directions_run

โครงการการจัดการน้ำเสียชุมชนตลาดเก่าท่ามิหรำ

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมคนในชุมชนมีตระหนักเรื่องการจักน้ำเสียชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนมีความรู้การจัดการน้ำเสีย ไม่น้อยกว่า60 ครัวเรือน 2. มีแผนการจัดการน้ำเสียในครัวเรือน ไม่น้อยกว่า.60 ครัวเรือน 3. มีกติกาชุมชนในการจัดการน้ำเสีย
0.00

 

2 เพื่อสร้างกลไกการขับเคลื่อนชุมชนลดน้ำเสียเข็งแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงานที่มีส่วนร่วมจากท้องถิ่น ผู้นำชุมชนและตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน 2. มีข้อมูลพฤติกรรมการใช้น้ำของครัวเรือน 3. เกิดแผนที่เส้นทางน้ำชุมชน

 

3 มีรูปแบบการจัดการน้ำเสียครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนบ่อดักไขมันอย่างง่ายที่ชุมชนได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80% 2. จำนวนธนาคารน้ำเสียไต้ดินครอบคลุมครัวเรือนที่ต้องการจัดการน้ำเสียด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน 3. เกิดครัวเรือนที่มีการใช้ประโยชน์จากกระบวนการจัดการน้ำเสีย ไม่น้อยกว่า 10 ครัวเรือน 4.มีแผนการติดตามการจัดการน้ำเสียชุมชน

 

4 ครัวเรือนมีการจัดการน้ำเสีย
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนครัวเรือนที่มีปัญหาการจัดการน้ำสามารถจัดการน้ำเสียได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ70% 2. ปัญหาที่เกิดจากน้ำเสียลดลง(กลิ่นเหม็น แหล่งเพาะพันธ์พาหนะนำโรค)

 

5 มีระบบจัดการน้ำเสียในพื้นที่ร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนจุดจัดการน้ำเสียที่ชุมชนร่วมกับท้องถิ่นดำเนินการไม่น้อยกว่า 1จุด 2. เกิดแผนจัดการน้ำเสียของชุมชนหรือเกิดข้อบัญญัติท้องถิ่นเทศบาลเมืองพัทลุง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ครัวเรือนปฏิบัติการจัดการ 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมคนในชุมชนมีตระหนักเรื่องการจักน้ำเสียชุมชน (2) เพื่อสร้างกลไกการขับเคลื่อนชุมชนลดน้ำเสียเข็งแข็ง (3) มีรูปแบบการจัดการน้ำเสียครัวเรือน (4) ครัวเรือนมีการจัดการน้ำเสีย (5) มีระบบจัดการน้ำเสียในพื้นที่ร่วมของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศน์โครงการ (2) ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 (3) . เก็บ-วิเคราะห์ข้อมูลการจัดการน้ำเสียของชุมชน (4) ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 (5) ปฏิบัติการตามแผนแก้ไขน้ำเสีย(แผนทำเอง/แผนทำร่วม/ทำขอ) ภาคีสมทบ (6) ประชุมคณะทำงานครั้งที่3 (7) เวทีสร้างความเข้าใจการจัดการน้ำเสีย (8) 2.ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม ไม่เกิน 1,000 บาท (9) ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร (10) 5.  ประชุมกลไกเพื่อ ติดตามผลโครงการ AREครั้งที่ 1 (11) การศึกษาดูงานของแกนนำครัวเรือนและกลไก (12) ประชุมคณะทำงานครั้งที่4 (13) ประชุมคณะทำงานครั้งที่5 (14) ประชุมคณะทำงานครั้งที่6 (15) ประชุมกลไกขับเคลื่อนการจัดการน้ำเสียชุมชน (16) ประชุมคณะทำงานครั้งที่7 (17) 7.  จัดทำแผนผังน้ำชุมชน (18) 6. วิเคราะห์ข้อมูลน้ำเสียของครัวเรือนและชุมชนเป้าหมาย (19) 11.  ประชุมติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ( ARE 2.) (20) เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยจัดการระดับจังหวัด (ARE ) ครั้งที่ 2 (21) 10.  ปฏิบัติการการจัดการน้ำเสียในครัวเรือนต้นแบบ (22) 12. สรุปผลถอดบทเรียนโครงการ (23) 1.ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ ไม่เกิน 1,000 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh