directions_run

โครงการสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่เพื่อชุมพรน่าอยู่ ปี65 -66

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หน่วยจัดการระดับจังหวัดชุมพร (Node Flagship) มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะสู่ชุมพรเมืองน่าอยู่
ตัวชี้วัด : 1.1 ทีมงานหน่วยจัดการที่มีโครงสร้างและแบ่งบทบาทภารกิจชัดเจน มีจำนวนที่เพียงพอต่อการดำเนินงานและมีขีดความสามารถในบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้ หัวหน้าหน่วยจัดการ ทีมสนับสนุนวิชาการ เจ้าหน้าที่ประสานงานและการเงินบัญชี และคณะที่ปรึกษาหรืออำนวยการ 1.2 มีระบบบริหารจัดการที่สอดคล้องตามแนวปฏิบัติของ สสส. ทั้งในส่วนการบริหารจัดการงบประมาณ และบริหารจัดการโครงการย่อย (การพัฒนาแบบฟอร์ม/เครื่องมือ/คู่มือในการพัฒนาโครงการย่อย การกลั่นกรองโครงการย่อย การสนับสนุนงบประมาณและทำข้อตกลง การรายงานผลการดำเนินงาน) 1.3 มีประเด็นยุทธศาสตร์ 2 ประเด็นที่ขับเคลื่อนในระดับจังหวัด โดยเป็นประเด็นที่เป็นปัญหาของจังหวัดและสามารถสร้างการมีส่วนร่วมได้สูง ดังนี้ มีการกำหนดผลลัพธ์หรือตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศาสตร์ ทั้งผลลัพธ์ในระดับเป้าหมายจังหวัด/วาระจังหวัด และผลลัพธ์หรือเป้าหมายในการสนับสนุนโครงการย่อย มีการวิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่วิกฤติ หรือพื้นที่จุดคานงัดที่สามารถเป็นตัวแทนปัญหาในการเป็นต้นแบบ เพื่อคัดเลือกมาสนับสนุนโครงการเพื่อขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาในประเด็นยุทธศาสตร์นั้นๆ มีกลยุทธ์/วิธีการที่จะนำโมเดลหรือรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบไปขยายผลหรือส่งต่อความสำเร็จให้มีผลกว้างขวางขึ้นในระดับจังหวัด มีแผนภาพการเชื่อมโยงผลลัพธ์ประเด็นยุทธศาสตร์ (Outcome Alignment) ที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของผลลัพธ์ในแต่ละโครงการย่อยที่ดำเนินงานว่ามีความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงหรือส่งต่อกันอย่างไรเพื่อบรรลุผลลัพธ์ในระดับเป้าหมายจังหวัด 1.4 มีภาคียุทธศาสตร์ร่วมมือดำเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาวะของพื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม อย่างน้อย 5 ภาคี

 

2 เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงผลลัพธ์ในประเด็นเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ และประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่โดยจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ ที่ได้รับความร่วมมือในการขยายผลพื้นที่รูปธรรมจากภาคีหลายภาคส่วนในจังหวัดชุมพร
ตัวชี้วัด : 2.1 กลไกระดับจังหวัด ภาคียุทธศาสตร์และเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ มีความร่วมมือในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ให้บรรลุผลลัพธ์จังหวัดชุมพร 2.2 เกิดการสนับสนุนพื้นที่เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 25 โครงการ ที่มีผลลัพธ์สอดคล้องกับผลลัพธ์ประเด็นยุทธศาสตร์ตามที่กำหนดไว้ 2.3 โครงการย่อย ไม่น้อยกว่า 25 โครงการ สามารถดำเนินงานให้บรรลุตามผลลัพธ์ของโครงการกำหนดไว้ และสามารถส่งรายงานผลการดำเนินงานให้แก่หน่วยจัดการครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในข้อตกลง 2.4 จำนวนแกนนำโครงการย่อย ไม่น้อยกว่า 25 โครงการ (อย่างน้อยโครงการละ 3 คน) ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2.5 กลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,250 คนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน หรือจำนวนสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงและเอื้อต่อสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายจากการดำเนินงานของ 25 โครงการ 2.6 เกิดความร่วมมือหรือการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานหรือภาคียุทธศาสตร์ในแต่ละประเด็น ที่จะขยายผลโมเดล/รูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบ เพื่อขยายผลหรือส่งต่อความสำเร็จให้มีผลกว้างขวางขึ้นในระดับจังหวัด 2.7 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือทรัพยากรจากกองทุนสุขภาพท้องถิ่น และ/หรือภาคียุทธศาสตร์ อย่างน้อย 25 พื้นที่

 

3 เพื่อให้เกิดความร่วมมือ การเชื่อมต่อทรัพยากรและแหล่งทุนจากภาคียุทธศาสตร์ ในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของพื้นที่เพิ่มมากขึ้น และขยายผลเชิงนโยบายในระดับพื้นที่เขตสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 มีพื้นที่การผลิตผักผลไม้ที่ปลอดภัย อย่างน้อย 10% ของพื้นที่เกษตรยั่งยืนที่เข้าร่วม 3.2 มีการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเกษตรสุขภาพ 3.3 มีการจัดการเชื่อมโยงตลาดอาหารปลอดภัย 3.4 เพิ่มรายได้ครัวเรือน อย่างน้อย 10 % จากรายได้เดิม 3.5 มีการพัฒนาหรือขยายผลรูปแบบการเกษตรและอาหารสุขภาพ 4 รูปแบบ/ระดับ (ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เครือข่าย) อย่างน้อย 70% ของพื้นที่โครงการย่อย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หน่วยจัดการระดับจังหวัดชุมพร (Node Flagship) มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะสู่ชุมพรเมืองน่าอยู่ (2) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงผลลัพธ์ในประเด็นเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ และประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่โดยจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่  ที่ได้รับความร่วมมือในการขยายผลพื้นที่รูปธรรมจากภาคีหลายภาคส่วนในจังหวัดชุมพร (3) เพื่อให้เกิดความร่วมมือ  การเชื่อมต่อทรัพยากรและแหล่งทุนจากภาคียุทธศาสตร์  ในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของพื้นที่เพิ่มมากขึ้น  และขยายผลเชิงนโยบายในระดับพื้นที่เขตสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าดำเนินการ (2) ค่าสนับสนุนงบประมาณโครงการย่อย (3) ค่าบริหารจัดการโครงการ (4) 1.1 ประชุมคณะทำงาน  ครั้งที่ 1 (5) 1.4.1 เข้าร่วมกิจกรรมกับทาง สน.๖ เวทีปฐมนิเทศโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจ (6) ค่าตอบแทนบุคลากรประจำโครงการ (7) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค/วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 65 (8) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (9) 1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.บ้านควน) (10) 1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.ปากทรง) (11) 1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.นาชะอัง) (12) 1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ข้าวไร่นาชะอัง) (13) 1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.เขาค่าย) (14) 1.4 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ สสส. (15) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (16) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนมีนาคม 65 (17) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (18) 1.1ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 ผ่านระบบ ZOOM (19) 1.2.2 ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดทำข้อเสนอโครงการย่อยกับชุมชนเป้าหมาย (ต.ดขาทะลุ) (20) 1.1 ประชุมคณะทำงานและภาคีโครงการเพื่อเตรียมเวทีกลั่นกรองโครงการย่อย (21) 1.2.3 เวทีกลั่นกรองโครงการย่อยร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒืและภาคียุทธศาสตร์จังหวัดชุมพร (22) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (23) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนเมษายน 65 (24) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (25) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (26) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนพฤษภาคม 65 (27) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ตประจำเดือนพฤษภาคม 65 (28) 1.3 เวทีประชุมเชิงปฎิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อย Node Flagship Chumphon (29) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (30) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนมิถุนายน 65 (31) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (32) 1.4.1 อบรมหลักสูตร SoFt Power กับการทำงานเพื่อพัฒนาชุมชน กับภาคี สน.6 (33) สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองและอนุมัติโดยกรรมการ (34) ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูล (35) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (36) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนกรกฎาคม 65 (37) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (38) 1.5.1 การดำเนินงานสนับสนุนพื้นที่ของทีมสนับสนุนวิชาการ ครั้งที่ ๑ (39) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (40) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนสิงหาคม 65 (41) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (42) 3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ (43) ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (44) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ประจำเดือนกันยายน 65 (45) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (46) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (47) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (48) 3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ (49) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (50) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (51) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (52) 1.5.2 ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ARE (53) 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อคืนข้อมูลผลการประเมินเบื้องต้น (54) 1.4.1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าและบทเรียนระหว่างการดำเนินงานหน่วยจัดการระดับจังหวัด (55) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (56) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (57) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (58) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (59) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (60) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (61) 3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ (62) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (63) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (64) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (65) สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองและอนุมัติโดยกรรมการ (66) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (67) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (68) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (69) 1.7 ประชุมถอดบทเรียนโมเดลหรือรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้อนแบบ 7 รูปแบบ 2 ประเด็น (70) 1.6 ประชุมความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ของหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ (71) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (72) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (73) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (74) 1.5.2 ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ARE  ครั้งที่ 2 (75) 1.5.1 การดำเนินงานสนับสนุนพื้นที่ของทีมสนับสนุนวิชาการ ครั้งที่ 2 (76) 1.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการความร่วมมือกับภาคียุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน รวมถึงการขยายโมเดลรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบ (77) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (78) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (79) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (80) 1.7 ประชุมถอดบทเรียนโมเดลหรือรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่ต้อนแบบ 7 รูปแบบ 2 ประเด็น (81) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (82) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (83) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (84) 1.6 ประชุมความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ของหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ (85) 1.1 ประชุมคณะทำงานและภาคีเครือข่ายเพื่อสรุปรูปแบบโมเดลการขับเคลื่อนงาน (86) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (87) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (88) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ (89) สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองและอนุมัติโดยกรรมการ (90) 1.5.1 การดำเนินงานสนับสนุนพื้นที่ของทีมสนับสนุนวิชาการ ครั้งที่ 3 (91) 3.2 ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ (92) 3.4 ค่าอินเตอร์เน็ต (93) 3.2 ค่าสาธารณูปโภค วัสดุ-อุปกรณ์ (94) 3.1 ค่าตอบแทนบุคลาการประจำโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh