directions_run

จัดการขยะแบบมีส่วนร่วมโดยหลักสูตรโรงเรียนขยะตำบลเขาหัวช้าง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.มีกลไกคณะทำงานที่มีตัวแทนจากท้องถิ่น รพ.สต.แกนนำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อสม. โรงเรียน 2.มีข้อมูลขยะชุมชนและข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะ 3.มีกลไกนักเรียนแกนนำที่เป็นผู้นำท้องถิ่น ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 4.มีโรงเรียนขยะตำบลที่มีหลักสูตรการสอน 5.มีครูขยะตำบลไม่น้อยกว่า 10 คน 6.มีการจัดทำแผนการสอนและกิจกรรมการสอนที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน
0.00

1.คณะทำงานเป็นคณะกรรมการที่มีการทำงานกันมาอย่างต่อเนื่องจึงง่ายในกระบวนการก่อตัวและการจัดการโครงการ 2.ข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะ ที่มาของขยะเกิดจากการนำเข้าขยะเข้าชุมชนเนื่องจากความจำเป็นในการใช้ชีวิตประจำวัน ขยะส่วนใหญเป็นขยะอินทรีย์และขยะทั่วไป การจัดการเบื้องต้นในชุมชนมีการเรียนรู้การจัดการมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการคัดแยกตามประเภทขยะ การกำจัดขยะทั่วไปด้วยการเผา ขยะอินทรีย์จัดการด้วยการให้ย่อยสลายไปตามธรรมชาติ การนำไปใช้ประโยชน์โดยการขายขยะ อีกทั้งกองทุนสุขภาพตำบลก็ได้สนับสนุนงบประมาณให้กับชุมชนในการทำโครงการและกิจกรรมต่างๆในพื้นที่เรื่องเรื่องการจัดการขยะมาอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน

2 เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน(คัดแยก กำจัด ใช้ประโยชน์ 2.มีแผนการจัดการขยะรายครัวเรือน 3.มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมขยะของครัวเรือนในชุมชนของนักเรียน 5.นักเรียนของโรงเรียนขยะสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนได้ไม่น้อยกว่า 10 คนต่อนักเรียน 1คน
0.00

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมชุมชนที่เอื้อต่อการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มาตรการของชุมชนเพื่อการจัดการขยะ 2.มีใช้ประโยชน์จากขยะ อย่างน้อย2รูปแบบ 3.มีการปฏิบัติการในรูปแบบต่างๆในทุกชุมชน
0.00

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
ตัวชี้วัด : 1.มีครัวเรือนที่จัดการขยะไม่น้อยกว่าร้อยละ50 ของครัวเรือนทั้งหมด 2.ขยะครัวเรือนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3.ปริมาณขยะในที่สาธารณะลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20
0.00

 

5 เพื่อให้เกิดความร่วมมือกับท้องถิ่นในการจัดการขยะตำบล
ตัวชี้วัด : 1.มีข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือธรรมนูญสุขภาพตำบลว่าด้วยการจัดการขยะ
0.00

 

6 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด : การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง (2) เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมชุมชนที่เอื้อต่อการจัดการขยะ (4) เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง (5) เพื่อให้เกิดความร่วมมือกับท้องถิ่นในการจัดการขยะตำบล (6) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (2) กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการ (3) ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 (4) ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 (5) เวทีถอดบทเรียนการจัดการขยะตำบล(จัดกิจกรรมใช้เวลา1วัน) (6) กิจกรรมจัดทำป้ายประกอบโครงการ (7) กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ ค่าอินเตอร์เน็ต (8) ประชุมคณะทำงานครั้งที่3 (9) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการ ครั้งที่1 (10) กิจกรรมศึกษาดูงานการสร้างโรงเรียนขยะ ณ.โรงเรียนขยะเทศบาลตำบลชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง (เวลา1วัน) เปลี่ยนแปลงสถานที่ศึกษาดูงานเป็น อบต.เขาชัยสน (11) กิจกรรมจัดทำหลักสูตรโรงเรียนขยะ(เวลา1วัน) (12) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการครั้งที่2 (13) เบิกเงินค่าเปิดบัญชี (14) กิจกรรมสอนนักเรียนโรงเรียนขยะตำบล(กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด55คน)(ใช้เวลา1วัน) (15) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่1 (16) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่2 (17) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่3 (18) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่4 (19) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่5 (20) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่6 (21) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่7 (22) กิจกรรมเวทีระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาข้อบัญญัติท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดการขยะ (23) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)1 (24) ประชุมคณะทำงานครั้งที่4 (25) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่8 (26) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่9 (27) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่10 (28) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ครั้งที่11 (29) กิจกรรมครูติดตามนักเรียน (30) ประชุมคณะทำงานครั้งที่5 (31) กิจกรรมเข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 (32) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 2 (33) กิจกรรมปฏิบัติการลดขยะตามปัญหาของแต่ละหมู่บ้านตามแผนงานโครงการ (34) ประชุมคณะทำงานครั้งที่6 (35) กิจกรรมคืนข้อมูลสรุปผลการดำเนินงาน (36) กิจกรรมยกร่างธรรมนูญสุขภาพตำบลว่าด้วยการจัดการขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh