directions_run

ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนตำบลหน้าถ้ำ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนตำบลหน้าถ้ำ

รหัสโครงการ 64-00214-00 ระยะเวลาโครงการ 12 เมษายน 2564 - 31 มกราคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1.ความรู้ด้านสุภาพ โควิค-19/วัคซีน - ความรู้โรคโควิค-19 ความรุนแรง ที่มา การจัดการและการเฝ้าระวัง มาตรการ DMHTT
2.ด้านการเงิน -การเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน การสร้่างรายได้ ลดรายจ่าย การเรียนรู้การทำบัญชีกลุ่ม การจดบันทึกรายละเอียด การวิเคราะข้อมูลในการจักการกลุ่ม 3.ความรู้ด้านอาชีพ(แบบบูรณาการ) -การจัดการต้นน้ำ การเตรียมพื้นที่ วัสถุดิบ -การจัดการกลางน้ำ การผลิตและแปรรูป -การจัดการปบลายน้ำ ด้านการตลาด/บรรจุภัณท์ มาตราฐาน คุณภาพ การจัดการ ในรูปแบบเอกสารให้กับสมาชิก การอธิบายจากวิทยากร การนำเสนอความเข้าใจของกลุ่มผ่านทางกิจกรรม การลงพื้นที่เผยแพร่ถ่ายทอดองค์ความรู้

1.ภาพถ่ายกิจกรรม 2.เอกสารประกอบการอบรม 3.สมาชิกกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 44 คน

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่ม 2.การเติมเต็มส่นที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

1.ขนมปังอบกระเทียม 2.ขนมเปี๊ยะใส่มังคุล 3.ขนมปังสอดใส่ 4.ต้นกล้าผักปลอดสารพิษ 5.ผักปลอดสารพิษ 6.ฮอร์โมนจุลทรีย์สังเคราะห์แสง 7.ฮอร์โมนย่อยสลาย(จ้าวปลวก)

1.ผลผลิตกลุ่มศรีนังวา(เบเกอร๊่) 2.ผลผลิตกลุ่มนังวากรีน (พรืชผักปลอดสารพิษ)

1.การส่งเสริมการผลิต และองค์ความรู้ 2.การส่งเสริมพัฒนาในระยะที่ 2ด้านคุณภาพ การขยายพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.การเรียนรู้ระบบออฟไลน์และออนไลน์ 2.การจัดกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วมของกลุ่มและสมาชิก 3.การใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้(ไลน์สด)   การสร้างการรับรู้และเรียนรู้ในกลุ่มสมาชิกการทดลอง การปฎิบัติจริง การรับรู้และเรียนรู้ข้อมูลในการวิเคราะห์ สู่การทำแผนทาง ธุรกิจ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้วยโปรแกรมคอมพิเตอร์

1.สื่อออนไลน์ เพจ เฟสบุ็ค ไลน์ 2.เอกสาร

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่ม 2.การเติมเต็มส่นที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.การจัดการตัวบุคคลากร มีการวางแผนกรอบการทำงานในคณะทำงานและสมาชิกเข้าร่วม 2.การจัดการด้านเวลา การประชุมวางกรอบการทำงานให้เหมาะสมกับห้วงเวลาในแต่ละครั้ง 3.การจัดการด้านกิจกรรมในการอบรมและการพัฒนาสมาชิกให้เหมาะสมกับช่วงวัย เวลา และเนื้อหาให้ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

1.ปฎิทินการทำงาน 2.การประชุมวางแผนการทำงาน 3.แผนกำหนดการในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง

1.การกำหนดกรอบระยะเวลาให้เหมาะสมกับกิจกรรม 2.การติดตามและประเมินผลที่เห็นเป็นรูปธรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

1.การเกิดกลุ่มอาชีพ จำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 กลุ่มกรีนนังวา 1.2 กลุ่มศรีนังวา 2. การข้อตกลงกลุ่ม ระเบียบกลุ่ม มีการแบ่งบทบาทหน้าที่การจัดการ ผลประโยชน์ขึ้นโดยการทำข้อตกลงร่วมกัน 3.เกิลกลไกลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนจากการสร้างรายได้ในชุมชน อีก 2 กลุ่มอาชีพ

1.กลุ่มและสมาชิก 2.สถานที่ประกอบการในชุมชนทั้ง 2 กลุ่ม 3.เอกสารกลุ่ม 4.ภาพถ่ายกิจกรรม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่ม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี -การสร้างความเป็นเจ้าของในกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

1.เกิดแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเพิ่มได้แก่ 1.1 แหล่งเรียนรู้ชุมชนกลุ่มผู้ปลูกผักปลอดสารพิษ กลุ่มนังวากรีน เป็นแหล่งการเรียนรู้ชุมชุน การทำการเกษตรปลอดภัย การจัดการสิ่งที่เหลือใช้ในชุมชนมากให้เกิดประโยชน์เช่น เศษใบไม้ ขยะ มูลสัตว์มาใช้ในการเพาะปลูกพืชผัก การสอนการทำฮอร์โมนจากเศษผักในกลุ่ม
1.2 การเรียนรู้การแปรรูปผลผลิตในชุมชนเป็นขนมเบอเกอรี่ เช่นเค้กกล้วยหอม ขนมเปี๊ยะใส้มังคุลกวนและการจัดการของกลุ่มศรีนังวา 1.3 แหล่งเรียนรู้ชุมชนวิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพร เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการทั้งระบบ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

1.แปลงการเพาะปลูกกลุ่มนังวากรีน หมู่ 2 2.ที่ทำการกลุ่มแม่บ้านศรีนังวา หมู่ 2 3.วิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพร หมู่ 1

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่ม 2.การเติมเต็มส่นที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.การรู้จักการป้องกันตัวจากการระบาดโรคโวค-19 อย่างถูกต้องและสามารถเผยแพร่หลักการป้องกันตัวได้ 2.การรู้จักรับทานพืชผักที่ปลอดสารเคมีและปลอดภัยกับสุขภาพ

1.การลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์โรคระบาดโควิค-19ในกลุ่มสมาชิก 2.ผลการตรวจสุขภาพร่างกาย 3.แบบสอบถาม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่ม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

1.การรู้จักรับทานพืชผักที่ปลอดสารเคมีและปลอดภัยกับสุขภาพ 2.การเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย 3.การงดอาหารที่มีโทษต่อร่างกาย

1.การลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์โรคระบาดโควิค-19ในกลุ่มสมาชิก 2.ผลการตรวจสุขภาพร่างกาย 3.แบบสอบถาม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่ม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

1.การจัดกิจกรรมกลุ่ม การมีเวทีแลกเปลื่ยนเพื่อรับฟังความคิดเห็นแลข้อเสนอแนะและลดความขัดแย้งในกลุ่มด้วยเหตุผลในการจัดการ และช่วยลดความตรึงเครียดและน่าเบื่อในการร่วมกิจกรรม การสร้างบรรยากาศในการจัดกิจกรรม

1.ภาพการทำกิจกรรม 2.แบบสอบถามความพึ่งพอใจในการจัดกิจกรรม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1.การปรับเปลี่ยวิถีชีวิตในช่วงการระบาดโรคโควิค-19 การกลับมาประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยหันกับมาใช้ภูิปัญญาในการทำการเกษตร เช่น การใช้ฮอร์โมนในการขับไล่แมลง การใช้น้ำหมักในการทำเป็นปุ๋ยทางใบเพิ่มผลผลิตและลดการใช้เคมีและปุ๋ยเคมี

1.ผลผลิตของกลุ่มนังวากรีน 2.ตัวอย่างสุ่มตรวจสารปนเปื้อนสำนักงานเกษตร 3.การลงพื้นที่ตรวจแปลง

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

1.กิจกรรมการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนทำให้เกิดการจัดการทางการเงินเช่นการจดบัญทึกรายรับรายจ่ายการลดจายจ่าย เพิ่มรายได้ เกิดการควบคุมและปรับเปลียนพฤติกรรมในครัวเรือนส่งผลต่อรายได้ครัวเรือนดีขึ้นจากการทำบัญชี คุณภาพชีวิตดีขึ้น ชุมชนดีขึ้นลดปัญหาเรื่องอบายมุข ปัญหาลักขโมยในชุมชน

1.การลงบัญชีครัวเรือน 2.การลดรายจ่าย ดูจากการจดบัญทึกรายจ่าย 3.การเพิ่มรายได้ จากการรวมกลุ่ม การทำงาน

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

จากกิจกรรมชุมชนเกิดการลดการใช้สารเคมีในการเพาะปลูกพืชผักกลุ่มนังวากรีน จำนวนสมาชิก 20 คนได้เรียนรู้การใช้ฮอร์โมนในการเพาะปลูกพืชลดการใช้สารเคมีคิดเป็นร้อยละ80 ของจำนวนสมาชิกในกลุ่ม และการใช้ฮอร์โมนทำให้ช่วยให้ลดค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูก ทำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นและยังส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคนในครอบครัวดีขึ้นจากการลดการใช้สารเคมี

1.ผลการตรวจสุขภาพในชุมชน 2.การจัดกิจกรรม การบรมการใช้ฮอร์โมน

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้
-มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

1.จากการจัดกิจกรรมสมาชิกในชุมชนมีการทำกิจกรรมที่ก่อเกิดรายได้ คือ 1กลุ่มปลูกผักนังวากรีน สมาชิกมีรายได้จากการขายต้นกล้าผัก ให้กับสมาชิกและบุคคลทั่วไป และยังผลิตผักปลอดสารพิษเช่น คะน้า ผักกาด ออกจำหน่ายเพิ่มรายได้และแบ่งบางส่วนแ่งปันให้คนในชุมชน 2.กลุ่มศรีนังวา ผลิตและจำหน่ายเบอเกอรี่สามารถสร้างรายได้จากการขายขนมเบเกอรี่ในชุมชนและต่างชุมชนจนมีรายได้เลี้งสมาชิกและกลุ่มได้

1.รายได้จากการลงบัญชีครัวเรือน 2.จากการจดบันทึกและทำแบบสอบถาม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

จากการจัดทำกิจกรรมกลุ่มเกิดกระบวนการสร้างกฎระเบียบในกลุ่มโดยมีการประชุมวางแผนการบริหารจัดการทั้ง 3 ระดับได้แก่ 1.การวางแผนการผลิต 2.การวางแผนการแปรรูป 3.การวางแผนการตลาด 4.การจัดการกลุ่มสมาชิก

1.ระเบียบกลุ่มนังวากรีน 2.ระเบียบกลุ่มศรีนังวา 3.การจัดกิจกรรมประชุมอบรม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

เกิดกิจกรรมแบ่งบทบาทหน้าที่บริหารงานในกลุ่มทั้ง 2 กล่มโดยใชิกฎกติกาในการจัดการและใช้หลักในการแสดงความคิดเห็นในทุกเรื่องที่มีการตัดสินใจหรือขอมติในกลุ่ม

1.ระเบียบกลุ่มนังวากรีน 2.ระเบียบกลุ่มศรีนังวา 3.การจัดกิจกรรมประชุมอบรม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

1.กลุ่มเกิดการเชื่อมโยงใน 3 ด้าน ได้แก่
- การเชื่อมโยงด้านการผลิต -การเชื่อมโยงด้านการตลาด -การเชื่อมโยงด้านแปรรูป ทั้งภายในและภายนอกชุมชน

1.ยอดขายจากการขายสินค้า 2.การจดบันทึกกิจกรรม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

จากกรณีการแก้ไขปัญหาผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคโควิค 19 คนในชุมชนเกิดการขาดแคลนอาหาร จากการทำกิจกรรมเพาะปลูกผักปลอดสารการผลิตเบอเกอรี่ทำให้สมาชิกมีรายได้จากการขายสินค้าและบริการ จนถึงมีอาหารและขนมในครอบครัวทานจากการปิดชุมชนและร่วมกันบริหารจัดการผลผลิตให้เพียงพอกับความต้องการ

1.การจดบันทึกกลุ่ม 2.การจัทำแบบสอบถามสมาชิก

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

จากกิจกรรมมีการใช้ทรัพยากรบุคคลในการพัฒนาศักยภาพในการเป็นวิทยากรในการเผยแพร่องค์ความรู้ชุมชนในด้านอาชีพการป้องกันตัวจากโรคระบาดโควิค

1.กิจกรรมการอบรม

1.ส่งเสริมเพิ่มศักยภาพอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

หลังจากจัดกิจกรรมมีการส่งเสริมในการเพิ่มองค์ความรู้แก่สมาชิกทั้งสองกลุ่มในด้านต่างเช่น การส่งไปอบรมการทำการตลาดออนไลน์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์

1.รายชื่อการลงทะเบียนอบรมหน่วยงานภาคี 2.หนังสื่อเชิญเข้าร่วมกิจกรรม

1.ความต่อเนื่องในการพัฒนา 2.การส่งเสริมสนับสนุน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

หลังทำกิจกรรมชุมชนเกิดองค์ความรู้ต่างขึ้นเช่น 1.องค์ความรู้ด้านอาชีพ การผลิต แปรรูป การตลาด 2.ความรู้ด้านการบริหารงานชุมชนและการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม 3.ความรู้การบริหารชุมชนและครอบครัวในช่วงวิกฤตต่าง 4.องค์ความรู้ด้านการจัดการบริหารการเงิน

1.แบบทดสอบ 2การทำกิจกรรม 3.การนำเสนอในกลุ่ม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

1.กลุ่มเกิดกระบวนการในการศึกษาข้อมูลในการจัดการ การวิเคราะห์ข้อมูบในกรอบการตัดสินใจอย่างมีระบบแบบแผนมากขึ้นก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม รวมการวางแผนร่วมกันโดยใช้มติที่ประชุมในการตัดสินใจ

1.การนำเสนอในกลุ่มมีกรอบการวางแผนแบบเป็นขั้นตอน
2.การจดบันทึกการเก็บข้อมูลกลุ่ม เช่นบันทึกการประชุม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

1.เกิดการจัดการกลุ่มอย่างน้อย 2 กลุ่มอาชีพในชุมชนทีมีทักษะในการจัดการกลุ่ม 2.เกิดการพัฒนาบุคคลากรในการเป็นวิทยากรแนะนำส่งเสริมอาชีพในชุมชนและต่างชุมชนอย่างน้อย 10 คนในจำนวนผู้เข้าอบรม จำนวน40 คน 3.ชุมชนมีการจัดการและวางแผนในการจัดการแผนการบริหารค่าใช้จ่ายในครอบครัวและชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ 4.ชุมชุมเกิดการป้องกันและเฝ้าระวังในยามเกิดภัยพิบัติต่างๆในชุมชนอย่างดีเยี่ยม

1.การเก็บข้อมูล 2.แบบสอบถามสมาชิก/ชุมชน 3.ความคิดเห็นของคนในชุมชนและภาคีเครือข่าย

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

1.การจัดการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของกลุ่มต่อชุมชน มีการบริจาคและร่วมกิจกรรมจิตอาสาในชุมชนมีการช่วยเหลื่อในด้านต่างต่างในชุมชนอย่างเห็นได้ชัดเจน 2.การจัดการผลกำไรจากการดำเนินงานให้กับชุมชนผ่านกระบวนการปันผลจากกลุ่ม

1.กฎข้อบังคับในระเบียบกลุ่มทั้ง 2 กลุ่มให้มีผลคืนกับชุมชนโดยมีการจัดการตามระเบียบของกลุ่มร่วมกัน

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

1.กลุ่มมีการพัฒนาตามแผนการทำงานหรือกรอบการพัฒนาโดยยึดหรืออิงกับข้อมูลในชุมชนมีวิเคราะห์ร่วมกันจนสำเร็จและเห็นผล

1.ระเบียบกลุ่มทั้ง 2 กลุ่ม 2.แผนการทำงานกลุ่ม ทั้ง 2 กลุ่ม

1.การพัฒนาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในระยะที่ 2 การสร้างตวามเข้มแข็งของกลุ่มและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม 2.การเติมเต็มส่วนที่ขาดในการสร้างความยั่งยืนของกิจกรรม เช่น -ความรู้ -มาตราฐาน -อุปกรณ์ -การเชื่อมโยงเครื่อข่ายภาคี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ