แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก ”

ตำบลเขาเจียก อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายกอบชนม์ ด้วงเล็ก

ชื่อโครงการ โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก

ที่อยู่ ตำบลเขาเจียก อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-00003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาเจียก อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาเจียก อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-00232-00003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก ตั้งอยู่เลขที่ 78 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาเจียก อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลเขาเจียกมีพื้นที่ประมาณ 14.25 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 8,348 ไร่ มีจำนวน 11 หมู่บ้าน ประชากรรวมทั้งสิ้น 5,425 คน จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 2,696 ครัวเรือน มีอาณาเขตพื้นที่ส่วนหนึ่งติดต่อกับเทศบาลเมืองพัทลุง มีลักษณะเป็นกึ่งเมือง กึ่งชนบท มีอัตราการเพิ่มประชากรค่อนข้างสูง จากสภาพปัจจุบันความเจริญเติบโตของชุมชนและท้องถิ่น อีกทั้งประชากรแฝงที่เข้ามาอาศัยทำงานตามห้างร้าน บริษัทต่างๆ จำนวน 6,878 คน นับวันจะมีเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความเป็นอยู่  ปัญหาขยะ  จะเห็นได้ว่าเป็นปัญหาที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ปัญหาขยะอันเป็นปัญหาหนึ่ง ซึ่งมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องแก้ไข ประกอบกับการขยายตัวของเขตเทศบาลตำบลเขาเจียก นับวันที่จะเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการขยายตัวทางสังคม ชุมชน ส่วนราชการ ได้ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หลายหน่วยงาน เช่น สถานีขนส่งเฉลิมพระเกียรติ ศูนย์การประชุม / สัมมนาและที่พักองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ศูนย์แสดงสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดพัทลุง  สนามกีฬากลางจังหวัดพัทลุง และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดพัทลุง ประกอบกับขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งในพื้นที่เทศบาลตำบลเขาเจียก มีห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส สาขาพัทลุง ผู้ประกอบการวัสดุก่อสร้าง เช่นบริษัทสยามโกบอลเฮ้าท์ บริษัทโฮมโปรดักส์เซ็นเตอร์จำกัด(มหาชน) สาขาพัทลุง ร้านสิทธิชัยลีฟวิ่ง คอนเซ็ปท์ สาขาพัทลุง ร้านเสริมสวย ร้านอาหารและเครื่องดื่ม โรงน้ำแข็ง โรงพยาบาลสัตว์ โรงพยาบาลเอกชน สถานีบริการน้ำมัน เป็นต้น ซึ่งต้องรองรับการขยายเมืองต่อไปในวันข้างหน้า
    จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น  ทำให้ในแต่ละวันมีประชาชนเดินทางมาติดต่อราชการ หรือประสานงานเป็นจำนวนมาก ตลอดจนมีการเจริญเติบโตในเรื่องของที่พักอาศัย และมีร้านค้าเกิดขึ้นในชุมชนต่าง ๆ ในหมู่บ้าน จึงทำให้ปัญหาสิ่งแวดล้อมกลายเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องขยะมูลฝอยซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกเดือน เฉลี่ยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประมาณ 167 ตัน/เดือน หรือ 6 ตัน/วัน
    สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลเขาเจียก เทศบาลตำบลเขาเจียก ได้จัดทำกิจกรรมถนนสายหลักปลอดถังและขยายเพิ่มเติมลงสู่ถนนสายรองปลอดถังขยะเพื่อลดปัญหาปริมาณขยะจรที่มาจากต่างพื้นที่ในแต่ละวันที่มีจำนวนมากโดยใช้รถบรรทุกขยะแบบอัดท้ายขนาดบรรจุไม่น้อยกว่า 10 ลูกบาศก์เมตร จำนวน 2 คัน พนักงานเก็บขยะ จำนวน 6  คน พนักงานขับรถ 2 คน วิ่งเก็บขยะมูลฝอยวันละ 1 เที่ยว โดยมีระยะทางการวิ่งจากพื้นที่เทศบาลตำบลเขาเจียกไปบ่อกำจัดขยะเทศบาลเมืองพัทลุง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง เป็นระยะทางวันละ 40 กิโลเมตร มีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะ เช่น ค่าน้ำมันรถ ค่าซ่อมแซมรถ ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าที่ทิ้งขยะ รวมค่าใช้จ่าย 197,500 บาทต่อเดือนหรือ2,370,000 บาทต่อปี ประชาชนมีการคัดแยกในระดับครัวเรือน จำนวน 700 ครัวเรือน ยังไม่คัดแยก 1,996 ครัวเรือน ถึงแม้ว่าเทศบาลตำบลเขาเจียกจะมีการให้บริการเก็บขนขยะมูลฝอยไปกำจัดทุกๆวัน แต่ยังมีขยะมูลฝอยตกค้าง ประกอบกับปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่มีจำนวนมากขึ้น เนื่องจากประชาชนขาดจิตสำนึก ยังไม่มีการคัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภทภายในครัวเรือนและชุมชน ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม มีน้ำเสียในคลองใสยาง(เขาเจียก) ทำให้มีปลาเหลือน้อย ประชาชนนำน้ำมาใช้อุปโภคไม่ได้ จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก ขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี 1,996 ครัวเรือนและบ้านเช่าในแต่ละหมู่บ้าน ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ เจ้าของตลาดนัดไม่ให้ความร่วมมือ จำนวน 2 แห่ง แม่ค้าขาดความรับผิดชอบในการคัดแยกขยะ ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด
    เทศบาลตำบลเขาเจียก ได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือปริมาณขยะลดลง เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะครัวเรือน ขยะชุมชนในระดับตำบล และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาหรือธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ โดยการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการลดขยะในระดับภาพรวมของจังหวัดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
  2. เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
  3. เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
  4. เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
  5. เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าบริการอินเตอร์เน็ต
  2. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ
  3. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  4. จัดทำป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  5. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
  6. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่3
  7. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่ 5
  8. สมัชชาคนเมืองลุง หิ้วชั้น มาชันชี ที่มีเป้าหมาย "พัทลุงเมืองสีเขียว Phatthalung Green City
  9. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่7
  10. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่8
  11. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่9
  12. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่11
  13. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่2
  14. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่10
  15. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่4
  16. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่6
  17. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่1
  18. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 1
  19. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 1
  20. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 1
  21. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนากับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1
  22. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 1
  23. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 2
  24. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 2
  25. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1
  26. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 2
  27. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 2
  28. ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 1
  29. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
  30. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 3 และ ทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 3
  31. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 3
  32. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 4
  33. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 4
  34. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 4
  35. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 4
  36. ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 2
  37. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 5
  38. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 5
  39. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 5
  40. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2
  41. เาทีติดตามประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยการจัดการ(ARE2)
  42. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
  43. ค่าอินเตอร์เนตเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
  44. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(หลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ประชาชนในชุมชน 1,996
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ตัวแทนครัวเรือน/เจ้าของตล 700

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าบริการอินเตอร์เน็ต

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำบันทึกกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะต่างๆของโครงการที่ดำเนินการตั้งแต่เริ่มกระบวนการจึนถึงสิ้นสุดโครงการเข้าสู่ระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การดำเนินงานที่รวดเร็ว 2.สามารถเข้าถึงระบบโครงการได้ตลอดเวลา 3.รายงานผลกิจกรรมต่างๆได้ครบตามโครงการ

 

0 0

2. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการโรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมการปฐมนิเทศผู้รับทุนภายใต้การสนับสนุน Node Flagship พัทลุง ณ.ห้องประชุมเทศบาลเมืองพัทลุง จำนวน 2 คน โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
1. รับฟังการชี้เเจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่ Phatthalung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2. เรียนรู้แนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เรียนรู้และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network
4. เรียนรู้ถึงความสำคัญของของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
5.ลงนามสัญญาขอรับทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่ Phatthalung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  2. เกิดความรู้เรื่องแนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง
  3. เกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network ได้
  4. เกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องความสำคัญของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
  5. สัญญาขอรับทุน

 

3 0

3. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 11 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน สำรองจ่ายเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 500 บาท เพื่อเปิดบัญชีธนาคารรับสนับสนุบงบประมาณโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ถอนเงินจำนวน 500 บาท ซึ่งได้สำรองจ่ายเป็นค่าเปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

4. จัดทำป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

วันที่ 18 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายชื่อโครงการ "โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก" และป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อในประกอบการจัดกิจกรรมตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ป้ายชื่อโครงการ "โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก" จำนวน 1 ป้าย
  • ป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 1 ป้าย

 

0 0

5. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน

วันที่ 19 พฤษภาคม 2565 เวลา 10:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานจำนวน 50 คน ซึ่งมาจากการคัดเลือกแกนนำในชุมชน 11 หมู่บ้าน/ส่วนราชการ/ห้างร้าน ร่วมกันประชุมเพื่อดำเนินการ ดังนี้
1. คัดเลือกครัวเรือน ร่วมปฏิบัติการจัดการขยะนำร่องจาก 11 หมู่บ้าน
2. คณะทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่กัน
3. คณะทำงานจัดทำแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. รายชื่อครัวเรือนที่เข้าร่วมปฏิบัติการจัดการขยะนำร่องจาก 11 หมู่บ้าน
  2. คณะทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่กัน โดยคณะทำงานโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School ทำหน้าที่ดังนี้

- ประชุม วางแผน และจัดทำโครงการโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School
- กำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- ดำเนินการทั้ง 6 ส่วนหลัก ดังนี้ 1) นโยบาย การสนับสนุน และแผนการดำเนินงาน 2) การส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และการสร้างวินัยในการจัดการขยัมูลฝอย 3) กระบวนการปลูกฝังและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 4) การดำเนินกิจกรรมโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School โดยใช้หลัก 3Rs 5) การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 6) ผลสำเร็จและความยั่งยืนของโรงเรียนขยะฯ
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการดำเนินงานและกิจกรรมภายในโรงเรียนขยะฯ อย่างต่อเนื่อง
- แสวงหาความร่วมมือจากภาคี องค์กรเครือข่ายในชุมชน
- ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนขยะฯ
3. เกิดแผนการดำเนินงานโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School

 

50 0

6. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่3

วันที่ 9 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 3 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 3 บ้านไสยาง โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

7. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่ 5

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 5 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 5 บ้านออกศาลา โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

8. สมัชชาคนเมืองลุง หิ้วชั้น มาชันชี ที่มีเป้าหมาย "พัทลุงเมืองสีเขียว Phatthalung Green City

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

งานกิจกรรมประชุมสมัชชาคนเมืองลุง หิ้วชั้น มาชันชี ที่มีเป้าหมาย "พัทลุงเมืองสีเขียว Phatthalung Green City" มีนโยบายสู่การขับเคลื่อน ผ่านโครงการภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยจัดการระดับ flagship พัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประกาศพื้นที่เป้าหมาย - พื้นที่นาอินทรีย์ที่จะเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 100 ไร่ - พื้นที่พืชร่วมยางที่จะเพิ่มขึ้นกว่า 200 ไร่ - พื้นที่ชายฝั่งทะเลสาบสงขลาตอนกลางที่จะเกิดเขตอนุรักษ์เพิ่มขึ้นกว่า 300 เมตร - พื้นที่ลุ่มน้ำคลองนาโอที่จะมีปฏิญญาคนร่มเมืองมาเป็นเกราะในการปกป้องดูแลสายน้ำ
- พื้นที่ชุมชนที่จะสามารถบริหารจัดการขยะในชุมชนให้ลดลงไม่น้อยกว่าพื้นที่ละ 50% ทั้งหมดนี้เกิดจากการมียุทธศาสตร์ร่วมภายใต้การขับเคลื่อนของเครือข่าย เพื่อตอบโจทย์ "ปัญหาคนเมืองลุง คนเมืองลุงร่วมกันจัดการตนเอง

 

3 0

9. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่7

วันที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 7 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 7 บ้านปาบ โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

10. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่8

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 8 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 8 บ้านหัวยาง โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน”ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

11. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่9

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 9 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 9 บ้านหัวถนน โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

12. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่2

วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 2 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านดอนปริง โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

13. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่11

วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 11 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 20 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 11 บ้านนาชด โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

20 0

14. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่4

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 4 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 4 บ้านป่าไส โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

15. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่10

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 10 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 10 บ้านดอนเค็ด โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

16. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่1

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 1 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 1 บ้านป่าห้าม โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

17. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่6

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 6 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 6 บ้านดอนประดู่ โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

 

18 0

18. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 1

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก ร่วมกับคณะทำงานธนาคารขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก ลงพื้นที่ทั้ง 11 หมู่บ้านตำบลเขาเจียกเพื่อเก็บข้อมูลขยะประเภทต่างๆโดยการชั่งปริมาณเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำข้อมูลมาจัดทำสถิติขยะมูลฝอยประจำเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ข้อมูลสถิติการจัดเก็บขยะมูลฝอยประจำเดือน
  2. ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤติกรรม

 

50 0

19. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 1

วันที่ 18 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก เข้าร่วมประชุมเพื่อหารือแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินการโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลเขาเจียก จำนวน 40 คน โดยมีรายละเอียดกิจกรรมดังนี้
1. สรุปผลการดำเนินสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก (Zero Waste School)
2. พิจารณากำหนดแผนงานการขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก (Zero Waste School)
3. พิจารณาพื้นที่ศึกษาดูงานที่มีความสำเร็จการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมให้ความรู้กับชุมชนและหมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน”

 

50 0

20. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง (โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 1

วันที่ 18 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก จำนวน 40 คน ร่วมประชุมเพื่อนำความเห็นจากการลงพื้นที่ทุกชุมชนมาสรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกประเด็นขยะ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลเขาเจียก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกประเด็นขยะ มีประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้
- การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- การคัดแยกขยะอินทรีย์/ขยะเปียกในครัวเรือน
- ไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะ

 

50 0

21. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนากับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มรายประเด็น และรายงานความก้าวหน้าตามตัวชี้วัดใต้บันใดผลลัพธ์แต่โครงการได้ดำเนินกิจกรรมถึงบันใตขั้นไหน ข้อมูลผลลัพธ์เกิดอะไรบ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน(ผู้นำ รพสต รร อสม ท้องที่ ) มีข้อมูลขยะและข้อมูลจัดการขยะ  เกิดมีกลไกนักเรียนแกนนำที่เป็นผู้นำท้องถิ่น  เกิดโรงเรียนขยะตำบล มีครูขยะตำบล 10คน และมีแผนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่

 

3 0

22. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 1

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เชิญชวนสมาชิกโรงเรียนขยะเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา Big Gleaning Day คลองไสยาง 2.ร่วมประชุมแนวทางการพัฒนา 3.พัฒนาคลองไสยางตามที่มอบหมายในที่ประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ลำคลองไสยางมีความสะอาดมากขึ้น 2.คลองไสยางปลอดขยะ 3.ผู้คนในพื้นที่มีความรักและหวงแหนในการรักษาความสะอาดคลองไสยาง 4.เป็นที่พักผ่อนของนักท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น

 

50 0

23. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 2

วันที่ 16 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
ประชุม คณะทำงานประชุม 5 ครั้ง (ทุก 2 เดือน) ผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เพื่อออกแบบเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ ประเมิน และรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วม 50  คน เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน  เป็นคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน  มีการแบ่งบทบาทหน้าที่  มีแผนการดำเนินงานของคณะทำงาน  คณะกรรมการมีการประชุมทุก 2 เดือน  และคณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูก

 

50 0

24. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 2

วันที่ 16 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. คณะทำงานนัดประชุมนำความเห็นจากการลงพื้นที่ทุกชุมชนมาสรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกประเด็นขยะ เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
- มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก”
-มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด ทุกเดือน -มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง/หมู่บ้าน -คลองใสยาง(เขาเจียก)ปลอดขยะ 1 แห่ง -ถนนปลอดขยะ 4 สาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่เกิดขึ้นจริง - มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก”
-มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด ทุกเดือน -มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง/หมู่บ้าน -ประกาศให้คลองใสยาง(เขาเจียก)ปลอดขยะ 1 แห่ง -กำหรดถนนปลอดขยะ 4 สาย

 

50 0

25. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1

วันที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดประชุมเพื่อประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)  ครั้งที่ 1 2. เป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 50 คน ประกอบไปด้วย คณะทำงาน/สมาชิกโครงการ/ภาคีเครือข่าย 3. รายงานผลการดำเนินโครงการตามบันใดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามข้อมูลตัวชี้วัดที่คณะทำงานเก็บ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน(ผู้นำ รพสต รร อสม ท้องที่ ) มีข้อมูลขยะและข้อมูลจัดการขยะ  เกิดมีกลไกนักเรียนแกนนำที่เป็นผู้นำท้องถิ่น  เกิดโรงเรียนขยะตำบล มีครูขยะตำบล 10คน และมีแผนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่

 

50 0

26. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 2

วันที่ 23 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1.คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเทศบาลเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ 2. คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลงร้อยละ 50    และมีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40 ทำได้จริงจากข้อมูล  เมื่อมีการคัดแยกขยะแล้ว ขยะทั้วไปลดลง 14.5 ตันต่อเดือนและมีการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท

 

50 0

27. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 2

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาด 2 ข้างทางถนนสายหลักและสายรองในหมู่บ้าน จำนวน  4  สาย 2. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดในคลองใสยาง(เขาเจียก) ปีละ 4 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิด 1 เกิดกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก”
2.มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด ทุกเดือน 3.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง/หมู่บ้าน 4.คลองใสยาง(เขาเจียก)ปลอดขยะ 1 แห่ง 5.ถนนปลอดขยะ 4 สาย

 

50 0

28. ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 1

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ส่วนราชการ/ศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเขาเจียก/เจ้าของตลาดนัด/ห้าง/ร้านค้าฯลฯ รายละเอียดกิจกรรม
1. คัดเลือกวิทยากรเป็นทีมสร้างแรงจูงใจ สาธิตการจัดการขยะ และสร้างการเรียนรู้ 2. จัดหาวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้
    - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำน้ำหมัก/ยาไล่แมลง/เลี้ยงไส้เดือน     - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำหมักแห้ง /บ่อขยะเปียกครัวเรือน(ถังรักษ์โลก) 3. สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R
4. ร่วมพิจารณาและกำหนดเส้นทางเดินขยะทุกประเภท(แผนที่ขยะ) 5. รับฟังความเห็นจัดทำธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก ประเด็นขยะ 6. ตัวแทนครัวเรือนนำร่อง/โรงเรียนวัดโคกชะงาย/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ชมรมผู้สูงอายุ/เจ้าของตลาดนัด/ห้าง/ร้านค้า รวม 200 คน/ครัวเรือน เข้าร่วมกิจกรรม 7.กิจกรรมขยะแลกไข่ปีละ 2 ครั้ง 8.กิจกรรมทอดผ้าป่าขยะสามัคคี ปีละ  1  ครั้ง 9.บรรจุแผนการเรียนรู้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเขาเจียก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้บรรจุแผนการเรียนรู้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเขาเจียก -ตัวแทนครัวเรือนนำร่อง/โรงเรียนวัดโคกชะงาย/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ชมรมผู้สูงอายุ/เจ้าของตลาดนัด/ห้าง/ร้านค้า รวม 200 คน/ครัวเรือน เข้าร่วมกิจกรรม - มัการสนับสนุนจัดหาวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้
    - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำน้ำหมัก/ยาไล่แมลง/เลี้ยงไส้เดือน     - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำหมักแห้ง /บ่อขยะเปียกครัวเรือน(ถังรักษ์โลก) -เกิดกิจกรรมขยะแลกไข่ปีละ 2 ครั้ง -สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R

 

2,696 0

29. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

วันที่ 14 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1.ประสานพื้นที่ศึกษาดูงานที่มีความสำเร็จการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 2.นำคณะทำงานร่วมศึกษาดูงาน เป้าหมายตำบลชะรัด และหรือ ตำบลโคกม่วง อ เขาชัยสน จังหวัดพัทลุง 3.สรุปผลการศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางเทศบาลตำบลเขาเจียกไม่ได้ไปศึกษาดูงานในครั้งนี้ ขอส่งเงินคืนกลับหน่วยจัดการ

 

50 0

30. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 3 และ ทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 3

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. คณะทำงานประชุม 5 ครั้ง (ทุก 2 เดือน) ผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เพื่อออกแบบเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ ประเมิน และรายงานผล 2. คณะทำงานประชุมนำความเห็นจากการลงพื้นที่ทุกชุมชนมาสรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกประเด็นขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเทศบาลเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ เพื่อเห็นทิศทางการขับเคลื่อน

 

50 0

31. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 3

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาด 2 ข้างทางถนนสายหลักและสายรองในหมู่บ้าน จำนวน  4  สาย 2. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดในคลองใสยาง(เขาเจียก) ปีละ 4 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ  มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด ทุกเดือน  มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง  11 หมู่บ้าน  ให้คลองใสยาง(เขาเจียก)ต้นแบบปลอดขยะ 1 แห่ง ถนนปลอดขยะอย่างน้อย 4 สาย

 

50 0

32. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 4

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. คณะทำงานนัดประชุมนำความเห็นจากการลงพื้นที่ทุกชุมชนมาสรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกประเด็นขยะเพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (ระบบสื่อสารอะไรบ้าง) โดยมีเป้าหมาย เกิดกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก”  มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด ทุกเดือน และมีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง/หมู่บ้าน โดยคลองใสยาง(เขาเจียก)ปลอดขยะ 1 แห่ง ถนนปลอดขยะ 4 สาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก”  มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด ทุกเดือน และมีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง/หมู่บ้าน

 

50 0

33. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 4

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ายละเอียดกิจกรรม
1. คณะทำงานประชุม 5 ครั้ง (ทุก 2 เดือน) ผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เพื่อออกแบบเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ ประเมิน และรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเทศบาลเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ
  • คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ    ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลงร้อยละ 50    มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40

 

50 0

34. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 4

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1.คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเทศบาลเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ 2. คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายการขับเคลื่อนโครงการ  ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลงร้อยละ 50  มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40  เกิดขึ้นจริง  ปริมาณขยะ ลดลง  45.5 ตันต่อเดือน และมีการใช้ประโยชน์จากขยะทุกประเภท

 

50 0

35. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 4

วันที่ 6 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
-ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาด 2 ข้างทางถนนสายหลักและสายรองในหมู่บ้าน จำนวน  4  สาย -ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดในคลองใสยาง(เขาเจียก) ปีละ 4 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาด 2 ข้างทางถนนสายหลักและสายรองในหมู่บ้าน จำนวน  4  สาย
  2. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดในคลองใสยาง(เขาเจียก)แอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

 

50 0

36. ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 2

วันที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในในโรงเรียน/ส่วนราชการ/ศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเขาเจียก/เจ้าของตลาดนัด/ห้าง/ร้านค้าฯลฯ รายละเอียดกิจกรรม
1. คัดเลือกวิทยากรเป็นทีมสร้างแรงจูงใจ สาธิตการจัดการขยะ และสร้างการเรียนรู้ 2. จัดหาวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้
    - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำน้ำหมัก/ยาไล่แมลง/เลี้ยงไส้เดือน     - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำหมักแห้ง /บ่อขยะเปียกครัวเรือน(ถังรักษ์โลก) 3. สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R
4. ร่วมพิจารณาและกำหนดเส้นทางเดินขยะทุกประเภท(แผนที่ขยะ) 5. รับฟังความเห็นจัดทำธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก ประเด็นขยะ 6. ตัวแทนครัวเรือนนำร่อง/โรงเรียนวัดโคกชะงาย/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ชมรมผู้สูงอายุ/เจ้าของตลาดนัด/ห้าง/ร้านค้า รวม 200 คน/ครัวเรือน เข้าร่วมกิจกรรม 7.กิจกรรมขยะแลกไข่ปีละ 2 ครั้ง 8.กิจกรรมทอดผ้าป่าขยะสามัคคี ปีละ  1  ครั้ง 9.บรรจุแผนการเรียนรู้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเขาเจียก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้ทำกิจกรรมขยะแลกไข่ ครั้งที่ 2 -ได้บรรจุแผนการเรียนรู้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเขาเจียก -ได้สนับสนุนวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้
    - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำน้ำหมัก/ยาไล่แมลง/เลี้ยงไส้เดือน     - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำหมักแห้ง /บ่อขยะเปียกครัวเรือน(ถังรักษ์โลก)

 

200 0

37. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 5

วันที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
เพื่อบรรลุตัวชี้วัดผลลัพธ์  1 มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน  2 มีการแบ่งบทบาทหน้าที่  3 มีแผนการดำเนินงาน 4 มีการประชุมทุก 2 เดือน  5 คณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

รายละเอียดกิจกรรม
1. คณะทำงานประชุม 5 ครั้ง (ทุก 2 เดือน) ผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เพื่อออกแบบเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ ประเมิน และรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วม 50 คนที่มาจากหลายภาคส่วน  เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน  10 คน เป็นคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน  มีการแบ่งบทบาทหน้าที่  มีแผนการดำเนินงาน  มีการประชุมทุก 2 เดือนและ คณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง

 

50 0

38. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 5

วันที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) รายละเอียดกิจกรรม  คณะทำงานนัดประชุมนำความเห็นจากการลงพื้นที่ทุกชุมชนมาสรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียกประเด็นจัดการขยะของตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ มีระบบสื่อสาร  คือ กติกาด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก”  เช่น การคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ส่วนราชการ/ห้าง/ร้านค้า/ ตลาดนัด มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง/หมู่บ้าน  พื้นที่ต้นแบบคลองใสยาง(เขาเจียก)ปลอดขยะ 1 แห่ง มีถนนปลอดขยะ 4 สาย

 

50 0

39. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 5

วันที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1.คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเทศบาลเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ 2. คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ
(ประเมินงานงอกใหม่ หรือ นวัตกรรม) ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง  ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลงร้อยละ 50  และมีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปริมาณขยะที่ลดลง 14.5 ตัน.ต่อเดือนจากเดิม 167 ตัน ลดลงเหลือ 152.5 ตันต่อเดือนหรือ 8.5 % และมีการใช้ประโยชน์จากขยะมากกว่า ร้อยละ 40 โดย การครัวเรือนคัดแยกขยะทั้ง 4 ประเภท  ขยะรีไชเคิลนำไปขาย  ขยะอันตรายรวบรวมเอาไปทำลายลาย  อบจ  ขยะอินทรีย์นำไปใช้เประโยชน์ทำปุ๋ย  ถังรักษ์โลกษ์โคนต้นไม้  และเหลือขยะทั่วไป 152.5  ตันต่อเดือน

 

50 0

40. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2

วันที่ 23 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานความก้าวหน้าตามบันใตผลลัพธ์ครั้งที่ 2  เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาของคณะทำงาน ต่อที่ประชุมเพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานโครงการข้อมูลตามตัวชี้วัด ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 700 คน เกิดครัวเรือนที่เข้าร่วมจำนวน 200 ครัว เกิดแกนนำจะนวน 50  คน เกิดโรงเรียนขยะ 1 แห่ง จำนวนครูสอนจัดการขยะ 10 คน เกิดแผนที่ขยะทั้ง 4 ประเภท  มีแผนที่ขยะ 4 ชุมชน มีขยะลดลง 14.5 ตัน/เดือน เกิดกลไกติดตามประเมินผลในชุมชน  มีกติกาการจัดการขยะเป็นธรรมนูญสุขภาพว่าด้วยการคัดแยกขยะก่อนทิ้งทุกครัวเรือน  จำนวนครัวเรือนคัดแยกขยะ 200 ครัว

 

50 0

41. เาทีติดตามประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยการจัดการ(ARE2)

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การระดมความคิดและรายงานผลการดำเนินงานหลังจากการจัดการบริหารจัดโครงการ ได้ดำเนินงานมาถึงช่วงระยะ ต้องมีการติดตามผลลัพธ์ การเปลี่ยนแปลง ของแต่ละประเด็น โดยมีการแบ่งกลุ่มตามรายประเด็นนำมาแลกเปลี่ยนในประเด็นการจัดการน้ำเสียชุมชน และกลุ่มการจั้ดการขยะ มี ผู้นำนำเสนองานและช่วยกันแลกเปลี่ยนผลลัพธ์ที่เกิดขี้น โดยมีทีมพี่เลี้ยงช่วยกันเติมเต็มข้อมูลเพื่อให้เห็นผลลัพธืได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 700 คน เกิดครัวเรือนที่เข้าร่วมจำนวน 200 ครัว เกิดแกนนำจะนวน 50  คน เกิดโรงเรียนขยะ 1 แห่ง จำนวนครูสอนจัดการขยะ 10 คน เกิดแผนที่ขยะทั้ง 4 ประเภท  มีแผนที่ขยะ 4 ชุมชน มีขยะลดลง 14.5 ตัน/เดือน

 

3 0

42. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

วันที่ 13 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน รายละเอียดกิจกรรม
1.คณะทำงานจัดการขยะตำบลเข้าร่วม  50 คน
2.ตัวแทนครัวเรือน ผู้นำท้องถิ่น ท้องที่ และภาคีร่วม  จำนวน 50 คน
รวมทั้งสิ้น  100 คน
2. วิทยากรดำเนินการเพื่อสร้างกระบวนการคืนข้อมูลการสร้างความร่วมมือการจัดการขยะตำบลเขาเจียก 3. ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบนำเสนอแนวทางการ รูปแบบจัดการขยะครัวเรือน 4.ผู้ใหญ่บ้านต้นแบบ หน่วยงานต้นแบบ นำเสนอ แนวทางการ รูปแบบจัดการขยะชุมชนและหน่วยงาน 5.ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ คณะทำงาน ร่วมประกาศสัญญาประชาคมการจัดการขยะตำบลเขาเจียก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 700 คน  เกิดครัวเรือนที่เข้าร่วมจำนวน 200 ครัว เกิดแกนนำจะนวน 50  คน เกิดโรงเรียนขยะ 1 แห่ง จำนวนครูสอนจัดการขยะ 10 คน เกิดแผนที่ขยะทั้ง 4 ประเภท  มีแผนที่ขยะ 4 ชุมชน มีขยะลดลง 14.5 ตัน/เดือน

 

100 0

43. ค่าอินเตอร์เนตเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ โดยการบันทึกขั้นตอนการทำกิจกรรม บันทึกรูปในระบบรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ

 

2 0

44. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(หลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 3

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1.คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเทศบาลเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ 2. คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลปริมาณขยะทั้ง 4 ประเภท ดังนี้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน 2.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการประชุมทุก 2 เดือน 5.คณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
4.00

 

2 เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนจัดการยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 80 % 2.ในส่วนราชการ/โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ห้าง/ร้านค้า/โรงเรียนผู้สูงอายุ ฯลฯ จัดการที่ถูกต้อง ทุกแห่ง 3.ขยะในตลาดนัดได้รับการจัดการที่ถูกต้องอย่างน้อย 2 ตลาด 4.มีร้านค้าจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 10 ร้าน
4.00

 

3 เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” 2.มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในส่วนราชการ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก /ตลาดนัด /ห้าง/ร้านค้า ฯลฯ ทุกเดือน 3.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง 11 แห่ง/หมู่บ้าน 4.คลองไสยาง(เขาเจียก)ปลอดขยะ 1 แห่ง5.ถนนปลอดขยะ 4 สาย
4.00

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะที่เทศบาลจัดเก็บลดลงร้อยละ 50 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40
4.00

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด : การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2696
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ประชาชนในชุมชน 1,996
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ตัวแทนครัวเรือน/เจ้าของตล 700

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชน (2) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (4) เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง (5) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าบริการอินเตอร์เน็ต (2) ประชุมปฐมนิเทศโครงการ (3) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (4) จัดทำป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (5) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (6) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่3 (7) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่ 5 (8) สมัชชาคนเมืองลุง หิ้วชั้น มาชันชี ที่มีเป้าหมาย "พัทลุงเมืองสีเขียว Phatthalung Green City (9) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่7 (10) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่8 (11) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่9 (12) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่11 (13) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่2 (14) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่10 (15) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่4 (16) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่6 (17) ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่1 (18) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 1 (19) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 1 (20) ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 1 (21) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนากับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1 (22) รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 1 (23) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 2 (24) ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 2 (25) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 (26) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 2 (27) รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 2 (28) ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 1 (29) กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (30) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 3 และ ทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 3 (31) รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 3 (32) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 4 (33) ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 4 (34) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 4 (35) รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 4 (36) ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 2 (37) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 5 (38) ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 5 (39) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 5 (40) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2 (41) เาทีติดตามประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยการจัดการ(ARE2) (42) เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน (43) ค่าอินเตอร์เนตเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ (44) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(หลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-00003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกอบชนม์ ด้วงเล็ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด