task_alt

เพิ่มและขยายแหล่งผลิตอาหารชุมชนบ้านทุ่ง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ เพิ่มและขยายแหล่งผลิตอาหารชุมชนบ้านทุ่ง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 เมษายน 2564 ถึง 31 มกราคม 2565

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน กันยายน 2564 ถึงเดือน มกราคม 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน การติดตามแหล่งผลิตอาหาร และติดตามบัญชีครัวเรือน 6/9

วันที่ 10 กันยายน 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ได้รู้วิธีการแปรรูป ปลาดุกที่เลี้ยงในลูกท่อ เป็นปลาส้ม
  2. คณะทำงานติดตาม แปลงผักของตัวเอง และในโซนพื้นที่ของตัวเองรับผิดชอบ ซึ่งมีการปลูกเพิ่มมากขึ้น
  3. แกนนำครัวเรือน มีความตื่นเต้นในการปลูกผัก และมีความสุขในการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  4. มีการนำพันธุ์มาแจก แลกเปลี่ยนกันในการประชุม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • นางก่อเดียะ นิ้วหลี ได้เปิดการประชุม ซึ่งในวันนี้ เรามาประชุมกัน เพื่อติดตามการทำงานของครัวเรือนสมาชิก และติดตามการดำเนินงานบัญชีครัวเรือน

  • แปลผักที่ได้ปลูกดาวเรืองพร้อมกัน แมลงก็ไม่มา ตอนนี้ปัญหาอุปสรรคเรื่องสัตว์เลี้ยง ทางชุมชนในหมู่บ้านก็ช่วยกันระวัง ให้กับสมาชิก และปลูกปลาในท่อก็ได้บริโภคเองแล้้ว ของนางสาวพรรณระวี สำโสะ ได้แปลรูปเป็นปลาส้ม วางขายตามร้านขา ขายดีมาก ซึ่งลูกค้าในชุมชนได้มาถามหากัน ไม่พอในการขายเลย ซึ่งทางลูกค้าบอกว่า เป็นสูตรโบราณ ทำกินอร่อยมาก

 

15 0

2. ถอดเงินเปิดบัญชี

วันที่ 17 กันยายน 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

หัวหน้า คก ไปถอนเงินเปืดบัญชี 500 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

หัวหน้า คก ไปถอนเงินเปืดบัญชี

 

1 0

3. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มผลิตอาหาร 2/2

วันที่ 25 กันยายน 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แกนนำครัวเรือน มีความรู้เรื่องยาที่ไล่แมลง ทำจากวัตถุดิบในหมู่บ้าน  มีการทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งได้รายได้คิดเป็นสัปดาห์ ได้มีการคำนวณสินค้าจากการขาย และการกินที่นับเป็นราคา 1 อาทิตย์ จากการเก็บกินเอง 386 บาท และขายได้ อาทิตย์ ละ 240 บาท ซึ่ง ทำให้มีกำลังใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ และการเลี้ยงปลา  และทุกคนตอนนี้ มีแนวทางในการปลูกผักที่กินตลอด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มผลิดตอาหาร
แกนนำครัวเรือน จัดประชุมแกนนนำครัวเรือน เพื่อสรุปผลการดำเนินงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลิตอาหาร และการจำหน่าย โดยมีการนำบัญชีครัวเรือนมาด้วยส่วนหนึ่ง
นางก่อเดียะ นิ้วหลี ขอให้แกนนำครัวเรือน สรุปผลการดำเนินงานมาของแต่ละโซน

  1. ครัวเรือนแต่ละโซน มีการทำบัญชีครัวเรือน และมีการเพิ่มแหล่งผลิต ของการเลี้ยงปลาดุก ของนายมะฮะหมาด นิ้วหลี ได้มีการเพิ่มเลี้ยงปลา เนื่องจากปลาที่เลี้ยงได้นำมาแปรรูปเป็นปลาส้ม

  2. นายดนรอหมาน ทองอยู่ เพิ่มการเลี้ยงปลาดุกในกะชัง และตอนนี้มีการทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง ได้เห็นถึงรายจ่าย ที่ลดลง เนื่องจากก่อนทำโครงการ เวลาทีต้องการไปซื้อผักที่ร้านค้าในหมู่บ้าน จะมีการซื้อสินค้าอื่่นด้วย ทำให้การเพิ่มค่าใช้าจ่ายมากเลย

  3. นางอารีย์ แจ้งในที่ประชุม การปลูกผักเอาดอกเทียม มาปั้นกำับน้ำ ทำเป็นยาไล่แมลงได้ ซึ่งทำให้เป็นยาที่ปลอดสารพิษและได้ทำกิจกรรมร่วมกันเกิดความสามัคคีของคนในครัวเรือน และในชุมชน และเพื่อช่วยกันแบ่งปันกัน ขายในช่องทางต่าง ๆ

 

17 0

4. ประชุมคณะทำงาน การติดตามแหล่งผลิตอาหาร และติดตามบัญชีครัวเรือน 7/9

วันที่ 2 ตุลาคม 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. หมู่บ้านไกล้เคียงมีความสนใจ ที่จะปลูกผัก และสนใจในการเลี้ยงปลาดุก  ซึ่งหมู่บ้านไกล้เคยงมาสอบในการเลี้ยง  ปลา
  2. และได้ให้เยาวชนของของในพื้นที่มาศึกษาการปลุูกผัก การเลี้ยงปลาดุก
  3. มีการสนใจการทำบัญชีครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • นางก่อเดียะ นิ้วหลี ได้เปิดการประชุม  ซึ่งในวันนี้ เรามาประชุมกัน เพื่อติดตามการทำงานของครัวเรือนสมาชิก และติดตามการดำเนินงานบัญชีครัวเรือน
  • ขอให้ทุกท่านได้รายงานผลการดำเนินการและการติดตามด้วยค่ะ
  1. นางอารีย์ หวันสู  ตอนนี้การทำบัญชีครัวเรือน มีการทำอย่างต่อเนื่อง มีการโทรเข้ามาเพื่อขอคำแนะนำ ค่ะ
  2. นางวรรณลัย เบ็ญหลัง หลังจาก เพิ่มแปลงผัก มีหมู่บ้าน ที่ 11 หมู่ที่ 13 เข้ามาสอบรายละเอียด และมีความสนใจ

 

15 0

5. เวทีถอดบทเรียน

วันที่ 16 ตุลาคม 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. แกนนำครัวเรือนมีความตั้งใจในการทำบัญชีครัวเรือนและจะทำตลอดไป
    2.เพิ่มทักษะของตัวเองในการปลูกผัก เลี้ยงปลา  การเพาะเห็ด
  2. มีความรู้ที่ถูกต้องในการป้องกันตัวเอง จากสถานการณ์โควิด
  3. รู้สึกมีความสุขและทำตัวเองรู้จักเป้าหมายของตัวเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1ประธานโครงการ นายเจนฤทธิ์ เปิดประชุม ชี้แจงการดำเนินงานโครงการดังนี้

  • แนะนำแกนนำโครงการนางก่อเดี็ยะ นิ้วหลีและทีมงาน

  • ชี้แจ้งกิจกรรมโครงการเวทีถอดบทเรียน มีเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เห็นว่าทางหมู่บ้านมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้
    และเป็นสิ่งที่ดีมากในการทำกิจกรรม ด้วยสถานการณ์โควืิด ทำให้รู้เลยว่า ทุกคนต้องพึ่งตนเอง และต้องพื้นให้ได้ มากที่สุดในการทำงานและอยากให้พื้นที่อื่น ๆ ร่วมด้วย

  1. นายดาหลัน งะสยัง ผมมีความภูมิใจมากครับในการทำงานและการเข้าร่วมโครงการนี้ ทำให้มีความสุขในการทำงาน มีเวลาให้กับครอบครัว และเป็นคนใจเย็นเพิ่มมากขึ้นด้วย และที่สำคัญได้รับการตอบรับจากหมู่บ้านไกล้เคียง ลดรายจ่ายของครอบครัว เพิ่มรายได้ของตนเอง

2.นางก่อเดียะ นิ้วหลี ทุกคนมีความสุขก็ดีใจมากค่ะ เพราะกิจกรรมนี้ทำให้ทุกคนได้ทำกิจกรรมของตัวเองในครัวเรือน ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ และที่สำคัญ ได้รู้จักการป้องกันภัยจากสถานการณ์ โควิด - 19 ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมากที่เราต้องระวัง กับตัวเอง ครอบครัว และชุมชน

 

50 0

6. ประชุมคณะทำงาน การติดตามแหล่งผลิตอาหาร และติดตามบัญชีครัวเรือน 8/9

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. แกนนำครัวเรือนมีความตั้งใจในการทำบัญชีครัวเรือน และปลูกผักที่มีพันธุ์ฟืช
  2. เยาวชนสนใจในบ้านรู้จักหน้าที่ของตัวเอง เช่าน การรดน้ำผัก  การใส่ปุ๋ย
  3. มีความสุขในการทำกิจกรรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแผนในการการปลูกเพื่อต้องการให้การปลูกต่อเนื่องและทันต่อความต้องการของตลาด และการทำบัญชีครัวเรือน โดยขอให้ทางนางอารีย์ หวันสู ช่วยอธิบาย ซึ่งมีหน้าที่ติดตามการทำบัญชีครัวเรือน
นางอารีย์ หวันสู ได้มีการทำบัญชีครัวเรือนเป็นประชุมทุกเดือน อยู่ 26 ครัวเรือน ทีเ่หลือ ก็มีการทำที่จะให้เป็นปัจจุบัน ซึ่งก็ได้มีการทำให้ดีที่สุดและตอนนี้เป็นแบบอย่างให้กับลูก
นางสาวไหมมูน๊ะ นิ้วหลี  ตอนนี้ลดเวลาในการไปซื้อสินค้าด้านนอก เพราะหลีกเลี่ยงกับโควิด-19 และเป็นสิ่งที่ดีที่ได้กินผักปลอดสารพิษ  ซึ่งจากการกินได้รู้ว่ากินอร่อยกว่าผักที่มาจากตลาด มาก และสุขภาพก็ดีขึ้นมาก มีเวลากับครอบครัว ในการปลูกผักรวมกัน และยังมีเวลาในการปรึกษาหารือเรื่องอื่น ด้วย ซึ่งเป็นกิจรรมที่ดีมา และที่สำคัญได้ปลูก ต้นงาดำเพิ่มขึ้น บริเวณรั้วบ้าน ทำให้รั้วบ้านสวย และเป็นแบบอย่างที่ดีของเพื่อนบ้านที่ได้เห็น

 

15 0

7. ประชุมคณะทำงาน การติดตามแหล่งผลิตอาหาร และติดตามบัญชีครัวเรือน 9/9

วันที่ 4 ธันวาคม 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

หมู่บ้านไกล้เคียงมีความสนใจ ที่จะปลูกผัก และสนใจในการเลี้ยงปลาดุก  ซึ่งหมู่บ้านไกล้เคียงมาสอบในการปลูกผัก 2. และได้ให้เยาวชนของของในพื้นที่มาศึกษาการปลุูกผัก การเลี้ยงปลาดุก
3. มีการสนใจการทำบัญชีครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแผนในการการปลูกเพื่อต้องการให้การปลูกต่อเนื่องและทันต่อความต้องการของตลาด และการทำบัญชีครัวเรือน
นางดาหลัน งะสยัง  ได้บอกว่า มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายมะละกอ เนื่องจากการทำกิจกรรมได้ปลูกผักชีฝรั่งด้วย มีร้านค้าส้มตำมาขอซื้อและมาสอบถาม การปลูก ซึ่งทำให้มีความสุขในการทำกิจกรรม และมีรายได้เพิ่มขึ้น  เพราะหลังจากทำบัญชีครัวเรือนซึ่งรู้สึกว่า รายจ่ายลดลง ต่อ 1 อาทิตย์ 375 บาท มีรายได้เพิ่มขึ้น  425 บาท  ซึ่งตอนนี้ผักชีฝรั่งขายดีมาก ร้านค้ายำในชุมชนก็มาขอซื้อ นางอารีย์ หวันสู ได้มีการทำบัญชีครัวเรือนเป็นประชุมทุกเดือน อยู่ 26 ครัวเรือน ทีเ่หลือ ก็มีการทำที่จะให้เป็นปัจจุบัน ซึ่งก็ได้มีการทำให้ดีที่สุดและตอนนี้เป็นแบบอย่างให้กับลูก
นางสาวไหมมูน๊ะ นิ้วหลี  ตอนนี้ลดเวลาในการไปซื้อสินค้าด้านนอก เพราะหลีกเลี่ยงกับโควิด-19 และเป็นสิ่งที่ดีที่ได้กินผักปลอดสารพิษ  ซึ่งจากการกินได้รู้ว่ากินอร่อยกว่าผักที่มาจากตลาด มาก และสุขภาพก็ดีขึ้นมาก มีเวลากับครอบครัว ในการปลูกผักรวมกัน และยังมีเวลาในการปรึกษาหารือเรื่องอื่น ด้วย ซึ่งเป็นกิจรรมที่ดีมาก และที่สำคัญได้ปลูก ต้นงาดำเพิ่มขึ้น บริเวณรั้วบ้าน ทำให้รั้วบ้านสวย และเป็นแบบอย่างที่ดีของเพื่อนบ้านที่ได้เห็น

 

15 0

8. พบพี่เลี้ยงเพื่อ ARE ครั้งที่ 3

วันที่ 5 ธันวาคม 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ได้ความรู้ ทักษะ การจัดทำเอกสารที่

-ได้ตรวจเอกสารการเงินโครงการ และแก้ไขส่วนที่ไม่ถูกต้อง

-ได้สรุปผลการดำเนินงานทั้งโครงการ โดยสรุปในประเด็น

1.รายได้จากการขายผลผลิต เฉลี่ยของทุกครัวเรือน ได้ 416 บาท/เดือน 2.สามารถลดค่าใช้จ่ายค่าอาหาร เฉลี่ยของทุกครัวเรือนได้ 337 บาท/เดือน 3.แกนนำมีการทำบัญชีครัวเรือน 3 ใน 5 ครัวเรือน 4. สมาชิกมีการทำบัญชีครัวเรือน 22 ใน 25 ครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • พบพี่เลี้ยงเพื่อขอคำแนะนำในการทำรายงานสรุปผลลัพธ์โครงการ และจัดเป็นรูปเล่ม
  • เพื่อจัดทำข้อมูล และนำเอกสารที่ต่าง ๆ มาจัดรวบรวบรวมทั้งดูเอกสารที่ไม่เรียบร้อย

 

3 0

9. กิจกรรมทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 ฉบับ

วันที่ 17 ธันวาคม 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้รายงานการทำกิจกรรมฉบับสมบูรณ์จำนวน 1 เล่ม ที่รวบรวมสถานการณ์ปัญหา วิธีการดำเนินงาน และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. รวบรวมการทำกิจรรมทั้งหมด
  2. เข้าเล่มกิจกรรมทำรายงานฉบับสมบูรณ์

 

5 0

10. เวทีสรุปผลและถอดบทเรียนโครงการร่วมกับโหนด

วันที่ 26 ธันวาคม 2564 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้ความรู้เรื่องการทำงานเป็นทีม การสร้างเครือข่าย การทำงานที่มีเป้าหมาย นำอุปสรรที่เข้ามาแก้ไขให้ถูกวิธี ซึ่งได้มี การถอดบทเรียนที่เน้นเฉพาะกิจกรรมสำคัญของโครงการ ซึ่งได้มีการทำงาน และสามารถนำผลการถอดบทเรียนจากกิจกรรมนั้นๆไปใช้ประโยชน์ในพัฒนาให้ประสบความสำเร็จ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนของแต่คนทบทวนหรือสรุปประสบการณ์การทำงานที่ผ่านมาในแง่มุมต่าง ๆ การทำงานร่วมกัน  การปลูกผัก ของตัวเองที่ถนัด เพื่อให้เห็นถึงรายละเอียดของเหตุปัจจัยทำให้เกิดผลอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันทั้งที่สำเร็จและต้องแก้ไข หรือเราถอดบทเรียนก็เพื่อสืบค้นความรู้จากการปฏิบัติงานโดยการให้แต่ละคนได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ที่ทำมา พร้อมทั้งบันทึกรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน และความรู้ใหม่ๆที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานทั้งที่สำเร็จหรือแก้ไขเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย และสามารถเผยแพร่ศึกษาเรียนรู้ได้

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 27 27                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 70,000.00 70,500.00                    
คุณภาพกิจกรรม 108                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายเจนฤทธิ์ รอเกตุ
ผู้รับผิดชอบโครงการ