แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 3.เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกับ สสส.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) งบสสส.สนับสนุนกิจกรรมร่วมกับสสส. หน่วยจัดการ พี่เลี้ยง (2) งบสสส.สนับสนุนค่าจัดทำป้ายโครงการและจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ (3) ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 (4) อบรมทักษะการเงินการจัดการหนี้ (5) อบรมทักษะการจัดการโควิค-19ในชุมชน (6) การจัดทำบัญชีครัวเรือน (7) การฝึกทักษะการทำอาชีพ(กระเป๋าสตรี) (8) ฝึกทักษะการตลาดและเพิ่มช่องทางการสื่อสารผลิตภัณฑ์ (9) จัดตั้งกลุ่มอาชีพการทำกระเป๋า (10) ไปหาพี่เลี้ยง 1 (11) ไปหาพี่เลี้ยง 1 (12) ไปหาพี่เลี้ยง 3 (13) ไปหาพี่เลี้ยง 3 (14) เวทีถอดบทเรียน (15) งบสสส.สนับสนุน กิจกรรมทำรายงานฉบับสมบูรณ์ (16) สำรวจข้อมูลครั้ง1 (17) ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 (18) สำรวจข้อมูลครั้งที่2 (19) ประชุมคณะทำงานครั้งที่3 (20) สำรวจข้อมูลครั้งที่3 (21) ฝึกปฏิบัติการการเผชิญโควิค-19ในชุมชน (22) ตืดตามการดำเนินงานครั้งที่2 (23) ติดตามการดำเนินงานครั้งที่3 (24) ติดตามความก้าวหน้าARE ครั้ง 1 (25) นำเสนอความก้าวหน้าและผลลัพืโครงการ (26) เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ (27) ติดตามความก้าวหน้าARE ครั้ง 2

โครงการส่งเสริมอาชีพบ้านกาโต ประเด็นอาชีพและรายได้ 1.ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนโครงการตามกลยุทธ์หลักของโครงการ (ถอดจากexcel ผลลัพธ์-ตัวชี้วัดหลักในTor) ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน -ด้านสุขภาพ 15 คน สอบถาม เรื่อง3อ2ส
อาหาร อารมณ์ ออกำลังกาย  งดสูบบุหรี่ งดสุรา -การเงิน 18 คน การทำบัญชีครัวเรือน การออมเงินวันละ1บาท การสร้างอาชีพและรายได้ -อาชีพ ได้แก่
ทำกระเป๋า และปลูกผัก -รายได้
จากการขายกระเป๋า จากการออมวันละ1บาท ลดการซื้อผักในครัวเรือน 2.ผลลัพธ์ด้านอาชีพและรายได้ -ผลลัพธ์ด้านอาชีพ   จัดตั้งกลุ่มอาชีพ1กลุ่ม คือ กลุ่มทำกระเป๋า และกลุ่มปลูกผัก โดยแบ่งการทำงานเป็น 4 แผนกหลักๆ 1.การตัด 2.การเย็บ 3.การขายแบบออนไลน์ 4.ปลูกผัก -ผลลัพธ์ด้านรายได้     รายได้เพิ่มจากการขายกระเป๋า (ขายในนามกลุ่ม)     ลดการซื้อผักสวนครัว เช่น พริก ตะไคร้ ขา อื่นๆ     รายได้จากการออมวันละ1บาท 3.กลยุทธ์/วิธีการดำเนินโครงการด้าน อาชีพและรายได้ 1.โครงสร้างคณะกรรมการและคณะทำงาน 2.แผนการดำเนินกิจกรรม/ปฏิทินกิจกรรม 3.การเสียสละ 4.ความโปร่งใส่ในการบริหารเงิน

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

1.การรวมตัวจัดกิจกรรม

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ