดเตรียมข้อมูลในการสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามเครื่องมือ สสส.

 

มีโครงการที่สนใจเข้าร่วมโครงการ ๕ โครงการในโซนล่างซึ่งมีการประชุมเชิงปฎิบัติการในการจัดทำต้นไม้ปัญหาเพื่อให้เห็นถึงปัญหาและนำปัญหามาวิเคราะห์หาสาเหตุและนำสู่การจัดกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาและมีการติดตามประเมินผลในการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่หรือชุมชนและจะใช้ต้นไม้ปัญหานำสู่การทำบันไดผลลัพธ์

 

1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.ปากทรง) 9 มี.ค. 2565 9 มี.ค. 2565

 

ประสานพื้นที่/จัดเตรียมข้อมูลในการสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามเครื่องมือ สสส.

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๑๕ คน ซึ่งมีการประชุมเชิงปฎิบัติการในการจัดทำต้นไม้ปัญหาเพื่อให้เห็นถึงปัญหาและนำปัญหามาวิเคราะห์หาสาเหตุและนำสู่การจัดกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาและมีการติดตามประเมินผลในการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่หรือชุมชนและจะใช้ต้นไม้ปัญหานำสู่การทำบันไดผลลัพธ์และการจัดทำข้อเสนอโครงการที่มีความสัมพันธ์ของทั้ง ๓ ส่วน

 

1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.นาชะอัง) 12 มี.ค. 2565 12 มี.ค. 2565

 

ประสานพื้นที่/จัดเตรียมข้อมูลในการสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามเครื่องมือ สสส.

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 12 คน ซึ่งมีการประชุมเชิงปฎิบัติการในการจัดทำต้นไม้ปัญหาเพื่อให้เห็นถึงปัญหาและนำปัญหามาวิเคราะห์หาสาเหตุและนำสู่การจัดกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาและมีการติดตามประเมินผลในการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่หรือชุมชนและจะใช้ต้นไม้ปัญหานำสู่การทำบันไดผลลัพธ์และการจัดทำข้อเสนอโครงการที่มีความสัมพันธ์ของทั้ง ๓ ส่วน

 

1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ข้าวไร่นาชะอัง) 19 มี.ค. 2565 19 มี.ค. 2565

 

ประสานพื้นที่/จัดเตรียมข้อมูลในการสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามเครื่องมือ สสส.

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 22 คน ซึ่งมีการประชุมเชิงปฎิบัติการในการจัดทำต้นไม้ปัญหาเพื่อให้เห็นถึงปัญหาและนำปัญหามาวิเคราะห์หาสาเหตุและนำสู่การจัดกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาและมีการติดตามประเมินผลในการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่หรือชุมชนและจะใช้ต้นไม้ปัญหานำสู่การทำบันไดผลลัพธ์และการจัดทำข้อเสนอโครงการที่มีความสัมพันธ์ของทั้ง ๓ ส่วน

 

1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.เขาค่าย) 27 มี.ค. 2565 9 พ.ย. 2565

 

ประสานพื้นที่/จัดเตรียมข้อมูลในการสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามเครื่องมือ สสส.

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๑๖ คน ซึ่งมีการประชุมเชิงปฎิบัติการในการจัดทำต้นไม้ปัญหาเพื่อให้เห็นถึงปัญหาและนำปัญหามาวิเคราะห์หาสาเหตุและนำสู่การจัดกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาและมีการติดตามประเมินผลในการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่หรือชุมชนและจะใช้ต้นไม้ปัญหานำสู่การทำบันไดผลลัพธ์และการจัดทำข้อเสนอโครงการที่มีความสัมพันธ์ของทั้ง ๓ ส่วน

 

1.4 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ สสส. 28 มี.ค. 2565 28 มี.ค. 2565

 

จัดทำกำหนดการนัดหมายพื้นที่และเตรียมทีมพี่เลี้ยงในการพัมนาข้อเสนอโครงการของพื้นที่โครงการย่อยทั้ง ๒๕ โครงการ

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๘๕ คนจาก ๒๕ โครงการ เครือข่ายที่เข้าร่วมมีความเข้าใจการทำต้นไม้ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพด้วยแผนผังต้นไม้ปัญหาเป็นเครื่องมือช่วยในการสร้างความเชื่อมโยงปัญหาสุขภาพ สาเหตุของปัญหา และผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละระดับอย่างเป็นเหตุเป็นผลในรูปของต้นไม้ปัญหาหรือแผนผังต้นไม้ปัญหาซึ่งจะทำให้การขับเคลื่อนงานเป็นไปได้อย่างถูกต้องและต้องนำมาจัดระดับผลลัพธ์การคิดจากผลกลับไปหาเหตุต้องรู้อยากได้ผลลัพธ์ (Outcomes) อะไรจากการดําเนินการ
คิดไปถึงวิธีการ (Process) ที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์เหล่านั้นจัดเตรียมทรัพยากรในการดำเนินงานเพื่อดำเนินการให้บรรลุผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง“ถ้าอยากให้เกิดผลลัพธ์... ควรมีวิธีการหรือกระบวนการดำเนินงาน...”ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตอบวัตถุประสงค์ของโครงการและนำสู่การจัดทำบันไดผลลัพธ์เพื่อให้เห็นระดับผลลัพธ์ในแต่ละขั้นที่ต้องการบรรลุก่อน-หลังได้อย่างชัดเจนการคลี่ผลลัพธ์ก่อนเริ่มลงมือปฏิบัติงานตามข้อเสนอโครงการ จะช่วยให้เข้าใจและมีแนวทางการติดตามความก้าวหน้าของผลลัพธ์ในแต่ละขั้นได้ชัดเจนขึ้นบันไดผลลัพธ์จะช่วยทำให้การออกแบบกิจกรรมได้อย่างมีรายละเอียดมากขึ้น เพราะกิจกรรมที่จัดจะต้องตอบโจทย์ผลลัพธ์แต่ละขั้นบันไดที่วางแผนไว้และต้องนำมาสู่การเขียนข้อเสนอโครงการต้องประกอบด้วยโครงการอะไร = ชื่อโครงการ ทำไมจึงต้องริเริ่มโครงการ = หลักการและเหตุผล ทำเพื่ออะไร = วัตถุประสงค์ ทำอย่างไร = วิธีดำเนินการ มีกิจกรรมอะไรบ้าง = กิจกรรมในโครงการจะทำเมื่อไร นานเท่าใด = ระยะเวลาดำเนินการใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน = งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ  ใครทำ = ผู้ดำเนินการต้องประสานงานกับใคร = หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ = ผลผลิตและผลลัพธ์ของกิจกรรม/โครงการ และการประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วจะได้อะไร = ผู้นำไปใช้ประโยชน์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 มี.ค. 2565 30 มี.ค. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนมีนาคม 65 30 มี.ค. 2565 30 มี.ค. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 มี.ค. 2565 30 มี.ค. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

1.1ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 ผ่านระบบ ZOOM 9 เม.ย. 2565 9 เม.ย. 2565

 

ประสานทีมสนับสนุนวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนงานในการหนุนเสริมพื้นที่ในการกลั่นกรองโครงการกับผู้ทรงคุณวุฒิที่ทาง สสส.กำหนด

 

การขับเคลื่อนงานในระดับพื้นที่ ๒๕ โครงการแบ่งเป็น เกษตรเพื่อสุขภาพจำนวน  ๑๖ โครงการ โรคเรื้อรังแนวใหม่ จำนวน ๙ โครงการจากการดูแลของพี่เลี้ยงซึ่งจะมีการกลั่นกรองเอกสารโครงการของแต่ละโครงการโดยทาง Node ได้ประสานผู้ทรงญจำนวน ๒ ท่าน คือ คุณมานะ  ช่วยชู ที่มีการขับเคลื่อนงานกับภาคประชาชนมาอย่างต่อเนื่อง  นพ.สุภัทร  ฮาสุวรรณกิจ  ซึ่งมีองค์ความรู้ในด้านการรักษาและมีการขับเคลื่อนงานกับชุมชนและใน 3 ส่วนสำคัญที่พี่เลี้ยงจะต้องไปดูเพื่อให้โครงการมีความสอดคล้อง คือ ดูต้นไม่ปัญหา บันไดผลลัพธ์และสถานการณ์ที่ต้องมีความสอดคล้องกันในการเขียนโครงการ โดยกำหนดให้มีการกลั่นกรองโครงการในวันที่ ๒๗ เมษายน ๖๕ และจะมีการประชุมทีมพี่เลี้ยงและผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อทบทวนในวันที่ ๒๖

 

1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.ดขาทะลุ) 24 เม.ย. 2565 24 เม.ย. 2565

 

ประสานพื้นที่/จัดเตรียมข้อมูลในการสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานตามเครื่องมือ สสส.

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๑๓ คน ซึ่งมีการประชุมเชิงปฎิบัติการในการจัดทำต้นไม้ปัญหาเพื่อให้เห็นถึงปัญหาและนำปัญหามาวิเคราะห์หาสาเหตุและนำสู่การจัดกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาและมีการติดตามประเมินผลในการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่หรือชุมชนและจะใช้ต้นไม้ปัญหานำสู่การทำบันไดผลลัพธ์และการจัดทำข้อเสนอโครงการที่มีความสัมพันธ์ของทั้ง ๓ ส่วน

 

1.1 ประชุมคณะทำงานและภาคีโครงการเพื่อเตรียมเวทีกลั่นกรองโครงการย่อย 26 เม.ย. 2565 26 เม.ย. 2565

 

ประสานทีมพี่เลี้ยง/ประสานพื้นที่เพื่อให้เข้าร่วมเวทีเตรียมการกลั่นกรองโดยใช้การพูดคุยผ่านโครงการที่แต่ละพื้นที่ได้เขียนมาเพื่อให้เห็นความสอดคล้องของโครงการ

 

มีผู้นับผิดชอบโครงการเข้าร่วมจำนวน ๒๖ โครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจเป้าหมายของ สสส.ที่จะขับเคลื่อนกับพื้นที่ดดยพื้นที่จะต้องเป็นคนบริหารโครงการและมีทีมสนับสนุนวิชาการคอยประสานงานและให้คำปรึกษาซึ่งการตั้งเป้าหมายโครงการแต่ละพื้นที่ต้องเป็นรูปธรรมและสามารถขับเคลื่อนได้จริงที่สำคัญต้องเห็นการเปลี่ยนแปลงบ้างในการขับเคลื่อนงาน เช่น กลไกมีความเข้มแข็งสามารถขับเคลื่อนงานในชุมชนได้

 

1.2.3 เวทีกลั่นกรองโครงการย่อยร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒืและภาคียุทธศาสตร์จังหวัดชุมพร 27 เม.ย. 2565 27 เม.ย. 2565

 

ประสานงานคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิกำหนดวันจัดเวทีกลั่นกรองและประสานทีมโครงการย่อยประสานทีมสนับสนุนวิชาการเพื่อประชุมเตรียมเวที

 

มีผู้เข้าร่วมเวทีจำนวน ๗๕ คน การดำเนินงานโครงการสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่เพื่อชุมพรน่าอยู่ เพื่อสนับสนุนวิสัยทัศน์จังหวัด “ชุมพรเมืองน่าอยู่ บนพื้นฐานการเกษตรกรรมและการท่องเที่ยวคุณภาพ เชื่อมโยงการพัฒนาสองฝั่งทะเล” ใน ๒ ประเด็นได้แก่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่:จัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ และ ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.สน.๖) เพื่อการยกระดับการดำเนินงานโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในระยะที่ ๒ ปี ๖๕-๖๖ กับการผลักดันการขับเคลื่อนสู่ชุมพรเมืองน่าอยู่ ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และ คณะทำงาน Node flagship Chumphon ร่วมพิจารณากลั่นกรองโครงการ ดังนี้ :ประเด็นเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ นายมานะ ช่วยชู , ผศ.ดร.ชุมพล อังคณานนท์,นส.หนึงฤทัย พันกุ่ม :ประเด็นจัดการโรคเรื้อรัง นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ , นายธีรนันต์ ปราบราย,นางสมใจ ด้วงพิบูลย์ พื้นที่โครงการย่อย 25 โครงการที่ร่วมพัฒนาข้อเสนอสร้างเสริมสุขภาวะ ปี 65-66 ซึ่งจากการเข้าร่วมกลั่นกรองโครงการทั้ง ๒๕ โครงการ ใน ๒ ประเด็น คือ ประเด็นเกษตร จะต้องไปทบทวนบันไดผลลัพธ์ในแต่ละบันไดเพื่อให้การขับเคลื่อนสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ ประเด็นโรคเรื้อรัง อาจจะต้องไปดูวิธีเก็บข้อมูลที่เห็นการเปลี่ยนแปลง

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 เม.ย. 2565 30 เม.ย. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนเมษายน 65 30 เม.ย. 2565 30 เม.ย. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 เม.ย. 2565 30 เม.ย. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 พ.ค. 2565 30 พ.ค. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนพฤษภาคม 65 30 พ.ค. 2565 30 พ.ค. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ตประจำเดือนพฤษภาคม 65 30 พ.ค. 2565 30 พ.ค. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

1.3 เวทีประชุมเชิงปฎิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อย Node Flagship Chumphon 4 มิ.ย. 2565 4 มิ.ย. 2565

 

ประสานภาคีเข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศและจัดเตรียมข้อมูลการสร้างความรู้ความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการย่อยตามกรอบงานของ สสส.

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๑๑๕ คน  แนวทางการติดตามสนับสนุนโครงการย่อยสำหรับหน่วยจัดการจังหวัด 1. การเตรียมพื้นที่ ก่อนลงพื้นที่ควรมีการเตรียมพื้นที่ล่วงหน้า โดยมีประเด็นในการเตรียม ควรประกอบด้วย 1.1) นัดหมายกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ซึ่งควรประกอบด้วย คณะทำงาน ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายของ
โครงการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รวมทั้งหมดควรอยู่ระหว่าง 10-15 คน
1.2) เตรียมประเด็นที่จะต้องรายงาน ให้รายงานความก้าวหน้าตามบันไดผลลัพธ์ 1.3)เตรียมหลักฐานประกอบการรายงานตามบันไดผลลัพธ์ เช่น รายงานการประชุม รายงานความก้าวหน้า หลักฐานประกอบความก้าวหน้าอื่น ๆ เช่น ข้อตกลงของชุมชนมีกี่ข้ออะไรบ้าง ข้อมูลที่มีการสำรวจ บันทึกต่าง ๆ เช่น บันทึกการออกกำลังกาย เป็นต้น (พี่เลี้ยงต้องไปถอดจากตัวโครงการที่เขียนไว้แล้วว่ามีหลักฐานอะไรบ้างที่จะต้องแสดง ถ้าไม่มีหลักฐานพี่เลี้ยงต้องตีความสรุปโดยดูจากองค์ประกอบอื่น ๆ ว่าได้ทำจริงหรือไม่) และอาจเตรียมพื้นที่เพื่อให้พี่เลี้ยงไปดู ถ่ายภาพ สัมภาษณ์ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย การใช้ประโยชน์จากขยะ เป็นต้น 1.4)เตรียมหลักฐาน/รายงานด้านการเงิน
1.5)เตรียมรายงานตามแบบฟอร์ม ส.1 ที่ชุมชนจะต้องรายงานในระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 1.6)เตรียมกระบวนการ เช่น จะเริ่มกี่โมง ขั้นตอนเป็นอย่างไร ไม่ควรมีการต้อนรับหรือพิธีการใด ๆ เพราะจะทำให้เสียเวลา โดยพยามเน้นย้ำเรื่องการติดตามเพื่อการพัฒนา ไม่ใช่เพื่อการตรวจสอบเพื่อให้เกิดการเสนอความจริงและสะท้อนกลับเพื่อการพัฒนา 2. ระหว่างการลงพื้นที่ติดตาม 1.1)ควรมีการจับคู่กันระหว่างพี่เลี้ยง เพื่อช่วยในการจัดกระบวนการ พี่เลี้ยงจะต้องทำหน้าที่เป็นวิทยากรกระบวนการ ตั้งคำถาม และกระตุ้นเป็นหลัก 1.2)เริ่มจากการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์การติดตามสนับสนุน และประโยชน์ที่จะได้รับ 1.3)ดำเนินการตามขั้นตอน 1.4)การสะท้อนผลลัพธ์ ให้เปรียบเทียบข้อมูลก่อนหลังการดำเนินงาน และมีหลักฐาน ชี้วัดความสำเร็จ พี่เลี้ยงช่วยกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วม
1.5)ให้ชุมชนประเมินตัวเองว่าถ้าให้ 10 คะแนน ให้คะแนนเท่าไหร่ เพราะอะไร จะทำอย่างไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม 1.6)ขอดูรายงานการเงิน และรายงาน ส.1 และควรดูรูปธรรมจากการดำเนินโครงการ และบันทึกภาพ 1.7)สรุปและให้คำแนะนำในตอนท้ายของการประชุมอย่างสร้างสรรค์ เป็นลักษณะเชิงบวกและเสริมกำลังใจ นัดหมายแผนงานต่อไป
3. หลังดำเนินการหลังจากการติดตาม ควรทำรายงานทันที ไม่ควรปล่อยไว้นานเพราะอาจจะลืมข้อมูลหรือบรรยากาศ บริบทต่าง ๆ ได้

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 มิ.ย. 2565 30 มิ.ย. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนมิถุนายน 65 30 มิ.ย. 2565 30 มิ.ย. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 มิ.ย. 2565 30 มิ.ย. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

1.4.1 อบรมหลักสูตร SoFt Power กับการทำงานเพื่อพัฒนาชุมชน กับภาคี สน.6 10 ก.ค. 2565 10 ก.ค. 2565

 

อธิบายเป้าหมายการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพคนทำงาน

 

ทีมสนับสนุนวิชาการมีความเข้าใจและสามารถค้นหาสักยภาพในตัวเองเพื่อนำสู่การขับเคลื่อนงานที่มีความสุขและสามารถเข้าใจการทำงานกับชุมชนในการจัดการงานผ่านการจัดการคน การเข้าใจอำนาจร้อน/เย็นและการฟังด้วยหัวใจในการทำงาน

 

สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองและอนุมัติโดยกรรมการ 12 ก.ค. 2565 12 ก.ค. 2565

 

ประสานผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อให้เปิดบัญชี ๓ คนและส่งเลขบัญชีพร้อมแนบเอกสารเพื่อทาง Node จะได้โอนงบประมาณในการขับเคลื่อนกิจกรรม

 

ได้รับเอกสารโครงการทั้ง ๒๕ โครงการ และได้สนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนโครงการเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับหมู่บ้าน  ระดับอำเภอ ระดับเครือข่าย/สมาพันธ์ โดยมีการสนับสนุนงบประมาณและมีทีมสนับสนุนวิชาการในการหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานของโครงการ

 

ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูล 30 ก.ค. 2565 30 ก.ค. 2565

 

ประสานจัดทำโปรแกรมการทำรายงานออนไลน์และเตรียมเวทีการประชุมพัฒนาศักยภาพการคีย์ข้อมูลออนไลน์ของโครงการย่อยทั้ง ๒๕ โครงการ

 

มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๖๐ คน เจ้าหน้าที่การเงินโครงการย่อยและทีมสนับสนุนวิชาการสามารถจัดทำข้อมูลและคียฺข้อมูลการจัดกิจกรรมและการเงินแต่ละกิจกรรมเข้าระบบเพื่อจัดเก็บไว้เตรียมรายงานผลการดำเนินงานในระบบแก่โหนดและทางเจ้าหน้าที่การเงิน

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ก.ค. 2565 30 ก.ค. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนกรกฎาคม 65 30 ก.ค. 2565 30 ก.ค. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ก.ค. 2565 30 ก.ค. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

1.5.1 การดำเนินงานสนับสนุนพื้นที่ของทีมสนับสนุนวิชาการ ครั้งที่ ๑ 16 ส.ค. 2565 16 ส.ค. 2565

 

ประสานพี่เลี้ยงส่งเอกสารติดตามโครงการในความรับผิดชอบเพื่อตั้งเบิกงบประมาณในการลงพื้นที่สนับสนุนการขับเคลื่อนงาน

 

จ่ายค่าสนับสนุนในการลงพื้นที่ประสานงานโครงการในความรับผิดชอบทั้ง ๒๕ โครงการและทำการเบิกจ่ายให้โครงการละ ๓๐๐๐ บาท รวม ๒๕ โครงการ

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ส.ค. 2565 30 ส.ค. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนสิงหาคม 65 30 ส.ค. 2565 30 ส.ค. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ส.ค. 2565 30 ส.ค. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 2 ก.ย. 2565 2 ก.ย. 2565

 

ประสานพื้นที่ขับเคลื่อนงาน คน องค์ความรู้

 

มีคลิปเพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยที่ไม่ต้องพึ่งยา https://fb.watch/jVX-fLKdDY/

 

ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

มีการสรุปการทำงานประจำเดือนของแต่ละบุคคล

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนกันยายน 65 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสำนักงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามรอบบิลของบริษัทอินเตอร์เน็ต

 

เกิดการขับเคลื่อนงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและการติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

มีการจัดส่งรายงานประจำเดือนรายบุคคลตามขอบเขตงานที่รับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 21 ต.ค. 2565 21 ต.ค. 2565

 

ลงพื้นที่พุดคุยแลกเปลี่ยนจัดทำคลิปเพื่อสื่อสารงาน

 

มีคลิปการส่งเสริมสุขภาพในการขับเคลื่อนงาน https://fb.watch/jV_TLMss6X/

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ต.ค. 2565 30 ต.ค. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามแผนงานโครงการที่กำหนด

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 ต.ค. 2565 30 ต.ค. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ต.ค. 2565 30 ต.ค. 2565

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนของแต่ละบุคคลตามขอบเขตการรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

1.5.2 ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ARE 31 ต.ค. 2565 31 ต.ค. 2565

 

จัดทำสรุปข้อมูลการจัดทำ ARE โครงการย่อยทั้ง 25 โครงการและนำมาสังเคราะห์เพื่อจัดกลุ่มตามลำดับบันไดผลลัพธ์กลางโดยแยกเป็นแต่ละโมเดลตามจุดเน้นยุทธศาสตร์ของจังหวัดชุมพรเพื่อนำมาแลกเปลี่ยนในเวทีโดยมีทีมสนับสนุนวิชาการนำกระบวนการกลุ่มย่อยแต่ละโมเดลเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการขับเคลื่อนโครงการ

 

การติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย : หลังที่เราทำกิจกรรมออกแบบตัวโครงการย่อยแล้วลงพื้นที่ไปขับเคลื่อน ฉะนั้นการติดตามโครงการย่อยจึงเป็นหัวใจสำคัญในการดำเนินงาน ตัวโครงการกำหนดไว้ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดชุมพร ปี 2566-2570 เรื่องชุมพรเมืองน่าอยู่ เศรษฐกิจดีและมีคุณค่า มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับงานยุทธศาสตร์จังหวัดอยู่ 2 ประเด็น
1.) การเสริมสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง มั่นคงจากฐานการเกษตร การค้าและบริการ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับกลุ่มประเด็นที่ทำเรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพ
2.) การสร้างคนคุณภาพ การพัฒนาสังคมแห่งสันติสุข ปลอดภัย และการพัฒนาชุมชนให้มีความมั่นคงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นกลุ่มประเด็นเรื่องการจัดการโรคเรื้อรัง
ประเด็นเกษตรและอาหารปลอดภัย: ตั้งเป้าหมายว่า จะเพิ่มพื้นที่ผลิตผักผลไม้ปลอดภัย และรายได้ครัวเรือน 10% มีตัวชี้วัดที่สำคัญที่จะตอบโจทย์คือ มีพื้นที่ผลิตเพิ่ม, การปรับสภาพแวดล้อมเอื้อ, มีการเชื่อมโยงจัดการตลาดอาหารปลอดภัย, มีรายได้ครัวเรือนเพิ่ม10% ประเด็นเกษตรและอาหารปลอดภัยมีโครงการที่ดำเนินการอยู่ทั้งหมด 16 โครงการ แบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้
- เกษตรฯระดับเครือข่าย มี 3 โครงการ ได้แก่ You Model, ข้าวไร่, สวนยางยั่งยืน - เกษตรฯระดับอำเภอ(สมาพันธ์) มี 3 โครงการ ได้แก่ สมาพันธุ์เกษตรกรรมยั่งยืน SDG PGS สวี-ทุ่งตะโก, ละแม, หลังสวน - เกษตรฯระดับตำบล มี 6 โครงการ ได้แก่ ตำบลหงษ์เจริญ, ตำบลปากทรง, ตำบลนาชะอัง, ตำบลบ้านควน, ตำบลบางน้ำจืด, เกษตร สก. ท่าแซะ
- เกษตรฯระดับหมู่บ้าน มี 4 โครงการ ได้แก่ หมู่บ้านเกาะเสม็ด, หมู่บ้านห้วยตาอ่อน, หมู่บ้านคลองขนาน, หมู่บ้านเขากล้วย ประเด็นการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่: มีเป้าหมายคือ ลดอัตราการเจ็บป่วยโรคเรื้อรังในประชากรกลุ่มเสี่ยง 10% โดยมีตัวชี้วัดที่สำคัญ คือ มีกลไกจัดการสุขภาพและพชต., ปรับพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ 2 ส, มีผู้นำการเปลี่ยนแปลง 7%
ประเด็นการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่มีโครงการทำขับเคลื่อนงานอยู่ทั้งหมด 9 โครงการ แบ่งเป็น 3 ระดับดังนี้ - จัดการNCDsระดับตำบล มี 4 โครงการ ได้แก่ ตำบลนาขา, ตำบลเขาค่าย, ตำบลท่าแซะ, เทศบาลบางหมาก - จัดการNCDsระดับหน่วยบริการ มี 2 โครงการ ได้แก่ แก่งกระทั่งและเขาทะลุ - จัดการNCDsระดับชุมชน มี 3 โครงการ ได้แก่ วัดประเดิม, โพธิการาม, ห้วยไทร โดยให้ทุกโครงการใน 2 ประเด็นที่ว่ามานี้ทำการจัดเก็บข้อมูลใน google Form ซึ่งจะมีการเก็บข้อมูลทั้งหมด 2 ครั้ง ครั้งแรกคือ เดือนที่ผ่านมา ครั้งที่ 2 ในเดือนมีนาคมตอนปิดโครงการนี้ การเก็บข้อมูลนี้เพื่อจะทำการประเมินผลลัพธ์และตัวชี้วัดว่าทำไปแล้วมีผลลัพธ์เกิดขึ้นมากน้อยแค่ไหน รวมไปถึงเชื่อมโยงกับภาคียุทธศาสตร์หลักที่เกี่ยวข้องกับการที่ทำโครงการนี้มีผลลัพธ์หรือมีความสำเร็จอะไรเกิดขึ้นบ้าง และเกิดโมเดลหรือรูปแบบในการทำเรื่องนี้อย่างไร ถ้าโมเดลที่ทำอยู่ประสบความสำเร็จชัดเจน จะสามารถเป็นโมเดลให้แก่หน่วยงานของจังหวัดหรือภาคีหลักที่จะดำเนินงานในเรื่องใกล้เคียงกันได้ การจัดการข้อมูลสารสนเทศสู่ความรู้ การทำงานครั้งเป็นการทำงานแบบกึ่งวิจัยและพัฒนา เพราะฉนั้นหัวใจสำคัญของการวิจัยและพัฒนาคือการจัดการข้อมูล ซึ่งทางทีมงานคาดหวังว่า ทั้ง 25 โครงการ จะมีความรู้ มีทักษะ มีศักยภาพเพิ่มขึ้น สามารถที่จะจัดการข้อมูลได้ในระดับหนึ่งผ่านกิจกรรมที่ทำ ที่ทุกท่านสามารถนำไปต่อยอดกับกิจกรรมอย่างอื่นได้ ซึ่งการจัดการความรู้และข้อมูลสารสนเทศยังเป็นจุดอ่อนของเราอยู่ โดยการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลโครงการต่างๆ ซึ่งมีผู้รับผิดชอบรับผิดชอบประเด็นคือ คุณหนึ่งฤทัย พันกุ่ม ที่จะรับผิดชอบประเด็นเกษตรและอาหารปลอดภัย คุณสมใจ ด้วงพิบูลย์ รับผิดชอบประเด็นการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ ที่ช่วยประมวลและสังเคราะห์ข้อมูลในเชิงประเด็น และนำข้อมูลมาสรุปในภาพรวมของโครงการ เพื่อนำเสนอให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อคืนข้อมูลผลการประเมินเบื้องต้น 18 พ.ย. 2565 18 พ.ย. 2565

 

ทีมประเมินรวบรวมข้อมูลสรุปสังเคราะห์และนำมาพูดคุยประเด็นตามยุทธศาสตร์ของจังหวัดในการขับเคลื่อนเพื่อให้ทางทีมสนับสนุนวิชาการได้ร่วมแลกเปลี่ยนการดำเนินที่มองเห็นเป้าหมายร่วมกันทั้งทีมประเมิน/ทีมจังหวัด

 

ข้อค้นพบ: เกษตรกรและอาหารปลอดภัย - มีระดับของการขับเคลื่อนตามบันไดผลลัพธ์ ใช้บันไดผลลัพธ์เดียวกัน - มีวัตถุประสงค์ กิจกรรม และตัวชี้วัดสอดคล้องกัน - แต่กิจกรรมยังไม่เพียงพอต่อการบรรลุผลลัพธ์
ข้อค้นพบ: การจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ - มีระดับของการขับเคลื่อนตามบันไดผลลัพธ์ ใช้บันไดผลลัพธ์เดียวกัน - มีวัตถุประสงค์ กิจกรรม และตัวชี้วัดสอดคล้องกัน - ข้อมูล Baseline การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ยังไม่ชัดเจน - กิจกรรมยังไม่เพียงพอต่อการบรรลุผลลัพธ์ จุดแข็ง - มีการให้รายละเอียดของผู้รับผิดชอบโครงการได้ครบถ้วน - ชื่อโครงการมีการตั้งชื่อเพื่อสื่อถึงประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องได้ชัดเจน - มีการกำหนดระยะเวลา/แผนการ ดำเนินงานของโครงการที่ขัดเจนและเหมือนกันในทุกโครงการย่อย จุดอ่อน - โครงการย่อยส่วนใหญ่ยังไม่สามารถระบุถึงการใช้ทฤษฎี/ข้อมูล/หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence) สนับสนุนการตัดสินใจหาแนวทางการปัญหาได้ชัดเจน - โครงการย่อยส่วนใหญ่ไม่มีการระบุวิธีการหรือเกณฑ์การคัดเลือกการเป็นตัวแทนที่เหมาะสมที่จะสร้างเป็นต้นแบบที่ดีได้ - โครงการย่อยส่วนใหญ่ไม่มีการวิเคราะห์ภาคีและผู้รับประโยชน์ที่เหมาะสมทั้งในระดับ Strategic Partners และ Boundary Partners ข้อเสนอแนะ Outcome Alignment การดำเนินงาน NF 1. การจัดการและนำเสนอข้อมูลและความรู้จากการปฏิบัติ 2. การสื่อสารสาธารณะที่นำการเปลี่ยนแปลง 3. มีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการย่อยผ่านเว็บไซต์ 4. มีชุดความรู้ที่แลกเปลี่ยนและขยายผลได้ เช่น ปากทรง


  1. ข้อจำกัด: ค่าbaseline การเก็บข้อมูล > การเปลี่ยนแปลงที่มีความชัดเจน
  2. ผลลัพธ์ที่อยากเปลี่ยนแปลงกับวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ไม่สอดคล้องกัน
  3. การบรรลุผลลัพธ์มีข้อมูลเชิงประจักษ์ ขาดวิธีวัดผลที่มีความชัดเจน
  4. ยังขาดการมองโอกาสการส่งต่อภาคียุทธศาสตร์ และภาคีเครือข่าย
  5. การสื่อสาร เน้นแก้ปัญหาบนความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ไม่ได้นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
  6. ช่องว่างความเข้าใจงานของพี่เลี้ยงใหม่และพี่เลี้ยงเก่า โครงการย่อย
  7. บางวัตถุประสงค์เชิงผลลัพธ์ของโครงการย่อยไม่สอดคล้องกัน ส่งผลต่อการวัดผลผลิตและผลลัพธ์
  8. การบรรลุผลลัพธ์มีข้อมูลเชิงประจักษ์ ขาดวิธีวัดผลที่มีความชัดเจน ภาคียุทธศาสตร์
  9. อยู่ระหว่างการประสาน
  10. มีการพูดคุยกับ กยท. / กษ/สสจ/สปก/อบจ. (มีเจ้าหน้าที่เกษียณ) *** ควรมีการเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นค่า Baseline เช่นรายได้, การดึงนักวิชาการเข้ามาช่วย*** การทำ NF จะพยายามเชื่อมโยงประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด ถ้าจะทำให้เห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้นอาจจะต้องไล่แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดให้ชัดว่ามีเรื่องอะไรบ้าง KPI อะไรที่เราจะทำโมเดลเพื่อเชื่อต่อกับยุทธศาสตร์จังหวัด เช่น ข้อที่ว่า การเสริมสร้างเศรษฐกิจจังหวัดให้เติบโตอย่างต่อเนื่องฯ ซึ่งน่าจะเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์จังหวัด อาจจะต้องวงเล็บข้อที่มาที่ไปในการอ้างอิงว่าเอามาจากตรงไหน, 1% ของพื้นที่เกษตรเป็นเกษตรยั่งยืนโดยเป็นเกษตรอินทรีย์ เป็น KPI ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานไหน มันจะเชื่อมร้อยได้ว่า KPI ตัวนี้มีหน่วยงานไหนที่รับเป็นเจ้าภาพขับเคลื่อนงานอยู่  โมเดล NF การทำงานไหนที่ตอบโจทย์ KPI ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าเราต้องทำงานกับภาคียุทธศาสตร์ใดบ้างและภาคีจะรู้ว่า KPI ที่เขารับผิดชอบและเราจะสามารถมาเชื่อมต่อให้เขามาเรียนรู้คือหน่วยงานไหนบ้าง กิจกรรมการดำเนินงาน อยากให้อธิบายเพิ่มเติมว่ามีข้อสังเกตุอย่างไรกับการประเมินคุณภาพโครงการและมีข้อสังเกตุใดในการประเมินกิจกรรม ความหมายในการใช้บันไดผลลัพธ์อาจจะต้องขยายความเพิ่มเรื่องการใช้บันไดผลลัพธ์ ควรใช้บันไดผลลัพธ์เดียวกันหรือควรจะแยกใช้บันไดผลลัพธ์ ควรมีการสรุปตามโมเดล เช่น เกษตรมี 4 โมเดล ซึ่งมีจุดจัดการที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ชุมชน ตำบล เครือข่าย อำเภอ บอกถึงระดับความก้าวหน้าหรือมีข้อสังเกตในแต่ละโมเดล ซึ่งอาจจะมีประโยชน์กับทางทีมจัดการในการติดตามงาน

 

1.4.1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าและบทเรียนระหว่างการดำเนินงานหน่วยจัดการระดับจังหวัด 29 พ.ย. 2565 29 พ.ย. 2565

 

บทเรียนรู้ด้านการบริหารหน่วยจัดการ: (1)การบริหารจัดการทีมหน่วยจัดการ
-ขอให้นำเสนอแผนภาพการจัดโครงสร้างทีมงานในปัจจุบันของหน่วยจัดการ ที่แสดงให้เห็นบทบาทและชื่อทีมงานตามโครงสร้าง พร้อมทั้งอธิบายว่าที่ผ่านมาท่านได้มีการปรับโครงสร้างอย่างไรบ้าง (ถ้ามี) -สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้ด้านการจัดโครงสร้างทีมงาน การกำหนดบทบาท รูปแบบการบริหารจัดการทีมหรือ workflow ในการทำงานภายในทีม ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็น  ข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการดำเนินงาน (2)สมรรถนะและศักยภาพหัวหน้าหน่วยจัดการและทีมงาน
-ขอให้ระบุชื่อหัวหน้าหน่วยจัดการและพี่เลี้ยงทุกคน และประเมินว่ามีสมรรถนะอะไรที่ทำได้ดีแล้วหรือต้องพัฒนาเพิ่มเติมโดยเฉพาะเรื่องการพัฒนาโครงการ ติดตามผลลัพธ์ (ARE) ถอดบทเรียน พร้อมทั้งอธิบายว่าที่ผ่านมาหน่วยจัดการได้มีการพัฒนาทีมงานอย่างไรบ้าง -สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็นข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการพัฒนาศักยภาพทีมงาน (3)ข้อมูลผลลัพธ์การดำเนินงาน
-สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็นข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการจัดการข้อมูลผลลัพธ์ทั้งในระดับโครงการย่อยและระดับประเด็นยุทธศาสตร์ ครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบเก็บข้อมูล การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล การนำใช้ประโยชน์จากข้อมูลผลลัพธ์ในการสร้างการเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์และการปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยจัดการ
(4)บทเรียนและข้อเรียนรู้อื่นๆ (ถ้ามี)   2.เป้าหมาย/บันไดผลลัพธ์หน่วยจัดการในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์
-  ขอให้ประมวลความสำเร็จจากการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ตามบันไดผลลัพธ์หน่วยจัดการในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยจัดการได้ตั้งเป้าหมายไว้ โดยขอให้อธิบายความสำเร็จในแต่ละตัวชี้วัดผลลัพธ์ให้ชัดเจน มีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ และขอให้นำเสนอข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ (Baseline) เปรียบเทียบกับข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงตามตัวชี้วัดผลลัพธ์
-  สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้สำคัญในช่วงที่ผ่านมา ที่ทำให้เกิดความสำเร็จ/ไม่สำเร็จในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุตามบันไดผลลัพธ์หน่วยจัดการในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งในส่วนที่เป็นปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ไม่ควรทำ เพื่อจะได้เป็นข้อเรียนรู้สำหรับการปรับปรุงงานในช่วงเวลาที่เหลือ 


3) ผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการย่อยตามโมเดล - ขอให้ประมวลความสำเร็จจากการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ตามบันไดผลลัพธ์โครงการย่อยในทุกโมเดลที่หน่วยจัดการได้ตั้งเป้าหมายไว้ โดยขอให้อธิบายความสำเร็จในแต่ละตัวชี้วัดผลลัพธ์ให้ชัดเจน มีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ และขอให้นำเสนอข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ (Baseline) เปรียบเทียบกับข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงตามตัวชี้วัดผลลัพธ์
-  ขอให้จัดทำตารางสรุปผลลัพธ์โครงการย่อยทุกโครงการตามตัวชี้วัดบันไดผลลัพธ์ที่หน่วยจัดการได้ออกแบบเก็บข้อมูลจากโครงการย่อย เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการอธิบายความสำเร็จในแต่ละโมเดลที่ดำเนินการ

 

บทเรียนโครงการย่อย : กำรเกิดผลลัพธ์โครงกำรย่อยและโมเดลต้นแบบที่สอดคล้องกับผลลัพธ์ของจังหวัด :  ) การเลือกพื้นที่และพัฒนาโครงการย่อย มีข้อเรียนรู้ว่ำ
1.1 กระบวนกำรเปิดรับข้อเสนอโครงกำรเป็นขั้นตอนที่ส ำคัญ Node Flagship ควรมีกระบวนกำร วิเครำะห์วิธีกำรในกำรประชำสัมพันธ์ให้กับกลุ่มเป้ำหมำยที่มีควำมสนใจในประเด็นที่ต้องกำร แก้ปัญหำหรือพัฒนำชุมชนของตนเองมำพูดคุยปัญหำ และพัฒนำข้อเสนอโครงกำร จำกกระบวนกำร นี้ จะท ำให้ Node Flagship ได้ชุมชนที่มีควำมต้องกำรในกำรพัฒนำชุมชนของตนเองอย่ำงแท้จริง
สำมำรถด ำเนินโครงกำรและบรรลุผลลัพธ์ตำมแนวทำงของส ำนักได้ 1.2 กำรพั ฒนำข้อเสนอโครงกำรเพื่อให้ได้มำซึ่งโครงกำรย่อยและผลลัพธ์โครงกำรย่อยตำมประเด็น ยุทธศำสตร์ ต้องมำจำกกำรวิเครำะห์ปัญหำในพื้นที่ที่ชัดเจน มีข้อมูลพื้นฐำนครบทุกมิติ ท ำให้สำมำรถ พัฒนำโครงกำรที่ก ำหนดผลลัพธ์ได้ชัดเจน ในกระบวนกำรดังกล่ำวจะส่งผลให้แกนน ำของโครงกำร ย่อยมีควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อเป้ำหมำยตำมประเด็นยุทธศำสตร์ที่ด ำเนินกำร และสำมำรถพัฒนำ ข้อเสนอโครงกำรที่มีคุณภำพได้ รวมถึงมีควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อกำรด ำเนินงำนเชิงผลลัพธ์ และสำมำรถ ออกแบบบริหำรโครงกำรได้ตำมแผนกำรด ำเนินงำนจนเกิดผลลัพธ์ตำมเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ 1.3 กระบวนกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนโครงกำรที่จะประสบผลส ำเร็จได้ดีนั้น จะต้องเลือกพื้นที่มีปัญหำ และควำมต้องกำรสอดคล้องตรงตำมประเด็นยุทธศำสตร์อย่ำงแท้จริง และสอดคล้องตำมโมเดลของ หน่วยจัดกำร หรือบำงหน่วยจัดกำรเลือกพื้นที่ที่เผชิญวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อจังหวัด เช่น จังหวัด ล ำปำงเลือกพื้นที่ที่วิกฤตหมอกควัน ซึ่งเกิดจำกควำมเห็นของภำคีเครือข่ำย และจะท ำให้เกิดควำม ร่วมมือของภำคีเครือข่ำยที่จะร่วมขยำยผลโมเดลต้นแบบในอนำคต เป็นต้น รวมถึงจะต้องเลือกพื้นที่ ที่แกนน ำโครงกำรย่อยเห็นถึงปัญหำและควำมส ำคัญในกำรขับเคลื่อนตำมโมเดลกำรด ำเนินงำนของ หน่วยจัดกำร และมีควำมพร้อมต่อกำรด ำเนินโครงกำร จึงจะท ำให้โครงกำรบรรลุผลตำมที่ก ำหนดไว้ 1.4 กำรพัฒนำข้อเสนอโครงกำรจะต้องน ำบันไดผลลัพธ์โมเดลเป็นแนวทำงในกำรชวนแกนน ำโครงกำร ย่อยพัฒนำโครงกำร ท ำให้เป้ำหมำยและตัวชี้วัดมีควำมชัดเจน และมีควำมสอดคล้องกับประเด็น ยุทธศำสตร์ 1.5 กำรพัฒนำโมเดลที่ประกอบด้วยตัวชี้วัด หรือกิจกรรมส ำคัญที่เป็นมำตรฐำนของกำรด ำเนินงำนต้องมำ จำกกำรถอดบทเรียนกำรด ำเนินงำนของพื้นที่ต้นแบบ และมีกำรน ำบริบทของพื้นที่ต้นแบบมำ วิเครำะห์เพื่อก ำหนดเกณฑ์กำรคัดเลือกพื้นที่ที่จะทดลองพัฒนำแต่ละโมเดล ซึ่งจะน ำไปสู่กำรพัฒนำ ข้อเสนอโครงกำรย่อยที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ของหน่วยจัดกำร 2) องค์ประกอบและคุณลักษณะของคณะท างานโครงการย่อย เป็นจุดเริ่มต้นและมีบทบำทส ำคัญต่อกำร ผลักดันและขับเคลื่อนงำนให้บรรลุผลลัพธ์ ได้มีข้อเรียนรู้ดังนี้
2.1 องค์ประกอบของคณะท ำงำนจะต้องมีควำมครบถ้วน ซึ่งจะเป็นใครบ้ำงนั้น จะมีควำมแตกต่ำงกันใน แต่ละประเด็นที่ด ำเนินกำร โดยมีข้อเรียนรู้ว่ำ  คณะท ำงำนจะต้องมีกำรแบ่งบทบำทชัดเจน โดยบทบำทที่ควรจะมีในแต่ละโครงกำร คือ คนวำงแผน ค้นหำกลุ่มเป้ำหมำย สร้ำงควำมร่วมมือกับกลุ่มเป้ำหมำยและภำคีอื่นๆ ในพื้นที่
2 จัดกำรข้อมูล (เก็บและวิเครำะห์) กระตุ้นติดตำมกลุ่มเป้ำหมำยอย่ำงต่อเนื่อง สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ และพำกลุ่มเป้ำหมำยท ำกิจกรรม  กำรคัดเลือกคณะท ำงำนที่หลำกหลำยช่วงวัย และกำรก ำหนดเกณฑ์กำรคัดเลือกเข้ำมำเป็น คณะท ำงำนมีส่วนท ำให้กำรขับเคลื่อนโครงกำรมีประสิทธิภำพและบรรลุตำมบันไดผลลัพธ์ที่ วำงไว้ แต่ทั้งนี้ในช่วงก่อตัวเริ่มต้น ต้องควรเน้นบุคคลที่มีจิตอำสำ (มีใจ) เพรำะจะสำมำรถ เคลื่อนงำนไปได้แต่ถ้ำเลือกคณะท ำงำนจำกที่มีบทบำทหน้ำที่แต่ไม่มีใจก็เป็นอุปสรรคใน กำรขับเคลื่อนโครงกำร 2.2 คุณลักษณะส ำคัญของคณะท ำงำนโครงกำร จะต้องมีควำมมุ่งมั่นตั้งใจที่จะเรียนรู้ มีแรงบันดำลใจ เห็นควำมส ำคัญและเชื่อมั่นกำรด ำเนินงำนของโครงกำรจะสำมำรถสร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงได้ มีควำม รับผิดชอบและมีวินัยในตนเอง สำมำรถคิดสร้ำงสรรค์กิจกรรมสุขภำพได้ 3) วิธีการท างานของคณะท างานโครงการย่อย มีข้อเรียนรู้ดังนี้ 3.1 มีกำรก ำหนดเป้ำหมำยที่ชัดเจนและทุกคนรับทรำบเข้ำใจตรงกัน
3.2 มีกำรแบ่งบทบำทภำรกิจชัดเจน โดยจะต้องเลือกคนให้เหมำะสมกับงำนตำมควำมถนัด เป็นสิ่ง ส ำคัญที่จะท ำให้กำรท ำงำนเกิดประสิทธิภำพ 3.3 มีกำรท ำงำนแบบมีส่วนร่วมตั้งแต่กำรร่วมคิด ร่วมท ำ ร่วมติดตำม โดยใช้แผนปฏิบัติกำรเพื่อควบคุม และก ำกับงำน
3.4 มีกำรใช้ข้อมูลในกำรท ำงำน (เช่น ข้อมูลสถำนกำรณ์ปัญหำ ข้อมูลผลลัพธ์ เป็นต้น) โดยน ำมำพูดคุย เพื่อน ำสู่กำรปรับปรุงงำนเป็นระยะตลอดโครงกำร
3.5 แกนน ำเป็นตัวอย่ำงที่ดีมีกำรพัฒนำตนเองและเป็นผู้น ำกำรเปลี่ยนแปลง 4) ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะส าคัญของคณะท ำงำนโครงกำรย่อยที่ส่งผลต่อกำรด ำเนินงำน มีดังนี้
4.1 ด้ำนควำมรู้ควำมเข้ำใจ มีดังนี้
 ควำมเข้ำใจผลลัพธ์ กำรด ำเนินงำนและกำรออกแบบกำรเก็บข้อมูลเพรำะจะท ำให้สำมำรถเก็บ ผลลัพธ์จำกกำรด ำเนินงำนได้ครบถ้วน
 ควำมรู้ควำมเข้ำใจกำรบริหำรจัดกำรโครงกำร โดยเฉพำะกำรจัดกำรเอกสำรทำงกำรเงินและ กำรใช้จ่ำยงบประมำณของโครงกำร  ควำมรู้ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ขับเคลื่อนของโครงกำรย่อย เช่น กำรปรับพฤติกรรมสุขภำพ ของผู้สูงอำยุ เป็นต้น
4.2 ด้ำนทักษะกำรด ำเนินงำน มีดังนี้
 ทักษะกำรด ำเนินงำนแบบมีส่วนร่วมของแกนน ำและกลุ่มเป้ำหมำย และกำรออกแบบกำร ประชุมที่สร้ำงส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง มีข้อมูลน ำเข้ำโดยเฉพำะข้อมูลส ำคัญตำมบันไดผลลัพธ์ ที่จะน ำมำพูดคุยเพื่อน ำมำปรับปรุงกำรด ำเนินงำน และก ำหนดบทบำทของคณะท ำงำนแต่ ละส่วน เพื่อให้สำมำรถขับเคลื่อนงำนต่อได้
 ทักษะกำรคลี่บันไดผลลัพธ์ เพื่อท ำควำมเข้ำใจโครงกำรร่วมกัน รวมถึงมีกำรประชุมพูดคุยถึง ผลลัพธ์กำรท ำงำนและปัญหำที่เกิดขึ้น เพื่อปรับปรุงและต่อยอดงำน 3  ทักษะกำรแสวงหำช่องทำงและประสำนควำมร่วมมือและสร้ำงกำรมีส่วนทั้งในชุมชนและภำคี เครือข่ำยภำยนอกชุมชนเพื่อผลักดันกำรด ำเนินงำนก้ำวไปข้ำงหน้ำอย่ำงต่อเนื่อง 5) การพัฒนาศักยภาพคณะท างานโครงการย่อย
5.1 กำรประเมินทักษะสมรรถนะรำยบุคคลของคณะท ำงำนโครงกำรเป็นบทบำทของหน่วยจัดกำร เพื่อให้ คณะท ำงำนโครงกำรเกิดกำรรับรู้และกำรพัฒนำยกระดับขีดควำมสำมำรถ 5.2 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องได้รับกำรพัฒนำศักยภำพที่เหมำะสมอย่ำงต่อเนื่องตำมช่วงระยะเวลำ ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมของโครงกำรส ำหรับน ำขับเคลื่อนงำนให้บรรลุตำมเป้ำหมำย ได้แก่ ควำมเข้ำใจ เรื่องบันไดผลลัพธ์ ผ่ำนสื่อในรูปแบบต่ำงๆ ให้แกนน ำเข้ำใจและปรับใช้กับกำรท ำงำนได้ ควำมพัฒนำ ควำมรู้ในประเด็นเฉพำะที่โครงกำรเลือกด ำเนินงำน กำรเตรียมควำมพร้อมเรื่องกำรส ำรวจข้อมูล กำร ใช้เครื่องมือ ARE , กำรจัดเก็บข้อมูล , กำรสร้ำงสรรค์กิจกรรมที่สำมำรถน ำไปสู่ผลลัพธ์ เป็นต้น
6) การจัดการข้อมูลของโครงการย่อย มีดังนี้
6.1 แกนน ำโครงกำรย่อยจะต้องรู้ว่ำมีข้อมูลส ำคัญอะไรบ้ำงที่จ ำเป็นส ำหรับกำรด ำเนินงำน ซึ่งข้อมูลส ำคัญ นี้จะต้องเป็นข้อมูลที่สอดคล้องตำมบันไดผลลัพธ์ โดยจะต้องมีข้อมูลตั้งต้น (baseline) และข้อมูลที่ แสดงถึงผลลัพธ์กำรเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลำ
6.2 กำรจัดกำรข้อมูลโครงกำรย่อยจะต้องเป็นระบบ (ตั้งแต่กำรออกแบบเก็บข้อมูล ใครเป็นผู้เก็บข้อมูล และผู้ประมวลข้อมูล กำรใช้ประโยชน์ของข้อมูล) ที่สำมำรถใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่ำงภำคี ปฏิบัติกำรในพื้นที่ (เช่น รพ.สต.) และโครงกำรย่อย รวมถึงกำรน ำใช้ข้อมูลเพื่อให้กลุ่มเป้ำหมำยเกิด ควำมตระหนักในกำรเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง เช่น สถำนะทำงสุขภำพรำยบุคคลที่สะท้อนโรคต่ำงๆ
ข้อมูลกำรเกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น 6.3 กำรออกแบบเครื่องมือหรือแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ควรออกแบบให้ชัดเจน ครอบคลุมตำมตัวชี้วัดใน บันไดผลลัพธ์ เก็บข้อมูลได้ง่ำยตำมบริบทของพื้นที่ และทีมพี่เลี้ยงจะต้องช่วยคณะท ำงำนโครงกำร ย่อย ทบทวนและปรับปรุงแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ เพื่อให้เกิดควำมชัดเจน ถูกต้อง ครบถ้วนและ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 6.4 กำรท ำให้โครงกำรย่อยเห็นควำมส ำคัญของกำรออกแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ตำมตัวชี้วัดตั้งแต่ก่อนเริ่ม โครงกำร เพรำะจำกข้อเรียนรู้ที่ผ่ำนมำพบว่ำ โครงกำรย่อยมีจุดอ่อน/ช่องว่ำงในเรื่องนี้ แม้มีกำร ด ำเนินกำรขับเคลื่อนงำนได้ดี แต่ไม่มีข้อมูลหลักฐำนในเชิงปริมำณและคุณภำพ นอกจำกนี้พี่เลี้ยง จะต้องมีกำรชวนตั้งข้อสังเกต หรือ เอ๊ ะ อยู่เสมอถึงกำรจัดกำรข้อมูลของโครงกำรย่อย เช่น
“เก็บหรือยัง” “ข้อมูลเป็นอย่ำงไรบ้ำง” “ข้อมูลที่น่ำสนใจคืออะไร” “ได้น ำไปใช้ประโยชน์อย่ำงไร” 6.5 กำรเก็บข้อมูลและกำรคืนข้อมูล  ควรจัดกำรระบบข้อมูล และตั้งวงพูดคุยหรือสอบทำนควำมชัดเจนของข้อมูลผลลัพธ์ ทั้งระดับ โครงกำรย่อย ตั้งวงพี่เลี้ยงเพื่อประมวลและทบทวนควำมครบถ้วนชัดเจนของข้อมูลในแต่ละ โมเดล มีกำรสอบทำนข้อมูลร่วมกับตัวแทนโครงกำรย่อยกับหน่วยจัดกำร เมื่อพบว่ำข้อมูลใดไม่ ชัดเจนอำจจะมอบหมำยพี่เลี้ยงให้กลับไปชวนแกนน ำเก็บเพิ่มหรือประมวลใหม่จนได้ข้อมูลที่ 4 ชัดเจน และต้องใช้ข้อมูลสื่อสำรหรือส่งต่อ เพื่อให้ประโยชน์ร่วมกับภำคียุทธศำสตร์ส ำคัญที่จะ ก ำหนดแนวทำงกำรขยำยผลในอนำคต  คณะท ำงำนโครงกำรย่อยควรมีกำรคืนข้อมูลส ำคัญให้กับบุคลที่เกี่ยวข้อง เช่น (1) คืนข้อมูล รำยบุคคลให้กับทุกคน เช่น เรื่องควำมเค็มในอำหำรที่กลุ่มเป้ำหมำยก ำลังรับประทำนในวันนั้น
โดยใช้เครื่องตรวจวัดควำมเค็ม เป็นต้น (2) คืนข้อมูลรำยหมู่บ้ำน (3) คืนข้อมูลให้กับ คณะท ำงำน เป็นต้น  กำรคืนข้อมูลจะต้องชวนคุยกันถึงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดของโครงกำรให้ชัดเจน และกำรติดตำมผล กำรด ำเนินงำนในแต่ละครั้งให้น ำเสนอข้อมูลทั้งเชิงคุณภำพ เชิงปริมำณและตัวเลข 7) การด าเนินกิจกรรมของคณะท างานโครงการย่อย
7.1 มีก ำหนดระยะเวลำในกำรด ำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรมชัดเจน และมีควำมเป็นไปได้เมื่อลงมือท ำ (ท ำได้ จริงๆ ในพื้นที่) เพื่อให้คณะท ำงำนทุกคนเข้ำใจและปฏิบัติตำมแผนงำนที่วำงไว้ร่วมกัน
7.2 มีกำรพูดคุยท ำควำมเข้ำใจกับกลุ่มเป้ำหมำย ผู้น ำชุมชน ผู้เกี่ยวข้องให้เข้ำใจในสิ่งที่คณะท ำงำนก ำลัง ด ำเนินกำรในหมู่บ้ำนนั้นๆ รวมถึงกำรรับฟังปัญหำ ควำมคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้ำหมำย กำร ร่วมสร้ำงกฎ ก ำหนดกติกำข้อตกลงของชุมชนแบบมีส่วนร่วมที่คนในชุมชนได้ร่วมกันก ำหนดเอง และ ทุกคนมีส่วนร่วมรับรู้จนเกิดกำรยอมรับในกำรน ำไปปฏิบัติ เพื่อสร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงและจัดกำร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกัน 7.3 กำรด ำเนินกิจกรรมจะต้องมีกระบวนกำรตำมขั้นตอนอย่ำงเป็นระบบ สอดคล้องตำมบันไดผลลัพธ์
และด ำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง สร้ำงกำรมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น กิจกรรมกำรบริหำรจัดกำรป่ำอย่ำง ต่อเนื่องทั้งปี (จังหวัดล ำปำง) เพรำะหำกไม่สำมำรถด ำเนินกำรต่อเนื่อง จะไม่สำมำรถเปลี่ยน พฤติกรรมกลุ่มเป้ำหมำยได้ 7.4 กำรด ำเนินกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะมีควำมแตกต่ำงตำมบริบททั้งของบุคคลและกิจกรรม
ดังนั้นคณะท ำงำนจะต้องค้นหำกิจกรรมที่เหมำะสม และด ำเนินแนวทำงนั้นอย่ำงต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมออกก ำลังกำยที่บ้ำนอย่ำงง่ำยๆ เพื่อให้กลุ่มเป้ำหมำยเป็นตัวเลือกกำรออกก ำลังกำย เป็นต้น 8) การสื่อสารของคณะท างานโครงการย่อย 8.1 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องมีกำรสื่อสำรควำมก้ำวหน้ำกำรด ำเนินงำนโครงกำร และควำมส ำเร็จ ที่แตกต่ำงจำกภำรกิจปกติของภำคียุทธศำสตร์ใน 3 กลุ่มส ำคัญ ได้แก่ (1) คณะท ำงำน (2) กลุ่ม เป้ำหมำย (3) ภำคีในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้อง โดยเป็นกำรสื่อสำรในช่องทำงต่ำงๆ อย่ำงต่อเนื่องสม่ ำเสมอ เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค เวทีประชุมต่ำงๆ เป็นต้น
8.2 หน่วยจัดกำรก ำหนดข้อตกลงด้ำนสื่อสำรผลลัพธ์กำรด ำเนินงำนกับโครงกำรย่อย โดยให้ทุกโครงกำร ย่อยจัดท ำภำพข่ำวกิจกรรมตำมสไตล์ และเผยแพร่ผ่ำนหน่วยงำน/องค์กร/เฟซบุ๊ค/ไลน์กลุ่มทั้งใน ระดับหน่วยจัดกำร ทีมสนับสนุนวิชำกำร และโครงกำรย่อย ท ำให้เกิดแรงกระเพื่อมในกำรกระตุ้นกำร ท ำงำนระหว่ำงพื้นที่และทีมพี่เลี้ยง สร้ำงกำรเรียนรู้ควำมก้ำวหน้ำและวิธีกำรท ำงำนของกลไก คณะท ำงำนผ่ำนสื่อภำพข่ำว และสะท้อนถึงพลังกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนศักยภำพ “เก่งขึ้น” และเรียนรู้
“มำกขึ้น” 5 9) การมีส่วนร่วมและการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกเหนือจำกกำรสร้ำงควำมมือ เฉพำะคณะท ำงำนโครงกำรย่อย กล่ำวคือ 9.1 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องได้รับควำมร่วมมือ และกำรสนับสนุนหนุนเสริมจำกภำคีปฏิบัติกำร ในพื้นที่ที่เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรขับเคลื่อนโครงกำร ร่วมพัฒนำศักยภำพโครงกำรย่อย เช่น
ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดที่ท ำให้ตัวชี้วัดเรื่องยุวเกษตรเกิดผลลัพธ์ที่ชัดเจน (กรณีจังหวัดนครปฐม) รวมถึงสร้ำงขวัญก ำลังใจและควำมเชื่อมั่นให้ชุมชน 9.2 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องท ำให้ภำคีเข้ำใจเป้ำหมำยกำรด ำเนินงำนตำมประเด็นยุทธศำสตร์ เห็นควำมส ำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้นหำกไม่ด ำเนินกำรในเรื่องนี้ รวมถึงกำรท ำเกิดกำรเรียนรู้ ร่วมกันขององค์กรชุมชน/หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ มีกำรวำงแผนและเข้ำใจแผนกำรท ำงำน ร่วมกัน ออกแบบและท ำงำนร่วมกัน โดยมีกำรระบุบทบำทของภำคีให้ชัดเจนว่ำจะเข้ำมำมีส่วนร่วม หรือเสริมหนุนเรื่องใด ในกิจกรรมหรือขั้นตอนใด ซึ่งเป็นปัจจัยส ำคัญที่จะท ำให้โครงกำรประสบ ควำมส ำเร็จ เช่น ชมรมผู้สูงอำยุระดับต ำบล โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบล โรงพยำบำลชุมชน
ช่ำงชุมชน นำยช่ำงเทศบำล/อบต. (กรณีจังหวัดชัยนำท ประเด็นผู้สูงอำยุ) 9.3 กำรเชื่อมแผนงำนระหว่ำงหน่วยงำนในพื้นที่จะช่วยท ำให้เกิดกำรบูรณำกำรงำนและข้อมูลรวมถึง ทรัพยำกรและงบประมำณในกำรหนุนเสริม ทั้งในส่วนวัสดุ อุปกรณ์ บุคลำกร ในระดับต ำบล อ ำเภอ
และจังหวัดในกำรท ำงำนร่วมกัน และร่วมกันชี้เป้ำหมำยประเด็นกำรแก้ไขปัญหำคุณภำพชีวิตที่ตรง ควำมต้องกำรและปัญหำบริบทของพื้นที่อย่ำงแท้จริงซึ่งจะไม่ใช่กำรเลือกจำกปัญหำของหน่วยงำน ใดหน่วยงำนหนึ่ง 9.4 หน่วยจัดกำรวิเครำะห์ถึงแหล่งทรัพยำกรที่สนับสนุนกำรด ำเนินงำนของโครงกำรย่อย เช่ น Node Flagship จังหวัดชัยนำท สนับสนุนเรื่องกำรขอรับงบประมำณจำกกองทุนฟื้นฟูสมรรถนะคนพิกำร และผู้สูงอำยุระดับจังหวัด ซึ่งมี อบจ. เป็นผู้ ดูแลกองทุนดังกล่ำวมำให้ปรับสภำพบ้ำนให้กับผู้สูงอำยุ ตำมแผน “ท ำให้” ที่แต่ละต ำบลต้นแบบเสนอขอ หรือรับกำรสนับสนุนกิจกรรมกำรส่งเสริมกำรออก ก ำลังกำยของเด็กนักเรียน ซึ่งได้รับโครงกำรอบรมกำรว่ ำยน้ ำและบุคคลำกรที่เป็นเจ้ำหน้ำที่พลศึกษำ ประจ ำอ ำเภอ (ส ำนักงำนกีฬำและกำรท่องเที่ยวจังหวัดชัยนำท) เข้ำมำร่วมด ำเนินกิจกรรมกับ โรงเรียนที่ Node Flagship จังหวัดชัยนำทสนับสนุนโครงกำร ทั้งนี้ เหตุผลส ำคัญที่ท ำให้ทรัพยำกร จำกภำคียุทธศำสตร์จังหวัดไปหนุนเสริมโครงกำรย่อยได้เป็นเพรำะ Node Flagship จังหวัดชัยนำท ท ำหน้ำที่เป็นตัวกลำงในกำรช่ วยเชื่อมประสำน และช่ วยจัดท ำเอกสำรส ำคัญส ำหรับขอรับ งบประมำณ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรของบจำกกองทุนฟื้ นฟูฯ ที่มีเอกสำรที่ค่อนข้ำงยุ่งยำก 10) การติดตามผลลัพธ์การด าเนินงาน (ARE ระดับชุมชน) โดยโครงกำรย่อยจะต้องมีกำรติดตำมและ สะท้อนผลกำรด ำเนินงำนเพื่อ วำงแผนกำรปรับปรุงงำน ซึ่งมีบทเรียนข้อเรียนรู้ดังนี้
10.1) กำรติดตำมควำมส ำเร็จโดยทีมวิชำกำร (พี่เลี้ยง) และทีมพี่เลี้ยงในพื้นที่
 พี่เลี้ยงจะต้องมีแผนกำรติดตำมที่ชัดเจน ด ำเนินกำรติดตำม กระตุ้น หนุนเสริมชุมชนอย่ำง ต่อเนื่อง (ลงพื้นที่ประมำณ 3-4 ครั้งตลอดระยะเวลำโครงกำร) โดยใช้ กำรติดตำม ประเมินผลเชิงผลลัพธ์ ท ำให้สำมำรถน ำผลกำรด ำเนินงำนมำออกแบบและปรับปรุงแนว ทำงกำรด ำเนินงำนของชุมชน รวมถึงพี่เลี้ยงจะต้องร่วมด ำเนินกำรชี้แจงโครงกำรกับ 6 โครงกำรย่อยในพื้นที่ในครั้งแรก เพื่อท ำให้คณะกรรมกำร กลุ่มเป้ำหมำยเข้ำใจแนวทำงกำร ด ำเนินงำนที่ชัดเจน และได้รับควำมร่วมมือในกำรด ำเนินงำน  พี่เลี้ยงต้องมีควำมเข้ำใจอย่ำงถ่องแท้ ชัดเจน ในขั้นตอนกระบวนกำร สำมำรถคลี่บันได ผลลัพธ์ได้อย่ำงดี ซึ่งจะสร้ำงควำมมั่นใจเกิดควำมร่วมมือได้ พี่เลี้ยงจึงควรมีส่วนร่วมในทุก กิจกรรม ในแง่กำรเสริมพลัง เสนอแนะ แนะน ำ ให้ค ำปรึกษำ กระตุ้น สร้ำงแรงจูงใจ โดยไม่ ท ำให้คณะท ำงำนและสมำชิกเกิดควำมรู้สึกว่ำถูกกดดัน ถูกจับผิด ซึ่งจะมีผลอย่ำงมำกต่อ ควำมส ำเร็จหรือล้มเหลวของโครงกำร  พี่เลี้ยงต้องมีกำรสนับสนุนให้ชุมชนเก็บข้อมูลผลลัพธ์ ของโครงกำรย่อยและหนุนเสริมให้มี กำรน ำข้อมูลที่เกิดขึ้นมำวิเครำะห์และตอบตัวชี้วัดตำมบันไดผลลัพธ์ได้ รวมถึงวิเครำะห์ ควำมเสี่ยงของโครงกำรย่อยที่อำจจะส่งผลต่อกำรด ำเนินงำนที่ไม่บรรลุตำมผลลัพธ์ เช่น
ข้อมูลสถำนกำรณ์และปัญหำต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น ควรมีกำรน ำมำเปรียบเทียบและวิเครำะห์ให้ ชัดเจน และมีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่ำงพี่เลี้ยงและคณะท ำงำนโครงกำรย่อยอย่ำง สม่ ำเสมอ เพื่อทบทวนผลลัพธ์ ระหว่ำงด ำเนินโครงกำร  พี่เลี้ยงต้องมีแนวทำงกำรประเมินควำมเสี่ยงของโครงกำร ตั้งเกณฑ์ประเมินควำมเสี่ยงให้ ชัดเจน หรือใช้เครื่องมือของส ำนัก และประเมินเป็นระยะๆ เพื่อจะได้วำงแผนกำรหนุน เสริมได้ทันกับสถำนกำรณ์ของโครงกำรย่อย และควรน ำกระบวนกำร ARE ไปใช้ในกำร ติดตำมควำมก้ำวหน้ำโครงกำรและเสริมพลังชุมชนให้ทันต่อกำรแก้ปัญหำของโครงกำรย่อย รวมถึงสร้ำงควำมเข้ำใจในหน้ำที่ของแต่ละคนที่จะหนุนเสริมกำรด ำเนินงำนของโครงกำร ย่อยให้สำมำรถบรรลุผลลัพธ์ตำมบันได้ผลลัพธ์ให้กับทีมงำนหน่วยจัดกำร  พี่เลี้ยงแบ่งโครงกำรย่อยดูแลตำมเงื่อนไขที่เหมำะสม เช่น กำรแบ่งตำมสมรรถนะหรือ ควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญในประเด็นที่หน่วยจัดกำรขับเคลื่อน แบ่งตำมพื้นที่ที่พี่เลี้ยงสะดวก ต่อกำรไปติดตำมหนุนเสริมโครงกำรได้ต่อเนื่อง เป็นต้น
10.2) กำรติดตำมควำมส ำเร็จโดยแกนน ำโครงกำรย่อย มีกำรติดตำมควำมส ำเร็จเป็นประจ ำสม่ ำเสมอตำมบันไดผลลัพธ์ โดยแกนน ำโครงกำรย่อย จะต้องรู้ว่ำข้อมูลส ำคัญอะไรที่จะต้องน ำมำพูดคุยเพื่อติดตำมควำมส ำเร็จ หรือพูดคุยถึง ผลลัพธ์กำรท ำงำนและปัญหำที่เกิดขึ้น เพื่อปรับปรุงและต่อยอดงำน ระยะเวลำกำรติดตำมผลลัพธ์ ของกลุ่มเป้ำหมำย ควรเป็นตำมก ำหนดไว้ตำม Timeline แต่ อำจมีกลุ่มเป้ำหมำยบำงรำย รู้สึกว่ำคณะท ำงำนเข้ำไปติดตำมบ่อยเกินไป อำจปรับเปลี่ยน ตำมควำมสบำยใจของกลุ่มเป้ำหมำยเพื่อลดกำรขัดแย้งกัน 7

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตตามแผนงานโครงการที่กำหนด

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

มีการจัดส่งรายงานประจำเดือนตามขอบเขตการรับผิดชอบของแต่ละคน

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ธ.ค. 2565 30 ธ.ค. 2565

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามแผนงานโครงการ

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 ธ.ค. 2565 30 ธ.ค. 2565

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ธ.ค. 2565 30 ธ.ค. 2565

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนของแต่ละบุคคลตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

ประสานงาน เตรียมความพร้อม คน พื้นที่ อุปกรณ์

 

เกิดคลิปการขับเคลื่อนงานข้าวไร่เพื่อสร้างสุขภาพและเศรษฐกิจของคนในชุมชน https://fb.watch/jV-iexCvKv/

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนของแต่ละบุคคลตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองและอนุมัติโดยกรรมการ 18 ก.พ. 2566 18 ก.พ. 2566

 

ตรวจสอบรายละเอียดโครงการย่อยและเตรียมขออนุมัติโอนเงินงบประมาณให้โครงการย่อยทั้ง 25 โครงการ

 

ได้จัดโอนงบประมาณให้แก่โครงการย่อยในงวดงานที่ 2 จำนวน 25 โครงการ

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 28 ก.พ. 2566 28 ก.พ. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตสำนักงานตามแผนงานโครงการ

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 28 ก.พ. 2566 28 ก.พ. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วค่า

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 28 ก.พ. 2566 28 ก.พ. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

1.7 ประชุมถอดบทเรียนโมเดลหรือรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้อนแบบ 7 รูปแบบ 2 ประเด็น 10 มี.ค. 2566 10 มี.ค. 2566

 

ประสานหน่วยงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ

 

มีข้อมุลการขับเคลื่อนผลลัพธ์1)การพัฒนาศักยภาพทีมทำงาน  ทั้งทีมคณะทำงานคนเก่าและคนใหม่ ซึ่งการดำเนินการตามที่กล่าวในตอนต้น ทั้งการสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการในทุกเดือน ทั้งแบบ Onsite  และ Online  รวมทั้งการสื่อสารข้อมูลความรู้ต่างๆ  การเอื้ออำนวยให้เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพที่หน่วยงาน องค์กรจัดให้มีขึ้น  การจับคู่ระหว่างพี่เลี้ยงเก่า-ใหม่  ซึ่งก็มีทัศนะและทักษะการทำงานสร้างเสริมสุขภาพตามกรอบ SDH  ได้ดีระดับหนึ่ง  ยังคงต้องดำเนินการต่อเนื่องด้วยการเรียนรู้ท่ามกลางการปฏิบัติ  น้อมนำประยุกต์ใช้ความรู้  และเชื่อมั่นในศักยภาพของความเป็นมนุษย์สามารถพัฒนาได้ 2)การย่อยข้อมูลและแปรภาษาหลักการและวิชาการ  เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับรูปธรรมการปฏิบัติ  ซึ่งยังคงต้องดำเนินการเพิ่มขึ้น  ละเอียดขึ้น โดยทีมทำงานที่ผ่านประสบการณ์ทำงานภาคสนามควบคู่กับวิชาการ  เป็นผู้อธิบาย ขยายความ ในการสนทนา หรือการประชุมปรึกษาหารือของทีมทำงาน
(3)ข้อมูลผลลัพธ์การดำเนินงาน
การดำเนินงานของ Node Flagship Chumphon  ทั้งในระดับการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ    และประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่    ที่สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดชุมพร  (พ.ศ.2566-2570) “ ชุมพรเมืองน่าอยู่ เศรษฐกิจดีและมีคุณค่า มุ่งสู่การพัฒนายั่งยืน”  การบริหารจัดการหน่วยประสานจัดการ  การติดตามสนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการ  การประสานความร่มมือกับภาคียุทธศาสตร์  ตามที่กล่าวไว้ในตอนต้นนั้น    ประเมินความก้าวหน้าในพัฒนาพร้อมขยายผลโมเดล 7 รูปแบบ อยู่ระดับ 50-60 %  กับเป้าหมายที่ตั้งไว้ 1) การดำเนินงานเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพระดับชุมชน/หมู่บ้าน
2) การดำเนินงานเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพระดับตำบล ( Best พื้นที่ตัวอย่างความสำเร็จ)
3) การดำเนินงานเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพระดับอำเภอ/สมาพันธ์เกษตรฯ
4) การดำเนินงานเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพระดับเครือข่าย
5) การจัดการโรคเรื้อรังระดับชุมชน/หมู่บ้าน
6) การจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ระดับหน่วยบริการ
7) การจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ระดับตำบล
แต่ยังมีจุดอ่อนในการสื่อสารความสำเร็จ  ซึ่งที่ผ่านมาได้พัฒนากลไกและโครงข่ายสื่อสาร ซึ่งกำลังดำเนินการผลิตสื่อทั้งเขียนข่าว  กราฟฟิค  คลิบสั้น  สื่อสารในช่องโซเชียลมีเดีย  รวมทั้งการส่งต่อข้อมูลข่าวสารให้แก่เครือข่ายสื่อมวลชนท้องถิ่น ตามโอกาสและศักยภาพที่มี
  นอกจากนี้ผลงานสำคัญ คือการประสานทรัพยากร  องค์กรภาคียุทธศาสตร์และวิชาการ  มาสนับสนุนการดำเนินงาน Node Flagship Chumphon  วงเงิน 4.3 ล้านบาท    และการเชื่อมโยงเครือข่ายและนโยบาย  ทั้งในระดับเขต  ระดับภาคใต้  รวมถึงระดับประเทศในประเด็นเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ(เกษตรกรรมยั่งยืน)
บทเรียนและข้อเรียนรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็นข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการจัดการข้อมูลผลลัพธ์ทั้งในระดับโครงการย่อยและระดับประเด็นยุทธศาสตร์ ครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบเก็บข้อมูล การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล การนำใช้ประโยชน์จากข้อมูลผลลัพธ์ในการสร้างการเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์และการปรับปรุงการดำเนินงานของ หน่วยจัดการ
1)การพัฒนาจัดการข้อมูลสารสนเทศ เพื่อนำใช้ประโยชน์ในพื้นที่ปฏิบัติการ  พื้นที่ทางสังคม และพื้นที่นโยบาย  โดยเฉพาะการสร้างการเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์  ซึ่งได้ดำเนินการมาระดับหนึ่ง  พร้อมกับสรุปผลในแต่ละเรื่อง  แต่ละประเด็นเพื่อสื่อสารต่อสังคมและภาคียุทธศาสตร์ 2)การแสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง  และการคำนึงถึง ประโยชน์ร่วม  ของแต่ละฝ่ายที่ต้องมีอะไร  อย่างไร บ้าง ?    ในการประสานความร่วมมือกับภาคียุทธศาสตร์  ยังเป็นปัจจัยเงือนไขของความสำเร็จ  ของความร่วมมือทั้งในปัจจุบันและอนาคต Node Flagship Chumphon  พยายามสร้างการเรียนรู้  ตอกย้ำ  ปฏิบัติการของทีมทำงานและภาคียุทธศาสตร์ให้ได้ใช้บทเรียนที่สรุปไว้เมื่อปี 63 ในภารกิจที่ท้าทาย การสร้างและพัฒนาตัวแบบ-ต้นแบบ  การเชื่อมโยงและสร้างความสัมพันธ์ ความร่วมมือในการขับเคลื่อนประเด็นเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ และการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่  โดยควรกระทำและสร้างความแตกต่างจากที่สังคมหรือหน่วยงานปกติเขากระทำอยู่แล้ว    ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อพื้นที่ให้มากที่สุด โดยใช้งบประมาณของ สสส.เป็นนำมันหล่อเลื่อนกระบวนการทางสังคม
(4)บทเรียนและข้อเรียนรู้อื่นๆ
1)การสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) หรือพลเมืองผู้รอบรู้ทางสุขภาพ  ที่ทางสมาคมประชาสังคมชุมพร  โดยกลไกศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดชุมพร  ได้ใช้เป็นกลไกกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 61 ยังคงเป็นทิศทางแนวทางที่สอดคล้องกับ ธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม  ด้วยทิศทาง 3 ด้าน 1.การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ/การเมือง  ภาควิชาการ/วิชาชีพ  และภาคประชาสังคม/เอกชน  2.การสร้างสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี  3.การให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุกกลุ่มวัยและทุกระดับ ทั้งในด้านทักษะต่าง ๆ เช่น ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) ความรอบรู้ด้านดิจิทัล (digital literacy)  ความรอบรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (environmental literacy) และด้านการพัฒนาศักยภาพคนสู่ความเป็นพลเมืองที่ตื่นรู้ มีส่วนร่วมรับผิดรับชอบต่อสังคม (active citizen) มีคุณธรรม รู้คุณค่าในตัวเองและผู้อื่น เห็นแก่ส่วนรวมยอมรับในความแตกต่างหลากหลาย      ซึ่งยังเป็นภารกิจที่ท้าทายต้องดำเนินการ

 

1.6 ประชุมความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ของหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ 20 มี.ค. 2566 20 มี.ค. 2566

 

ประสานหน่วยงาน/กลุ่มคนจัดทำข้อมุลเพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อน

 

สถานการณ์สุขภาวะภาพรวมของจังหวัดชุมพร  ในสี่มิติด้านสุขภาพ:อันเนื่องจากภาวะเจ็บ ป่วย ตาย ใน 3 ลำดับแรกคือโรคหลอดเลือดสมอง  โรคมะเร็ง และโรคเรื้อรัง    สาเหตุการเจ็บป่วยและตายเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย และภาวะคุกคามสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านอาชีพและสิ่งแวดล้อม    ด้านเศรษฐกิจ: ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพและรายได้หลักจากภาคเกษตรและประมง เมื่อเกิดภาวะราคาผลผลิตตกต่ำทั้งยางพารา ปาล์มน้ำมัน กระทบการดำรงชีพของคนในพื้นที่ ขณะเดียวกันผลผลิตไม้ผลโดยเฉพาะทุเรียนและมังคุด จำนวน 207,837 ไร่ จะมีผลผลิตรวม 289,354 ตัน ส่งออกปีกว่าละ 6,000 ล้านบาท แต่ต้องแลกกับการใช้สารเคมียังมากมายซึ่งกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อย่างยิ่งโดยเฉพาะผู้ผลิตคือเกษตรกร อีกทั้งต่อผู้บริโภคในประเทศ  ส่วนการท่องเที่ยวชุมชนเริ่มมีบทบาทและรายได้เสริมต่อหลายชุมชนในพื้นที่ชุมพร    ด้านสังคม: จากกระแสการพัฒนาโลกาภิวัตน์เพิ่มปัญหาทางสังคมมากขึ้น ความซับซ้อนก็มีเพิ่มขึ้นทั้งปัญหาเด็กเยาวชน  ยาเสพติด โดยเฉพาะปัญหาแม่วัยใสจังหวัดชุมพรมีปัญหาลำดับต้นๆ ของภาคใต้  การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุของชุมพรซึ่งจำนวนผู้สูงอายุ 95,401 คน (18.72% ซึ่งมีอัตรามากกว่าเกณฑ์ค่ากลางของระดับประเทศ 16.05%)      ด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม:  ด้วยเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เป็นแหล่งผลิตผลไม้ที่สำคัญของภาคใต้จึงเป็นพื้นทีแดงของการใช้สารเคมีเกษตรอย่างรุนแรง อีกทั้งยังได้รับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐบาล ทั้งท่าเรือน้ำลึก รถไฟรางคู่  ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ SEC  เป็นต้น การขับเคลื่อนการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในจังหวัดชุมพร ที่ได้ประกาศวาระสุขภาพที่ดำเนินการตั้งแต่ปี 2562 ใน 3 เรื่องได้แก่ การลดละเลิกสารเคมีเกษตร  จัดการโรคเรื้อรัง และสุขภาวะผู้สูงอายุ  และสอดคล้องกับนโยบายจังหวัด เกษตรอินทรีย์วิถีชุมพร  ในส่วนภาคประชาสังคมและสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร ตั้งแต่ปี 2560 ซึ่งมีประเด็นยุทธศาสตร์ 3 ประเด็นได้แก่ เกษตรสุขภาวะ:ครัวเรือนพอเพียง  เมืองน่าอยู่:จัดการปัจจัยเสี่ยง  จัดการทรัพยากรธรรมธรรมชาติ:การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน  สำหรับหน่วยประสานจัดการระดับจังหวัด Node สสส. หรือสมาคมประชาสังคมชุมพร ได้สนับสนุนพื้นที่การสร้างเสริมสุขภาวะมาต่อเนื่อง  จำนวน 82 พื้นที่/โครงการ ซึ่งจะเป็นต้นทุนสำคัญต่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดชุมพร  หน่วยประสานจัดการจังหวัดชุมพรและภาคียุทธศาสตร์ได้ร่วมกันพิจารณาสถานการณ์และประเด็นสุขภาวะที่สำคัญต่อการคุณภาพชีวิตผู้คนจังหวัดชุมพร และคำนึงถึงความเป็นไปได้ การมีส่วนร่วมของของภาคีเครือข่ายต่อการขับเคลื่อนในอนาคต  จึงได้เลือก 2 ประเด็น ได้แก่
1) เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ หรือมีความโดยย่อจากเวทีสร้างสุขภาคใต้ 60 คือ เกษตรสุขภาพ จึงมีนิยามความหมาย: การผลิตทางการเกษตร ซึ่งรวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการปลูกป่าที่กำหนดขึ้นให้เหมาะสมกับสุขภาวะ โดยคำนึงถึงการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อสุขภาพ เช่น ดินฟ้าอากาศ แหล่งน้ำ พืชที่ปลูก สัตว์ที่เลี้ยง ฯลฯ รวมความถึงกระบวนการผลิตต่อเนื่องอันนำสู่การเป็นอาหารปลอดภัย
2) การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่: จัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ นิยามความหมายดังนี้ การพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การพัฒนาให้เกิดความอยู่ดีมีสุข (wellbeing) ของบุคคลและสังคม  อันประกอบด้วย 4  ด้าน ทั้งร่างกาย  จิตใจ  ความสัมพันธ์ทางสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดี  โดยมีจุดเน้นในการจัดการสุขภาพโรคเรื้อรังแนวใหม่ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตตามแผนงานโครงการ

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

1.5.2 ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2 9 เม.ย. 2566 9 เม.ย. 2566

 

ประชุมวางแผนการจัดเวทีร่วมกับทีมสนับสนุนวิชาการเพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ในการเรียนรู้เพื่อประเมินผลลัพธ์

 

ติดตามประเมินผลลัพธ์การดำเนินงาน เพื่อสรุปผลและสังเคราะห์บทเรียนเป็นชุดความรู้ โมเดลต้นแบบ การขับเคลื่อนระยะที่ 3 ที่จะต่อโครงการกับโหนด  การไปเชื่อมโยงกับภาคียุทธศาสตร์  ในวันที่ 20 เมษายนนี้จะมีการประชุมเครือข่ายสวนยางยั่งยืนและเครือข่ายข้าวไร่ วันที่ 21-22 เมษายน เป็นกระบวนการนำประเด็นย่อยจากเวทีติดตามผระเมินในวันนี้ และประเด็นที่ได้จากงานเปิดตลาดเกษตรอินทรีย์วิถีชุมพรที่อำเภอละแม ในวันที่ 7 เมษายนที่ผ่านมา ซึ่งน่าจะมีประเด็นที่สำคัญ และสามารถหยิบยกไปสู่การพัฒนาเป็นกรอบแผนงานดำเนินการที่สำคัญ เช่น ถ้าจะมีการทำพืชผักปลอดภัยจะทำการขับเคลื่อนยังไง  ผลไม้ฤดูร้อน เช่นมังคุด ทุเรียน ที่ปลอดภัย รวมถึงประมง ปศุสัตว์  ทั้งนี้ต้องหาคนที่เป็นหลักในประเด็นนั้นๆให้ชัดเจน  วันนี้ช่วงบ่าย จะมีผู้ทรงคุณวุฒิมาช่วยสะท้อนทั้งประเด็นเกษตรและประเด็นโรคเรื้อรัง ซึ่งน่าจะเป็นประโยชน์กับทุกคน วิธีการที่จะพัฒนาตัวโครงการให้เป้นโมเดล: พื้นที่ต้องมีกลไกการจัดการที่ชัดเจน มีผลลัพธ์การทำงานงานที่เกดขึ้น  มีบทเรียน/ปัจจัยความสำเร็จ และสามารถขยายผลได้ (ทีมการจัดการสามารถอธิบายได้ ทั้งรูปแบบ องค์ความรู้ ฯลฯ) หลังจากประเมินแล้วจะมีทีมวิชาการมาช่วยเขียนสังเคราะห์บทเรียนของแต่ละรูปแบบ
คุณสมใจ ด้วงพิบูลย์: การประเมินคือการวัดผลของการดำเนินงาน การติดตามการดำเนินงานอยู่ถึงขั้นตอนไหน ทำเมื่อไหร่ ทำอย่างไร ใครเป็นคนทำ สุดท้ายคือปัจจัยความสำเร็จและปัจจัยที่ทำให้ไม่สำเร็จคืออะไร เกิดขึ้นตรงจุดไหน เมื่อเราร่างเรื่องอะไรขึ้นมาสักหนึ่งเรื่อง เรื่องที่เราร่างจะเป็นเรื่องที่เราอยากแก้ไขหรือเปล่า แต่คิดว่าทุกท่านที่มานั่งอยู่ที่นี่ นำเรื่องที่จำเป็น ต้องการที่จะแก้ไข หรือต้องการที่จะพัฒนาต่อยอดให้ดีขึ้น เราสามารถดำเนินการภายใต้กรอบการประเมิน ทุกคนต้องมีข้อมูลในเรื่องที่กำลังทำอยู่ วงพูดคุยต้องรู้ข้อมูลในการขับเคลื่อนงาน  ทุกท่านต้องส่งข้อมูลจบโครงการภายใน 30 เมษายน 2566 นี้เท่านั้นค่ะ
คุณหนึ่งฤทัย พันกุ่ม:  การนำผลลัพธ์ที่ทำไปชูในโครงการว่าเกิดขึ้นยังไง ไม่จำเป็นต้องวิเคราะห์เพื่อให้ได้ทุกตัวชี้วัดทั้ง 100 เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้ามองว่าผลงาน กิจกรรม สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชนสามารถตอบโจทย์เป้าหมายหลักของโครงการได้

 

1.5.1 การดำเนินงานสนับสนุนพื้นที่ของทีมสนับสนุนวิชาการ ครั้งที่ 2 10 เม.ย. 2566 10 เม.ย. 2566

 

ประสานรวบรวมงานติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการจำนวน 25 โครงการ

 

ประสานจัดโอนงบประมาณในการติดตามประเมินผลลัพธ์ของโครงการย่อยทั้ง 25 โครงการเพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการย่อยมีระบบการจัดการที่เป็นระบบและสามารถประเมินผลลัพธ์เพื่อเป็นการหนุนเสริมการขับเคลื่อนงาน

 

1.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการความร่วมมือกับภาคียุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน รวมถึงการขยายโมเดลรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบ 21 เม.ย. 2566 21 เม.ย. 2566

 

ประสานรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์โมเดลต้นแบบในการขับเคลื่อนงานทั้ง 7 โมเดล

 

เกิดโมเดลการขับเคลื่อนงาน 7 โมเดล ที่มีการขับเคลื่อนทั้งในระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัดใน 2 ประเด็น คือ ประเด็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ   จังหวัดชุมพรมีการขยับเรื่องนี้มาพอสมควร มีเครือข่ายหลักๆคือ เครือข่ายภาคประชาสังคม สภาองค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยบริการที่อยู่ในพื้นที่ วันนี้ได้มีการเชิญผู้แทนในแต่และประเด็น หรือกลุ่มเครือข่าย เพื่อมาทำ Road Map (จังหวะก้าว) ในการเดินต่อ จากบทเรียนที่ผ่านมาพบว่ายังมีช่องว่างโดยเฉพาะระดับปฏิบัติการในการเห็นระดับนโยบาย ระดับจังหวัด ระดับพื้นที่ เมื่อเดือนที่ผ่านมาได้มีการร่วมกันวิเคราะห์ในเชิงแนวตั้งในสิ่งที่ทำอยู่เชื่อมโยงกับระดับนโยบายระดับชาติ ระดับจังหวัดอย่างไร ทางทีมได้เตรียมเอกสารเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดชุมพร (ชุมพรเมืองน่าอยู่ เศรษฐกิจดี มีคุณค่า เพื่อสุขภาวะที่ยั่งยืน) ข้อจำกัด 1. การรับรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดยังน้อยอยู่ การคิดหรือออกแบบงานไม่เป็นเชิงระบบ (การใช้เรื่องห่วงโซ่คุณค่าในการอธิบาย ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำต้องเชื่อมโยงกัน) สิ่งที่เครือข่ายขับเคลื่อนงานอยู่ตอนนี้อยู่ตรงจุดไหน และจะดำเนินงานไปยังจุดไหนต่อ  2. กลไกการจัดการจะเป็นหัวใจสำคัญของความต่อเนื่องและยั่งยืนในการขับเคลื่อน
คุณพัชรีย์  พรหมฤทธิ์: เกษตรกรรมยั่งยืน: ระบบการเกษตรที่ครอบคลุมถึงวิถีชีวิตเกษตรกร กระบวนการผลิต และการจัดการทุกรูปแบบ เพื่อให้เกิดความสมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ มีรูปแบบหลัก1.เกษตรทฤษฎีใหม่ 2.เกษตรอินทรีย์ 3.เกษตรผสมผสาน 4.เกษตรธรรมชาติ 5.วนเกษตร พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดชุมพรปี 2560-2564  จำนวน  15,485.60  ไร่ 1) เกษตรทฤษฎีใหม่ 9,514.05 ไร่  2) เกษตรอินทรีย์ 2,525.55 ไร่ 3) เกษตรผสมผสาน 2,946 ไร่ 4) วนเกษตร 2,000 ไร่
ปัญหาการผลิตด้านการเกษตร: ทรัพยากรดินเสื่อมโทรมเนื่องจากการเพาะปลูก ไม่มีน้ำที่เพียงพอเพื่อการเพาะปลูก ต้นทุนการผลิตสูงเนื่องจากราคาปัจจัยการผลิต พันธุ์ ปุ๋ย การดูแลสวน การเก็บ เกี่ยว การขนส่ง    โรคระบาดทั้งในพืช และสัตว์ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีทางการเกษตร เนื่องจากไม่มีผลิตภัณฑ์ทดแทนเกษตรกรไม่ให้ความสำคัญกับการขอรับรองมาตรฐานสินค้าเนื่องจากไม่สามารถสร้างความแตกต่างด้านราคาการผลิตส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น มีการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าสูงน้อย ราคาผลผลิตตกต่ำ รายได้ไม่เพียงพอ กระทบคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ(แบบย่อย): แผนย่อยที่ 1 เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น แผนย่อยที่ 2 เกษตรปลอดภัย แผนย่อยที่ 3 เกษตรชีวภาพ แผนย่อยที่ 4 เกษตรแปรรูป แผนย่อยที่ 5 เกษตรอัจฉริยะ แผนย่อยที่ 6 การพัฒนาระบบนิเวศการเกษตร เป้าหมายและตัวชี้วัด ของแผนแม่บทย่อย: ตามอัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เฉลี่ยร้อยละ 4, อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัย เฉลี่ยร้อยละ 3, ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร (ระดับดี), อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรชีวภาพ เฉลี่ยร้อยละ 5, จำนวนวิสาหกิจการเกษตรขนาดกลางและขนาดเล็ก และผลิตภัณฑ์จากฐานชีวภาพ (1 ตำบล 1 วิสาหกิจ), อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์ เฉลี่ยร้อยละ 4, มูลค่าสินค้าที่มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/อัจฉริยะมีเพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 4, ผลผลิตต่อหน่วยของฟาร์มหรือแปลงที่มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/อัจฉริยะ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 15, มูลค่าผลผลิตสินค้าเกษตรต่อหน่วยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15, สหกรณ์ มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 95, วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเกษตรกร มีความเข้มแข็ง ร้อยละ 30 แผนปฏิบัติราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) วิสัยทัศน์ : เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี เป้าหมายและตัวชี้วัด       1.อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสาขาเกษตร เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3.0 ต่อปี       2.อัตราผลิตภาพการผลิตของภาคเกษตร เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.0 ต่อปี       3.รายได้เงินสดสุทธิครัวเรือนเกษตร เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี       4.สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเกษตรกร) ที่ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับมาตรฐาน           (1) สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 95
          (2) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง อย่างน้อยร้อยละ 30

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 เม.ย. 2566 30 เม.ย. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตตามแผนงานโครงการที่กำหนดไว้

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 เม.ย. 2566 30 เม.ย. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและการติดตามหนุนเสริมโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 เม.ย. 2566 30 เม.ย. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

1.7 ประชุมถอดบทเรียนโมเดลหรือรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้อนแบบ 7 รูปแบบ 2 ประเด็น 27 พ.ค. 2566 5 ก.ค. 2570

 

ประสานผู้เข้าร่วมประชุม/จัดเตรียมข้อมูลการถอดบทเรียนแต่ละรูปแบบ

 

เป้าหมายคือ ติดตามความก้าวหน้าและทบทวนสาระสำคัญจากข้อเสนอแนะทีมวิชาการ สสส. รวมทั้งสรุปและคัดเลือกโมเดลต้นแบบทั้งประเด็นเกษตรและอาหารปลอดภัย และประเด็นการจัดการโรคเรื้อรัง ซึ่งจะนำไปใช้ประโยชน์ด้วยการเผยแพร่ความรู้ และขับเคลื่อนงานสร้างสุขที่จะจัดขึ้นในเดือน กรกฎาคม 2566 และใช้ร่วมกับภาคีเครือข่าย โดยจะแบ่งเป็น Good Practice: กรณีศึกษา และ Best Practice: บทเรียน ต้องมีกลไกการจัดการมีความสามารถ, สามารถดำเนินงานได้ตามแผน พื้นที่สามารถดำเนินการเองได้
การทำผังความคิด/โมเดล: สถานการณ์(ทำไมต้องทำ), ยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายจังหวัด(ย่อ), กลไกการจัดการ(หัวใจสำคัญของงาน), กระบวนการและเครื่องมือสำคัญ, ผลลัพธ์สำคัญ (ในเชิงเนื้อหา ให้ผู้เขียนรายงาน เขียนชื่อตัวเอง และเบอร์โทรไว้ที่มุมขวาบนของเอกสาร) การเขียนของประเด็นเกษตรให้ใช้หลักการเขียน Logic Model ต้นน้ำ(ระดับการผลิต) กลางน้ำ(ระดับการแปรรูป) ปลายน้ำ(ระดับการตลาด) เขียนในเชิงการจัดการ ประเด็น NCD ใช้หลักการ Health Literacy: การเข้าถึงข้อมมูลและบริการสุขภาพ, รู้และเข้าใจ, ทักษะการสื่อสาร, ทักษะการตัดสินใจ, จัดการตนเอง, รู้เท่าทันสื่อ (เข้าถึงได้รับ เข้าใจ โต้ตอบ ซักถาม แลกเปลี่ยน ตัดสินใจ ปรับใช้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และบอกต่อ)รวมถึงสมรรถนะของคนในศตวรรษที่ 21: ทักษะในการสนทนา, ทักษะการทำงานเป็นทีม และทักษะการใช้สื่อ คุณแสงนภา หลีรัตนะ: ถ้าอยากให้ภาพมันชัดเจนยิ่งขึ้น ควรจะรู้ว่าข้อหัวไหนที่จะมาเทียบเคียงและวิเคราะห์ได้เพื่อความชัดเจนของข้อมูลเนื้อหา
หัวข้อการสังเคราะห์โมเดลต้นแบบ 1. ข้อมูลทั่วไป: ข้อมูลพื้นที่โครงการ (ต้องดึงดูดน่าสนใจ) ลักษณะเด่นของโมเดล ข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ: ผลลัพธ์ทางสุขภาพ ผลลัพธ์ทางสภาพแวดล้อม ผลลัพธ์ทางสังคม
2) สภาพบริบทของโมเดลต้นแบบ: กายภาพ เช่น ขนาดครัวเรือน ลักษณะทางกายภาพ
3) กลไกการดำเนินงาน(ใช้กลไกอะไรในการขับเคลื่อน): การก่อตัวของกลไก การสร้างหรือการรวมตัวคณะทำงานในกลไก การทำความเข้าใจและสร้างเป้าหมายร่วมของกลไก ความรู้ที่จำเป็นสำหรับคณะทำงาน แนวทางหรือวิธีการพัฒนาสมรรถนะคณะทำงานในกลไก การออกแบบการทำงานและข้อตกลงการดำเนินงานของคณะทำงาน บทเรียนสำคัญของการก่อตัวของกลไก, การจัดการของกลไก โครงสร้างและองค์ประกอบของกลไกเป็นอย่างไร การแบ่งบทบาทการทำงานและการจัดการทีมคณะทำงานในกลไก แนวทางการจัดการและเงื่อนไขที่นำไปสู่ความสำเร็จ การระดมทรัพยากร การติดตามความสำเร็จและการสะท้อนผลการดำเนินงาน กิจกรรมสำคัญ  บทเรียนสำคัญของการจัดการกลไก
4) ผลลัพธ์การดำเนินงาน: ผลลัพธ์การทำงานของกลไก ผลลัพธ์ทางสุขภาพ ผลลัพธ์อื่นๆ 5) ปัจจัยความสำเร็จ/ไม่สำเร็จในการดำเนินงานตามโมเดล คุณพัลลภา ระสุโส๊ะ: การทำผังโครงสร้าง เพื่อให้เห็นภาพรวม และองค์ประกอบของกลไก โครงสร้างให้มองโครงสร้างใหญ่ที่ใช้ในการขับเคลื่อน และควรคลี่บทเรียนให้ชัดเจนให้ทุกคนเข้าใจ เพื่อเป็นแนวทางในการถอดบทเรียนขั้นตอนถัดไปได้

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 พ.ค. 2566 30 พ.ค. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอรืเน็ตตามแผนงานโครงการที่กำหนดไว้

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 พ.ค. 2566 30 พ.ค. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 พ.ค. 2566 30 พ.ค. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

1.6 ประชุมความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ของหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ 5 มิ.ย. 2566 5 มิ.ย. 2566

 

ประสานหน่วยงานและนักวิชาการเพื่อขับเคลื่อนงานตามแนวทางยุทธศาสตร์

 

การขับเคลื่อนงานเกษตรจะต้องมุ่งเน้นการขับเคลื่อนที่ปลอดภัยแต่คำว่าปลอดภัยทางชุมพรยังขับเคลื่อนไม่ถึงระบบอินทรีย์เนื่องจากเรายังมีการมุ่งเน้นพืชเศรษฐกิจ เช่น  ทุเรียน ดังนั้นทางสมาคมประชาสังคมชุมพร(NF สสส.) สมาคมสวนยาง ๑๖ จังหวัดภาคใต้  เครือข่ายข้าวไร่และสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืน จึงได้สรุปการขับเคลื่อนงาน     การใช้ยาใช้สารเคมีมากขึ้นโดยจังหวัดชุมพรมีการนำเข้าผักผลไม้ที่ปนเปื้อนสารเคมีปีละ ๖๐ ล้านทางสมาพันธ์เกษตรจึงต้องเร่งขับเคลื่อนเพื่อให้คนในจังหวัดชุมพรเกิดความตระหนัก และลด ละ สารเคมีในพื้นที่เพื่อสร้างให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี
    การรับรองคาร์บอนต้องมีการจัดกลุ่มพันธ์ไม้และดูการสร้างคุณค่าของระบบนิเวศซึ่งแต่ละต้นจะมี หลักการประเมิน อนุรักษ์  สมบูรณ์  ตรงประเด็น  โดยจะมีความร่วมมือในการจัดพื้นที่ของมหาวิทยาลัยเพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้การผลิตข้าวไร่ในแต่ละสายพันธุ์และเป็นการคัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมและเป็นสายพันธุ์บริสุทธิ

 

1.1 ประชุมคณะทำงานและภาคีเครือข่ายเพื่อสรุปรูปแบบโมเดลการขับเคลื่อนงาน 24 มิ.ย. 2566 24 มิ.ย. 2566

 

จัดทำข้อมูลรายละเอียดการขับเคลื่อนงานและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียน

 

รายงานความก้าวหน้าของข้อมูล roadmap  3 ประเด็นร่วมในการขับเคลื่อนงานชุมพร คุณแสงนภา หลีรัตนะ ยกระดับกลไกจัดการสุขภาพเพื่อความมั่งคงมนุษย์ (พัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรทุกกลุ่มวัย): ประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ 4 กลุ่มวัย ผู้สูงอายุ วัยทำงาน เด็กและเยาวชน รสมไปถึงกลุ่มคนเปราะบางและเข้าไม่ถึงสิทธิ การขับเคลื่อนงานที่ผ่านมางานเด็กและเยาวชนมีการขับเคลื่อนงานร่วมกับสถานพินิจ ในประเด็นพัฒนาคุณภาพชีวิตมีพื้นที่ปฏิบัติงานอยู่ใน ต.เขาค่าย และต.นาขา ที่พยายามผลักดันนโยบายเข้าไปสู่ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และมีงานเครือข่ายขององค์กรงดเหล้าที่ทำงานร่วมกับเด็กและเยาวชน ปัจจุบันการขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชน มีกลุ่มเด็กและเยาวชนมาร่วมขับเคลื่อนงาน 4 อำเภอ คือ อำเภอสวี อำเภอทุ่งตะโก อำเภอหลังสวน อำเภอละแม ที่ผ่านมาเป็นการทำงานเชิงป้องกันไม่ให้เด็กเยาวชนไปยุ่งกับปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และยังมีการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ มีการทำ MOU ร่วมกับจังหวัด กขป. และสถาบันการศึกษา หน่วยงานรัฐ ภาคประชาชน
คุณวิรงค์รอง  เอาไชย กลุ่มวัยทำงาน: การทำงานโรคเรื้อรัง ปัจจัยเสี่ยงเรื่อง NCD มีพื้นที่และมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ รพ.สต.แก่งกระทั่ง รพ.สต.เขาทะลุ และรพ.สต.เขาค่าย มีภาคีหรือหน่วยงานสนับสนุนคือ สสอ. สวี โรงพยาบาลสวีร่วมกับ รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง มีการดำเนินงานเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค NCD ต่อไปในอนาคตก่อนที่จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีกิจกรรมในการค้นหาบุคคลเพื่อให้เกิด บุคคลต้นแบบ ในส่วนของอสม. และกลุ่มเสี่ยงที่เป็นโรค NCD และกิจกรรมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้กิจกรรมจับคู่บัดดี้ พัฒนาอสม.ให้เป็นอสม.ต้นแบบมีความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ตัวแทนจากสภาองค์กรชุมชนจังหวัดชุมพร ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่สู่พื้นที่จัดการตนเอง: โครงการบ้านพอเพียงปีนี้ดำเนินการมาแล้ว 308 หลัง งบประมาณวัสดุอุปกรณ์หลังละไม่เกิน 20,000 บาท งานวิเคราะห์การดำเนินงานป้องกันต่อต้านทุจริตร่วมกับสภาองค์กรชุมชนและภาคประชาชน โดยเน้นหนักในการสร้างจิตสำนึกให้ชุมชน สร้างสังคมให้เข้มแข็งป้องกันการทุจริต และสร้างภาคีเครือข่าย มีการปฏิบัติในเชิงรูปธรรมบ้างบางส่วน เรื่องคุณภาพชีวิตทำเรื่องการท่องเที่ยวที่ ท่ายาง ปากน้ำ หาดทรายรี ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวชุมชน เรื่องเกษตร ชายฝั่งใน 4 ตำบล ในสะพลี เรื่องเชื้อเพลิงธรรมชาติ การจัดการชายฝั่งที่ ต.ท่ายาง การจัดการน้ำของ บางสน การซ่อมฝ่ายพลุตาอ้าย ทำเรื่องสวนยางยั่งยืนที่ ดอนยาง ในการทำสวนยางผสมผสานของเกษตรกรในพื้นที่ เรื่องแลนบริดจ์ และสุดท้ายคือเรื่องสวัสดิการชุมชนที่มีอยู่ใน 8 พื้นที่ในจังหวัดชุมพร ซึ่งกำลังดำเนินการอยู่

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 มิ.ย. 2566 30 มิ.ย. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอรืเน็ตตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 มิ.ย. 2566 30 มิ.ย. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 มิ.ย. 2566 30 มิ.ย. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนตามขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน

 

สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองและอนุมัติโดยกรรมการ 10 ก.ค. 2566 10 ก.ค. 2566

 

ตรวจสอบรายละเอียดโครงการย่อยและเตรียมขออนุมัติโอนเงินงบประมาณให้โครงการย่อยทั้ง 25 โครงการ

 

จัดโอนเงินงบประมาณให้แก่โครงการย่อยในงวดที่ 3 จำนวน 25 โครงการ

 

1.5.1 การดำเนินงานสนับสนุนพื้นที่ของทีมสนับสนุนวิชาการ ครั้งที่ 3 20 ก.ค. 2566 20 ก.ค. 2566

 

ประสานรวบรวมข้อมูลการจัดการประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

 

ประสานจัดโอนงบประมาณในการติดตามประเมินผลลัพธ์ของโครงการย่อยทั้ง 25 โครงการเพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการย่อยมีระบบการจัดการที่เป็นระบบและสามารถประเมินผลลัพธ์เพื่อเป็นการหนุนเสริมการขับเคลื่อนงาน

 

3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 27 ก.ค. 2566 27 ก.ค. 2566

 

ประสานคน พื้นที่เพื่อสอบถามแลกเปลี่ยนเก็บข้อมูล

 

เกิดกระบวนการเรียนรู้การขับเคลื่อนนักประเมินต้นไม้เพื่อส่งเสริมให้เกิดการส่งเสริมอนุรักษ์ต้นไม้เพื่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ดี
https://fb.watch/o0yu5Kc3Kc/?mibextid=v7YzmG

 

3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต 30 ก.ค. 2566 30 ก.ค. 2566

 

มีการจ่ายค่าอินเตอร์เน็ตตามแผนงานโครงการที่กำหนดไว้

 

เกืดการขับเคลื่อนงานในการประสานและส่งต่อข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่องของโครงการ

 

3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ 30 ก.ค. 2566 30 ก.ค. 2566

 

ค่าบริหารจัดการสำนักงานและติดตามหนุนเสริมการขับเคลื่อนงานโครงการย่อย

 

เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสำนัดงานและมีการหนุนเสริมพื้นที่โครงการย่อยอย่างต่อเนื่องให้สามารถติดตามแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว

 

3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ 30 ก.ค. 2566 30 ก.ค. 2566

 

มีการจัดทำรายงานประจำเดือนตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

 

มีเจ้าหน้าที่ประจำเพื่อให้การบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร/การจัดการการเงิน/งานวิชาการและงานสื่อเพื่อเผยแพร่การทำงาน