directions_run

ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนตำบลหน้าถ้ำ

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาสความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาดจากโรคโควิค 19 2.เพื่อส่งเสริมอาชีพการสร้างงานในชุมชนคตและสร้างรายได้แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิค 19
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความสามารถด้านสุภาพ ด้านการเงิน ด้านผู้เข้าร่วมโครงการมีการป้องทักษะอาชีพ 2.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ 3.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการป้องกันตัวจากโรคระบาดโควิค 19ตามมาตรการ DMHTT เป็นกิจวัตรประจำวันได้ เชิงคุณภาพ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการป้องกันตัวจากโรคระบาดโควิค 19ตามมาตรการ DMHTT อย่างเคร่งครัดเมื่ออกจากบ้านและสามารถเผยแพร่ความรู้การป้องกันตัวได้ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามรถวางแผนการเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายจากการลงบัญชีครัวเรือน
0.00 1.22

1.เชิงปริมาณ 1.1เกิดกลุ่มอาชีพจำนวน 2กลุ่มได้แก่ - กลุ่มนังวากรีน ผลิตพืชผักปลอดสารพิษ จำนวนสมาชิก 20 ท่าน -กลุ่มศรีนังวาผลิตเบเกอรี่ จำนวนสมาชิก 20 ท่าน 2.ด้านองค์ความรู้ - การออม /การเงิน มีการเรียนรู้และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออมได้อย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 2 กลุ่ม จำนวน 32 คน ในการเป็นวิทยากรด้านการออม - ผู้เข้าร่วมโครงการป้องกันตัวจากโรคระบาดโควิค 19ตามมาตรการ DMHTT เป็นกิจวัตรประจำวันได้ และสามารถเผยแพร่ความรู้และการป้องกันตัวจากโรคระบาดโควิค-19 ได้ จากผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 ราย ในจำนวน 32 ราย สามารถบอกถึงอันตรายและการปฎิบัติตัวจากโรคระบาดโควิคได้ -ความรู้และความชำนาญในอาชีพมีความรู้ในการประกอบอาชีพสร้างรายได้ในครัวเรือน และกลุ่มและสามารถเป็นวิทยากรสอนอาชีพได้จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 ราย สามรถถ่ายทอดองค็ความรู้ได้จำนวน 20 ราย จาก สมาชิกทั้ง 2กลุ่ม

1.ผลกระทบทางกายภาพ - สมาชิกและคนในชุมชนมีสภาพที่ดีขึ้น จากการบริโภคพืชผัก ปลอดสารพิษของกลุ่ม 2. สุขภาวะทางจิต - สมาชิกในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น และสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนทำให้ลดความวิตกกังวลในเรื่องรายได้และผลกระทบจากโรคระบาดโควิค-19 ได้ ในระดับหนึ่ง -สมาชิกเกิดการทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่มและชุมชนมากขึ้น มีการใช้เวลาว่างให้เกิดรายได้ ทำให้สุภาพทางจิตดีขึ้น 3.สุขภาวะทางสิ่งแวดล้อม -สมาชิกทั้งสองกลุ่มมีการใช้ทัพยากรอย่างประหยัดและถูกวิถีคือการลดการใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ทำในสภาพแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น 4.สุภาวะทางสังคม -การลดความหวาดระแวงจากโรคระบาดโควิค การที่สมาชิกเข้าใจการป้องกันตัวจากโรคโควิค-19 ทำให้เกิดการพูดคุยพบปะหารื้อในชุมชนมากขึ้น -การทำกิจกรรมร่วมกันแบบกลุ่ม ทำให้เกิดความผูกพันธ์กันมากชึ้นในชุมชนสังคม

  1. ทางกายภาพ มีการตรวจสุภาพ ความดัน โดยใช้แบบสอบถามแบบรายเดี่ยว การพูดคุยปัญหาสุภาพ ทางกาย/ทางจิตใจ ก่อนทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม มีผลสำรวจที่ดีขึ้น 2.ทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในกลุ่มและชุมชน มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันมากขึ้นหลังการจัดทำกิจกรรมมีการพูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกัน จัดทำกิจกรรมร่วมกันสังเกตุจากการนำเสนอในแต่ละกิจกรรม