assignment
บันทึกกิจกรรม
งบ สสส.สนับสนุน (กิจกรรมทำรายงานฉบับสมบูรณ์)30 มกราคม 2565
30
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. แก้ไขรายละเอียดในแต่ละกิจกรรม
  2. ตรวจสอบเอกสาร การเงิน รายชื่อ
  3. ตรวจสอบข้อมูลทั้วไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ต้องเพิ่มเติมเนื้อหาในแต่ละกิจกรรมให้อ่านเข้าใจง่าย
  2. จากการตรวจสอบต้องเอกสารการเงินยังไม่สมบูรณ
  3. จากการตรวจสอบต้องเพิ่มเนื้อหาและผลลัพท์ที่เกิดขึ้นหลังจากดำเนินกิจกรรม
ติดตามความก้าวหน้า ARE ครั้ง 228 มกราคม 2565
28
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.1. พี่เลี้ยงเตรียมอะไร
1.2. แกนนำโครงการเตรียมอะไร อย่างไร
1.3. พี่เลี้ยงสื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน 1.1. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการร่วมระหว่างแกนนำชุมชม (คณะทำงาน กับพี่เลี้ยงในการลงพื้นที่ประชุมแกนนำชุมชนครั้งที่ 1 1.2. พี่เลี้ยงโทรนัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการ และประสานคณะทำงานมีหน้าที่ในการประสานแกนนำในพื้นที่เพื่อความชัดเจนในการจัดการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาครั้งที่1หลังจากดำเนินงานโครงการ 3 เดือนผ่านระบบzoom 1.3.พี่เลี้ยงชวนตั้งวงการพูดคุยก่อนเริ่มดำเนินงาน แบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 1.4. พี่เลี้ยงชี้แจงวัตถุประสงค์ในการประเมินผลครั้งนี้เพื่อการพเรียนและพัฒนาในการปรับแผนการดำเนินงานในงวดต่อไป 1.5. แกนนำ คณะทำงาน  กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม นำเสนอผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน 1.6. พี่เลี้ยงสรุปการประเมินผล เพื่อเป็นการทบทวน  ปรับแผนการดำเนินงาน 1.7. แกนนำ คณะทำงานสรุปนัดหมายการประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมายครั้งต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ80ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1.1. แกนนำโครงการ…3…คน 1.2. กลุ่มเป้าหมาย…4 คน 1.3. ภาคี…………--……คน 2.ปัญหาอุปสรรค (ต่อกระบวนการพี่เลี้ยง และชุมชน  และปัญหาอุปสรรคต่อผลลัพธ์) na ปัญหาเกิดขี้นจากสถานการณ์โควิคเป้าหมายของการทำอาชีพเย็บกระเป๋ากลุ่มเป้ายหมายคือเยาวชนในโรงเรียน เนื่องจากสถานการณืสถานศึกษาปิดมีการเรียนออนไลน์ เยาวชนไม่สามารถนำกระเป่าออกจำหน่ายได้ หากต้องการเปิดตลาดออนไลน์ไม่สามารถที่จะเย็บหรือออกแบบให้ทันกับโลโก้ดัง ๆ ๆเช่น กระเป๋าnalaya ได้ ทำให้รายงานเพิ่มส่วนใหญ่มาจากการขายผัก รายจ่ายลดลงจากการบริโภคที่ปลูก แนวทางแก้ไข คณะทำงานจัดการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนนิงานการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ด้วยการปลูกผัก โอกาสของชุมชนหน่วยงานให้ความสนใจกลุ่มอาชีพเย็บกระเป๋าเป็นที่น่าสนใจของหน่วยงานภายนอก เช่นมูลนิธิรักษ์ไทยทราบปัญหาในการสนับสนุนอาชีพจัดการสนับสนุนจักรเย็บผ้าให้กับชุมชน 2 หลัง  หน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอมายอสนับสนุนวิทยากรเพิ่มเติมในการฝึกอบรมสตรี ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิคในการตัดเย็บเสื้อผ้า ส่วนหน่วยงานในพื้นที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตรังนำแผนการสนับสนุนอาชีพผู้ได้รับผลกระทบบรรจุไวัในแผนพัฒนาตำบลท้องในการสนับสนุนต่อไป

กิจกรรมที่ 8 เวทีถอดบทเรียน27 มกราคม 2565
27
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวทีถอดบทเรียน

08.30-08-45 น. ลงทะเบียน 08.45-09.15 น. ประธานกล่าวรายงานและรายงานการดำเนินงาน 09.15-09.45 น. ฝ่ายการเงินได้รายงานการใช้เงินในแต่ละกิจกรรม 09.45-10.00 น.รับประทานอาหารว่าง 10.00-11.00 น.ทางคณะกรรมได้ร่วมกับพี่เลี้ยงและคุณครู สาอีดะ ตำแหน่งคุครู กศน ตำบลตรัง ช่วยกันถอดบทเรียนโดย ไดถอดบทเรียนตามบันไดผลลัพธ์ดั้งต่อไปนี้ 1.เกิดคณะทำงาน
2.เกิดแกนนำ
11.00-11.15 น.รับประทานอาหารว่าง 11.15-13.30 น.ต่อ 3.ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ
4.ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดกลุ่มแกนนำจำนวน10คน ประกอบด้วยคณะกมการสภาผู้นำชุมชนบ้านม่วงเงินจำนวน 2 คน แกนนำเยาวชน จำนวน 4 คน แลพผู้ได้รับผลกระทบจากสถาณการณ์โควิด จำนวน 4 คน
  2. เกิดกลุ่มอาชีพตัดเย็บกระเป๋าและปลูกผก 1 กลุ่ม
  3. มีกาออมวันละ 1 บาท
  4. นายกองค์การบริหารส่วำบลตรังนำแผนการสนับสนุนอาชีพผู้ที่ได้รับลกระทบบรรจุลงในแผนพัฒนาตำบลเพื่อสนับสนุนต่อป
งบ สสส. สนับสนุน (ไปหาพี่เลี้ยง ครั้งที่ 4)28 ธันวาคม 2564
28
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อเรียนรู้และดูเรื่องการเขียนรายงานออนไลน์ปิดโครงการ
ปัญหาที่เกิดขึ้นในการเขียนรายงานพบว่าการเงินไม่ลงตัวกับตัวเลขในใบโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ทางคณะทำงานต้องเพิ่มรายละเอียดในกิจกรรมประชุม 2.เรื่องการเงินไม่ลงตัวทางพี่เลี้ยงจะเป็นคนประสานงานให้เอง

งบ สสส. สนับสนุน (เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ)26 ธันวาคม 2564
26
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วทีประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ ระหว่างวันที่ 24-26 ธันวาคม 2564 ณ โรงแรมเซาเทิร์น แอร์พอร์ต อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จัดโดยหน่วยจัดการโครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้

สนับสนุนโดยสำนักสร้างสรรค์โอกาส สสส. วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม 1. สรุปโครงการ และถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการย่อย 2. เพื่อสร้างความเข้าใจต่อเครื่องมือที่ใช้หนุนเสริมในการดำเนินงานชุมชนน่าอยู่ 3. เพื่อกำหนดแผนการทำงานร่วมกันระหว่างโครงการย่อย และหน่วยจัดการ 1.ผู้รับผิดชอบโครงการย่อยโครงการละ 2 คน 15 โครงการ รวม 30 คน 2.หน่วยจัดการและพี่เลี้ยงจังหวัด รวม 7 คน วันที่ 24ธันวาคม 64 16.00 – 17.00 น. เช็คอินเข้าพักที่โรงแรม 17.00 – 18.30 น. เตรียมปฏิบัติภารกิจส่วนตัว 18.30 – 20.30 น. หน่วยจัดการ/พี่เลี้ยง ประชุมเตรียมความพร้อมการจัดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบโครงการ เตรียมตัวกิจกรรมนำเสนอ วันที่ 25 ธันวาคม 64 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียน กิจกรรมสันทนาการ โดย ทีมพี่เลี้ยง 09.00 - 09.30 น. เปิดกิจกรรมกล่าวต้อนรับ และชี้แจงกระบวนการของเวที
โดย อาจารย์สุวิทย์ หมาดอะดำ ผู้จัดการโครงการฯ 09.30 - 10.30 น. โครงการย่อยนำเสนอผลลัพธ์โครงการ โครงละ 15 นาที และแลกเปลี่ยน 5 นาที 10.30 – 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.15 น. โครงการย่อยนำเสนอผลลัพธ์โครงการ โครงละ 15 นาที และแลกเปลี่ยน 5 นาที 12.00 - 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวันและปฏิบัติศาสนกิจ 13.30 - 15.30 น. โครงการย่อยนำเสนอผลลัพธ์โครงการ โครงละ 20 นาที และแลกเปลี่ยน 5 นาที 15.30 – 16.30 น. กระบวนการสังเคราะห์กลุ่มย่อย ในหัวข้อ “ หากชุมชนอื่นๆต้องการสร้างความรอบรู้เรื่องสุขภาพ และการเงิน จะมีรูปแบบและขั้นตอนอย่างไร” พร้อมนำเสนอ 16.30 – 18.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย 18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกัน 19.00 – 21.00 น. กระบวนการสังเคราะห์กลุ่มย่อย ในหัวข้อ “ หากชุมชนอื่นๆจะทำโครงการ เกี่ยวกับการ สร้างอาชีพและรายได้/การสร้างความมั่นคงทางอาหาร จะมีรูปแบบและขั้นตอน อย่างไร” พร้อมนำเสนอ ันที่ 26 ธันวาคม 64 08.30 - 09.00 น. กิจกรรมสันทนาการ /สร้างสัมพันธ์ 09.00 - 10.00 น. กระบวนการสังเคราะห์กลุ่มย่อย ในหัวข้อ “ปัจจัยความสำเร็จ / ความไม่สำเร็จ และสิ่ง ที่ได้เรียนรู้(บทเรียน) ” พร้อมนำเสนอ 10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.15 –12.00 น. การใช้ระบบติดตามโครงการ เพื่อปิดโครงการย่อยในระบบออนไลน์ ด้านกิจกรรม 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน/ปฏิบัติศาสนกิจ 13.00 – 14.30 น. การใช้ระบบติดตามโครงการ เพื่อปิดโครงการย่อยในระบบออนไลน์ ด้านการเงิน (ต่อ) 14.30 – 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 – 15.30 น. ตรวจสอบความเรียบร้อยของระบบติดตามโครงการออนไลน์และการเงินโครงการย่อย 15.30 น.-16.00 น. สรุปเวทีและปิดการประชุม โดย นายสุวิทย์ หมาดอะดำ หัวหน้าหน่วยจัดการชุมชนน่าอยู่ชายแดนใต้

หัวข้อการนำเสนอโครงการย่อย 1. ผลลัพธ์ด้าน จำนวน ของคนที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน (ดึงจากข้อมูล excel) และการสร้างความมั่นคงทางอาหาร(สำหรับโครงการที่ทำเรื่องความมั่นคงทางอาหาร) 4. มีหน่วยงานใดบ้างมาสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ 5. บทเรียน/ข้อเรียนรู้สำหรับการดำเนินงาน 2. ผลลัพธ์ด้าน อาชีพและรายได้(สำหรับโครงการที่เลือกประเด็นอาชีพและรายได้)และผลลัพธ์ด้านการสร้าง ความมั่นคงทางอาหาร(สำหรับโครงการที่ทำเรื่องความมั่นคงทางอาหาร) 3. กลยุทธ์ /วิธีการดำเนินโครงการด้าน อาชีพและรายได้(สำหรับโครงการที่เลือกประเด็นอาชีพและรายได้)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผลลัพธ์ด้าน จำนวน ของคนที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน (ดึงจากข้อมูล excel) 1.1 ผลลัพธ์ด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพ 15 คน และผลลัพธ์ด้านความรอบรู้ด้านการเงิน 18 คน

  2. ผลลัพธ์ด้าน อาชีพและรายได้(สำหรับโครงการที่เลือกประเด็นอาชีพและรายได้)และผลลัพธ์ด้านการสร้าง ความมั่นคงทางอาหาร(สำหรับโครงการที่ทำเรื่องความมั่นคงทางอาหาร)

  3. กลยุทธ์ /วิธีการดำเนินโครงการด้าน อาชีพและรายได้(สำหรับโครงการที่เลือกประเด็นอาชีพและรายได้) และการสร้างความมั่นคงทางอาหาร(สำหรับโครงการที่ทำเรื่องความมั่นคงทางอาหาร)
  4. มีหน่วยงานใดบ้างมาสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ
  5. บทเรียน/ข้อเรียนรู้สำหรับการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 324 ธันวาคม 2564
24
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการประชุมหาหรือในกลุ่มเป้าหมาย30คน
ประธานได้ชี้แจ้งวาระการประชุม ดั้งนี้ 1.ความคืบหน้าของการทำกระเป๋า 2.ความพร้อมของทีมขายกระเป๋า 3.ปัญหาอุปสรรค์/ข้อเสนอแนะ 4.ข่าวสารอื่นๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมหาหรือในกลุ่มเป้าหมาย30คน
ประธานได้ชี้แจ้งวาระการประชุม ดั้งนี้ 1.สินค้าพร้อมนำขาย 2แบบ เหบลืออีก 1 แบบที่ยังไม่สมบูรณ์ 2.ความพร้อมของทีมขายกระเป๋า ทีมขายกระเป๋าพร้อมลงขายในเเพจ และในเฟสบุคส่วนตัว 3.ปัญหาอุปสรรค์/ข้อเสนอแนะ
1.ปัญหาที่ไม่สามารถร่วมตัวในการจัดกิจกรรม 2.บางครอบครัวไม่สามารถเขียนหนังสือได้จึงทำให้ไม่ได้จดรายรับรายจ่ายในครัวเรือน 4.ข่าวสารอื่นๆ 1.รพ.สต.ตรัง เปิดตรวจATK ทุกวันอังคาร กับวันศุกร์ 2.รพ.สต.ตรัง บริการวัคซีน ไฟเซอร์แล้วตอนนี้

กิจกรรมที่ 6 จัดตั้งกลุ่มอาชีพการทำกระเป๋า (ติดตามการดำเนินงาน ครั้งที่ 3)20 ธันวาคม 2564
20
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ทบทวนบันไดผลลัพธ์ -ติดตามการทำกระเป๋า และโครงสร้างของคณะกรรมการ
-ติดตามการออมวันละ1บาท -ติดตามการได้รับวัคซีนของคณะกรรมการและกลุ่มเป๋าหมาย -ติดตามการเป็นหนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมาย30 ประเมิณตัวเองอยู่บันไดผลลัพธ์ที่4 2.แบ่งการทำงานเป็น 4 แผนกหลักๆ 1.ตัดตามแบบ 2.เย็บ 3.การขายแบบออนไลน์ 4.ปลูกผัก 3.กลุ่มเป้าที่มีการออมเงินวันละ1บาท และการทำบัญชีครัวเรือน  จำนวน 18  คน
4.กลุ่มเป้าหมาย 30 คน ได้รับวัคซีน2เข็มทั้งหมด 5.

สำรวจข้อมูล ครั้งที่ 325 พฤศจิกายน 2564
25
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการสำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย30คน 1.การจดบันทึกรายรับรายจ่ายในครัวเรื่อน -จดบันทึกทุกเดือน 10 ครัวเรื่อน -จดบันทึกไม่ประจำ 9 ครัวเรือน -ไม่จดบันทึกเลย 11 ครัวเรีอน 2.การได้รับวัคซีน โควิด 19 เข็ม1 และ เข็มที่2 -30คนที่ได้รับวัคซีนเข็มที่1 -23คนที่ได้รับวัคซีนเข็มที่2 3.การออมเงินวันละบาท -25ครัวเรือนออมเงินทุกวัน -5ครัวเรือนไม่ได้ออมเป็นประจำ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการสำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย30คน 1.การจดบันทึกรายรับรายจ่ายในครัวเรื่อน -จดบันทึกทุกเดือน 10 ครัวเรื่อน -จดบันทึกไม่ประจำ 9 ครัวเรือน -ไม่จดบันทึกเลย 11 ครัวเรีอน 2.การได้รับวัคซีน โควิด 19 เข็ม1 และ เข็มที่2 -30คนที่ได้รับวัคซีนเข็มที่1 -23คนที่ได้รับวัคซีนเข็มที่2 3.การออมเงินวันละบาท -25ครัวเรือนออมเงินทุกวัน -5ครัวเรือนไม่ได้ออมเป็นประจำ

กิจกรรมที่ 6 จัดตั้งกลุ่มอาชีพการทำกระเป๋า (ติดตามการดำเนินงาน ครั้งที่ 2)30 ตุลาคม 2564
30
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าARE ครั้ง 2 พี่เลี้ยงโครงการส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโต ประสานคณะทำงานเพื่อเตรียมคณะทำงานส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโตเข้าร่วมและทบทวนผลลัพธ์ โดยมีการติดตามการทำกระเป๋า และโครงสร้างของคณะกรรมการ และได้ติดตามเรื่องการได้รับวัคซีนของคณะกรรมการและกลุ่มเป๋าหมาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผลจากการติดตาม เกิดแบบกระเป๋า3แบบ
2.ผลจากการติดตาม 30คนได้รับวัคซีนอย่างน้อย 1 เข็ม 3.ผลจากการติดตาม กลุ่มอาชีพบ้านกาโต อยู่ในบันไดที่3 (แต่ยังขาดการหนุนเสริมด้านการขาย และทักษะการโปรโหมดสินค้า)

งบ สสส. สนับสนุน (ไปหาพี่เลี้ยง ครั้งที่ 3)7 ตุลาคม 2564
7
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ปรึกษาเรื่องการจัดทำโครงการ รายละเอียดกิจกรรม งบประมาณในต่ละกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดกิจกรรมทั้งหมด 8 กิจกรรม ได้แก่ 1.1ประชุมคณะทำงาน 1.2 อบรมทักษะการเงิน การจัดการหนี้ 1.3 อบรมทักษะการจัดการโรคโควิด 1.4จัดทำบัญชีครัวเรือน 1.5 ทักษะการทำอาชีพ 1.6 จัดตั้งกลุ่มอาชีพ 1.7 ฝึกทักษะการตลาด และเพิ่มช่องทางการสื่สารผลิตภัณฑ์ 1.8 เวทีถอดบทเรียน

นำเสนอความก้าวหน้าและผลลัพธ์โครงการ (ผ่านระบบออนไลน์)19 กันยายน 2564
19
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

08.30 น.เข้าห้องประชุออนไลน์/เตรียมความพร้อม 09.00 น. หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดงาน/แนะนำตัว ชี้แจงกระบวนการ 10.00 น. แบ่งห้องย่ นำเสนอความก้าวหน้าและผลลัพธ์โครการย่อย               -ห้องย่อยท1 ความมั่นคงทางอาหาร  คนชวนคุย คุณนฤมล               -ห้องย่อยที่2 การส่งเสริมอาชีพ (1)  คนชวนคุย คุณมะยูนัย               -ห้องย่อยที่3 การส่งเสริอาชีพ (2)    คนชวนคุย คุณกลยา โจทย์/คำถามสำหรับการนำเสนอ(กลุ่มละ 10 นาที) 1.ก่อนทำโครงการ ชุมชนเรามีปัญหาอะไร 2.เราแก้ปัหาอย่างไร 3.ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง 12.00 น.แกนนำกลุ่มนำเสนอข้อค้นพบจากโครงการย่อย 12.30 น. หัวหนโครงรนำเสนอแนวทางในระยะต่อไป/ปิดงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ปัญหาที่พบในชุมชน รายได้ไม่พอกับร่ายจ่าย ผลกระทบจากโควิดทำให้ตกงานและไม่ได้ทำงานเพราะเปิดร้านที่ประเทศมาเลเซีย 2.วิธีการแก้ปัญหา
  1.ปรชุมกลุ่มแกนนำที่ได้รับผลกระทบ     2.ส่งเสริมอาชีพ     3.แกนำทุกคนต้องจดบัณทึกร่ายรับร่ายจ่าย

งบ สสส. สนับสนุน (ไปหาพี่เลี้ยง ครั้งที่ 2)15 กันยายน 2564
15
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อปรึกษาหาทางในการจะจัดกิจกรรมเพราะทางจังหวัดให้งดการร่วมตัว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จากการหาหรือกับพี่เลี้ยงได้วิธีการดั้งนี้ 1.1จัดกลุ่มเปาหมายให้เป็น2กลุ่ม กลุ่ม15คน
1.1 ให้วิทยากรสอนหรืออบรมออนไลน์ 2.ให้กลุ่มเป้าหมายใส่หน้ากากตลอดระยะเวลาอบรม 3.พยายามใช้เวลาให้น้อยที่สุด

กิจกรรมที่ 8 ฝึกทักษะการตลาดและเพิ่มช่องทางการสื่อสารผลิตภัณฑ์10 กันยายน 2564
10
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เนื่องจากอยู่ในสถารการณ์โรคระบาดโควิค 19 ทางคณะกรรมการมีการจัดกิจกรรมเป็นออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมซูม โดยได้ใช้เวลาไม่นาน
โดยวิทยากรได้สอนการขายในรูปแบบออนไลน์  สอนการทำเพจ และการขายในมาเก็ตออนไลน์ในเฟซบุ๊ก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จากการอบรมการขายออนไลน์กลุ่มเป้าหมายได้สร้างเพจในการขาย 1เพจ กลุ่มสตรีบ้านการโต 2.จากการอบรมการขายออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเยาวชนจำนวน15คนพร้อมที่จะลงขายในมาเก็ตในเฟสบุ๊ค

ติดตามความก้าวหน้า ARE ครั้ง 122 สิงหาคม 2564
22
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าARE ครั้ง 1  พี่เลี้ยงโครงการส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโต ประสานคณะทำงานเพื่อเตรียมคณะทำงานส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโตเข้าร่วมและทบทวนผลลัพธ์การนำเสนอการตั้งแต่ระยะเวลา3 เดือนโดยมีการทำแผนการดำเนินงานร่วมตั้งแต่เวทีปฐมนิเทศ พี่เลี้ยงประสานคณะทำงานก่อนลงพื้นที่อย่างน้อย5วันก่อนลงพื้นที่จริงเพื่อให้คณะทำงาน เตรียมคน เตรียมเอกสารสัญญาโครงการ สมุดธนาคาร บันทึกรายรับ รายจ่ายของการดำเนินงานตามแผนกิจกรรม เอกสารการบันทึกข้อมูลระบบรายงานออนไลน์ เริ่มกระบวนการ  พี่เลี้ยงโครงการส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโต ชี้แจงวัตถุประสงค์ การลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าเพื่อไทบวนแผนการดำเนินงาน ปฎิทินการดำเนินโครงการตามแผนการดำเนินกิจกรรมอยู่ในกรอบระยะเวลาที่ได้ว่างไว้ หรือไม่ ทบทวนบันไดผลลัพธ์ ผลการลงพื้นที่ติดตามผลลัพธ์ที่1 เกิดคณะทำงาน 30คน มีแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน แกนนำเกิดความรู้และทักษะสือสารให้กลุ่มเป้าหมายเข้าใจได้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จากการติดตามความก้าวหน้าARE ครั้ง 1 พบว่าชุมชนอยู่บันไดขั้นที่2
2.จากการติดตามความก้าวหน้าARE ครั้ง 1 แกนนำเกิดความรู้และทักษะสือสารให้กลุ่มเป้าหมายเข้าใจได้

กิจกรรมที่ 5 ฝึกทักษะการทำอาชีพ (กระเป๋าสุภาพสตรี)16 กรกฎาคม 2564
16
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ช่วงเช้า -ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม -ประธานกลุ่มสตรีบ้านกาโตกล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม -วิทยากรแนะนำวัสดุอุปกรณ์การทำกระเป๋า -วิทยากรได้สอนกระบวนการตั้งแต่การเตรียมผ้าและการตัดผ้าให้ได้ขนาดตามที่กลุ่มต้องการ

ช่วงบ่าย -วิทยากรได้ให้กลุ่มสตรีได้ลงมือปฏิบัติการตัดผ้าตามรูปทรงที่ต้องการ -วิทยากรได้ให้แต่ละคนได้ลงมือทำด้วยต้นเอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมาย30คนสามารถเตรียมวัสดุอุกรณ์ในการทำกระเป๋าได้ 2.กลุ่มเป้าหมาย30คนรู้วิธีการหรือขั้นตอนการทำกระเป๋า 3.กลุ่มเป็าหมาย30สามารถเป็นแกนนำหรือวิทยากรสอนทำกระเป๋าได้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและเก็บข้อมูล ครั้งที่ 215 กรกฎาคม 2564
15
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน และสำรวจข้อมูลกล่มเป้าหมาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กำหนดทีมงานหลัก

  1. มีประธาน 1 คน ชื่อหัสน๊ะนี อาแว และเลขาของประธานคือ พาตีเมาะ เจ๊ะบู
  2. รองคนที่1 ชื่อพาตีเมาะ วาโด และเลขาของรองประธานคือ สายสุดา สือรี
  3. รองคนที่2 ชื่อรอมือละ ลาเตะ และเลขาของรองประธานคือ สุไวบะ ลีเยาะ
  4. รองคนที่3 ชื่อเฟาซียะ วาโด และเลขาของรองประธานคือ อาซีซะแวมะชัย
  5. รองคนที่4 ชื่อสาอีดะ แวหะมะ และเลขาของรองประธานคือ ยัสมี วาโด
  6. มติที่ประชุมเห็นด้วยกับการทำกระเป๋าใสเอกสารขนาดA4 โดยจะขายให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักเรียนและนักศึกษา

ผลการสำรวจข้อมูล

  1. จากการสำรวจสถานการณ์ความเดือนร้อนหรือผลกระทบจากโควิด พบว่ากลุ่มเป้าหมาย 30 คน    มีผลกระทบด้านรายได้ 15 คนและด้านการทำงงาน 20 คน
  2. จากการสำรวจสถานการณ์ในระดับครัวเรือนพบว่ากลุ่มเป้าหมาย 30 คน มีการดุแลสุขภาพในสถานการณ์ โควิดระบาด 30 คน รู้วิธีการดูแลสุขภาพและการเป็นหนี้ หนี้ในระบบ 15 คน หนี้นอกระบบ 10 คน ส่วนการออมเงิน 15 คน
  3. จากการสำรวจการช่วยเหลือจากพื้นที่/ภาครัฐพบว่ากลุ่มเป้าหมาย 30 คน สิทธิการเยียวยาที่ได้รับ 20 คน การช่วยเหลือในระดับพื้นที่ 30 คน
  4. จากการสำรวจอาชีพอื่นๆที่อยากให้ทางคณะกรรมการส่งเสริมพบว่า ปลูกผักสวนครัว 12 คน การทำปุ๋ย  5 คน การเปลี่ยนขยะเป็นเงิน 13 คน
กิจกรรมที่ 6 จัดตั้งกลุ่มอาชีพการทำกระเป๋า (ติดตามการดำเนินงาน ครั้งที่ 1)17 มิถุนายน 2564
17
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการประชุมหาหรือในกลุ่มเป้าหมาย30คน ให้มีประธาน1คนและรองประธาน4คน
และให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเยาวชนเป็นเลขาของประธานและรองประธาน ที่เหลือก็เป็นคณะกรรมการในแต่ละฝ่ายที่ตนเองถนัด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีประธาน1คน ชื่อหัสน๊ะนี อาแว และเลขาของประธานคือ พาตีเมาะ  เจ๊ะบู 2.รองคนที่1 ชื่อพาตีเมาะ วาโด และเลขาของรองประธานคือ สายสุดา  สือรี 3.รองคนที่2 ชื่อรอมือละ ลาเตะ และเลขาของรองประธานคือ สุไวบะ ลีเยาะ 4.รองคนที่3 ชื่อเฟาซียะ วาโด และเลขาของรองประธานคือ อาซีซะแวมะชัย 5.รองคนที่4 ชื่อสาอีดะ แวหะมะ และเลขาของรองประธานคือ ยัสมี วาโด

งบ สสส. สนับสนุน (ไปหาพี่เลี้ยง ครั้งที่ 3)16 มิถุนายน 2564
16
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทางคณะทำงานได้เข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อเรียนรู้การทำรายงานออนไลน์ และทบทวนการทำงาน ของคณะทำงานและทบทวนบันไดผลลัพท์ของกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จากการเรียนรู้การทำรายงานออนไลน์โดยได้แบ่งการทำงานเป็น3กลุ่ม ดั้งนี้ 1.เขียนรายงานในระบบ 2.จดบันทึกรายละเอียดระหว่างดำเนินกิจกรรม 3.จัดการเรื่องไปลงทะเบียน

กิจกรรมที่ 4 การจัดทำบัญชีครัวเรือน12 มิถุนายน 2564
12
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การจัดทำบัญชีครัวเรือน วิทยากร นาย อับดุลเราะหมาน หะยีมะสะ จากชุมชนน่าอยู่บ้านม่วงเงิน ช่วงเช้า
-ความสำคัญของการจดบันทึกรายจ่าย -วิธีการเขียนจดร่ายจ่ายในสมุด ช่วงบ่าย ได้ให้ผู้เข้าร่วมได้ลงมือเขียนและจดบันทึก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการ30คนสามารถเขียนจดบันทึกรายจ่ายในแต่ละวัน ผู้เข้าร่วมโครงการ30คนสามารถสอนคนในครอบครัวตัวเองได้

กิจกรรมที่ 3 ฝึกปฏิบัติการการเผชิญโควิค-19 ในชุมชน ครั้งที่ 210 มิถุนายน 2564
10
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ฝึกปฏิบัติการเมื่อเกิดสถานการณ์โควิค-19ในชุมชน ช่วงเช้า ขั้นตอนการล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ 1. กดแอลกอฮอล์ในปริมาณที่พอเหมาะถูให้ทั่วมือ 2. ถูซอกนิ้วให้ทั่วทั้งสองข้าง 3. กำมือข้างหนึ่งใช้หลังนิ้วถูฝ่ามือทั้งสองข้างสลับกัน 4. กำนิ้วหัวแม่มือแล้วหมุนไปมา สลับหมุนทั้งสองข้าง 5. ถูฝ่ามือด้วยปลายนิ้ว 6. ถูข้อมือ สลับกันทั้งสองข้าง ช่วงบ่าย วิธีป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 1ล้างมือบ่อยๆ โดยใช้สบู่และน้ำ หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมหลักเป็นแอลกอฮอล์ 2รักษาระยะห่างที่ปลอดภัยจากผู้ที่ไอหรือจาม 3สวมหน้ากากอนามัยเมื่อเว้นระยะห่างไม่ได้ 4ไม่สัมผัสตา จมูก หรือปาก 5ปิดจมูกและปากด้วยข้อพับด้านในข้อศอกหรือกระดาษชำระเมื่อไอหรือจาม 6เก็บตัวอยู่บ้านเมื่อรู้สึกไม่สบาย 7หากมีไข้ ไอ และหายใจลำบากโปรดไปพบแพทย์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน สามารถล้างมือถูกวิธีตามหลัก6ขั้นตอนได้ ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน รู้วิธีการป้องกันและดูแลตัวเอง

กิจกรรมที่ 3 อบรมทักษะการจัดการโควิค-19 ในชุมชน ครั้งที่ 19 มิถุนายน 2564
9
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมทักษะการจัดการโควิค-19ในชุมชน โดยวิทยากรนายมุคตาร วายา จาก รพ.สต.ตรัง ช่วงเช้า -ทำความรู้จักความเข้าใจอาการเบื่้องต้นของผู้ที่อาจเป็นโควิค โควิค 19
ต้นกำเนิดของไวรัส  อาการ การแพร่เชื้อ  อัตราการแพร่เชื้อและความรุนแรง กลุ่มเสี่ยงต่างๆ ช่วงบ่าย -ให้ความรู้และวิธีการรับมือเมื่อติดโควิค ภูมิคุ้มกัน การตรวจและการรักษา มาตรการระดับบุคคลและมาตรการทางสาธารณสุข  ผลกระทบทางด้านเศษฐกิจและสังคม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คนได้รับความรู้ความเข้าใจอาการเบื่้องต้นของผู้ที่อาจเป็นโควิค โควิค 19
ต้นกำเนิดของไวรัส  อาการ การแพร่เชื้อ  อัตราการแพร่เชื้อและความรุนแรง กลุ่มเสี่ยงต่างๆ 2ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คนได้รับความรู้ความและสามารถรับมือเมื่อติดโควิค ภูมิคุ้มกัน การตรวจและการรักษา มาตรการระดับบุคคลและมาตรการทางสาธารณสุข  ผลกระทบทางด้านเศษฐกิจและสังคม

กิจกรรมที่ 2 อบรมทักษะการเงินการจัดการหนี้12 พฤษภาคม 2564
12
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิทยากร ได้ให้นิยามของคำว่าหนี้ “หนี้ดี” ได้นั้น จะตองทำให้เรามั่งคั่่งขึ้นกล่าวคือ มีรายได้หรือทรัพย์สินเพิ่มขึ้นและที่สำคัญต้องไม่กระทบต่อสภาพคล่องในการดำรงชีวิตประจำวัน หากหนี้นั้นกระทบต่อความมั่นคั่งหรือสภาพคล่องจะถือว่าหนี้นั้นเป็น หนี้ไม่ดี ทันที 7คำถามที่จะทำให้การเงินในชีวิตมั่นคั่ง                                                                                                   A                  B 1เรากำลังจะเป็นหนี้เพราะความจำเป็นหรือความต้องการ                      จำเป็น        ความต้องการ 2เราจะมีเงินเพียงพอผ่อนชำระหนี้ไปตลอดรอดฝั่งหรือไม่                        ใช่          ไม่แน่ใจ 3ยอดเงินผ่อนหนี้จะมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันของเราหรือไม่      ไม่มี          ไม่แน่ใจ 4ดอกเบี้ยต่องวดและดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่ายคุ้มค่ากับการเป็นหนี้หรือไม่  ใช่        ไม่แน่ใจ 5ถ้าไม่เป็นหนี้วันนี้ เดือนหน้าเราจะเดือดร้อนหรือไม่                                ใช่          ไม่ใช่ 6มีทางเลือกที่ดีกว่านี้จากเจ้าหนี้รายอื่นหรือหนี้ประเภทอื่นหรือไม่              ไม่มี        ไม่แน่ใจ 7มีทางเลือกอื่นๆนอกจากการเป็นหนี้ใช่หรือไม่                                      ไม่มี      ไม่แน่ใจ ถ้าคำตอบของใครเป็นA ทั้งหมด แสดงว่าการก่อหนี้ครั้งนี้ มีเหตุผลมากเพียงพอ และไม่น่าจะมีปัญหาการเงินในอนาคต         การจะเป็นหนี้สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ เราต้องสามารถพินิจพิเคราะห์โจทย์ปัญหาทางการเงินของเราได้เอง และแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ นั้นต่างหากคือหนทางที่จะให้เราอยู่รอดปลอดภัยจากปํญหาทางการเงินได้ ที่สำคัญพยายาม ควบคุมหนี้ทุกประเภทอย่าให้เกิน 50 %ของรายได้เพราะในแต่ละเดือนคุณยังต้องมีค่าใช้จ่ายอื่นๆในการดำรงชีวิตอีก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมาย30คน ได้รู้ว่าหนี้ดี หนี้ไม่ดี เป็นอย่างไร 2.กลุ่มเป้าหมาย30คน ได้ข้อคิดก่อนที่จะสร้างหนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและเก็บข้อมูล ครั้งที่ 124 เมษายน 2564
24
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน โดยมีกำหนดการ

  • 19.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม
  • 19.30 น. ประธาานชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการให้แก่กลุ่มสตรี
  • 20.00 น. เหรัญญิกได้ชี้แจงการเงินของโครงงการและการใช้เงินในการดำเนินกิจกรรม
  • 20.15 น. เลขาได้ให้กลุ่มสตรีเลือกตัวแทน10คนเพื่อนเป็นแกนหลักในการรับข้อมูลต่างๆ
  • 20.30 น. รองประธานได้ชี้แจงเรื่องการสำรวจข้อมูลครั้งที่1 โดยจะสำรวจแบบโทรศัพท์เพื่อลดความเสี่ยงของโรคโควิด -19
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มเป้าหมาย30คนได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ
  2. กลุ่มเป้าหมาย30คนได้ทราบถึงกระบวนการเบิกเงินในการดำเนินกิจกรรมในแต่ละครั้ง
  3. กลุ่มเป้าหมาย30คนได้ส่งตัวแทนกลุ่ม10คนเพื่อการประสานงานกับทีมงาน
งบ สสส. สนับสนุน (ค่าจัดทำป้ายโครงการและจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่)20 เมษายน 2564
20
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู่้รับผิดชอบโครงการจัดทำจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่เพื่อนำไปติดไว้ในสถานที่จัดกิจกิจกรรมเพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในการไม่สูบบุหรี่ในสถานที่ห้ามสูบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ป้ายไวนิลโครงการ1ชิ้น 2.ป้ายห้ามสอบบุหรี่2ป้าย

งบ สสส. สนับสนุน (เวทีปฐมนิเทศโครงการ)12 เมษายน 2564
12
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ร่วมเวทีหน่วยจัด สสส. พี่เลี้ยง 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน ตรวจหลักฐาน ลงนามในข้อตกลงโครงการย่อย และรับหนังสือเปิดบัญชีโครงการย่อย(ปัตตานี ยะลา) 08.30 – 09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์  โดยคุณนฤมล ฮะอุรา  และคุณอุบัยดีละ
09.30 – 10.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ แนวทางการดำเนินงานโครงการ และธามไลน์โครงการ โดย คุณสุวิทย์ หมาดอะดัม 10.00 – 10.30 น. บรรยายเรื่อง บันไดผลลัพธ์โครงการ โดยคุณรูสลาม สาระ 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 11.15 น. บรรยายเรื่อง การทำแผนการทำงานด้วยปฏิทินกิจกรรม โดยคุณนฤมล ฮะอุรา 11.15 – 12.00 น. บรรยายเรื่องการออกแบบเก็บข้อมูลตัวชี้วัด  คุณอัดนัน  อัลฟารีตีย์ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 13.30 น. บรรยายเรื่อง ระบบบัญชี การเงิน และการเสียภาษี โดยคุณซอร์ฟีเย๊าะ สองเมือง 13.30 – 14.30 น. บรรยายเรื่อง การรายงานกิจกรรมโครงการทางระบบออนไลน์ โดยคุณสุวิทย์ หมาดอะดัม 14.30 – 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.00 น. พบพี่เลี้ยงจังหวัด ตรวจเอกสารตรวจหลักฐานฯ ต่อ นัดหมายการลงพื้นที่ติดตาม


  11  เมษายน  พ.ศ. 2564 09.00 – 09.30 น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ทบทวนเรื่องที่ได้เรียนรู้เมื่อวันวาน 09.00 - 10.00 น. แบ่งกลุ่มเข้าฐานเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ ฐานที่ 1 ระบบบัญชี การเงิน และการจ่ายภาษี -วิทยากรประจำฐาน คุณซอร์ฟีเย๊าะ
คุณกัลยา คุณไอลดา ฐานที่ 2 บันไดผลลัพธ์โครงการ-วิทยากรประจำฐาน คุณรูสลาม คุณมะยูนัน ฐานที่ 3 การออกแบบเก็บข้อมูลตัวชี้วัดและการสะท้อนผลลัพธ์-วิทยากรประจำฐาน
-คุณอัดนัน คุณอุบัยดีล๊ะ ฐานที่ 4  การทำรายงานออนไลน์-วิทยากรประจำฐาน คุณสุวิทย์ คุณนฤมล

10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.15 -  12.00 น. เข้าฐานเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ(ต่อ) 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 15.00 น.        เข้าฐานเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ(ต่อ) 15.00 – 15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15 – 16.00 น. ทำแผน เวทีการสะท้อนผลลัพธ์(ARE) ร่วมกับพี่เลี้ยง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดกรอบการดำเนินงานของโครงการส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโต 2.สามารถออกแบบการสะท้อนผลลัพท์ได้ตามตัวชี้วัด 3.สารารถจดบันทึกรายรับรายจ่ายการเงินได้อย่างถูกต้อง 4.สามารถคีย์รายงานออนไลน์ได้โดยใช้หลักการ ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร