directions_run

โครงการการจัดการน้ำเสียชุมชนบ้านนอก - ม่วงหวาน

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อส่งเสริมคนในชุมชนมีตระหนักเรื่องการจัดน้ำเสียชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนมีความรู้การจัดการน้ำเสีย ไม่น้อยกว่าร้อย 80 ของครัวเรือนเป้าหมาย 2. มีแผนการจัดการน้ำเสียในครัวเรือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของชุมชน 3. มีกติกาชุมชนในการจัดการน้ำเสีย
0.00

1.ครัวเรือนมีความรู้ในการจัดการน้ำเสียชุมชน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปออกแบบการจัดการน้ำได้ ร้อยละ 80
ของกลุ่มเป้าหมาย 2.เกิดแผนการจัดการน้ำในครัวเรือนร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วยบ่อดักไขมัน การคัดแยกขยะอินทรีย์
และน้ำไปเลี้ยงไส้เดือน 3.ทำน้ำหมักชีวภาพบำบัดน้ำเสีย พร้อมวางแผนปฏิบัติการจัดทำระบบจัดการน้ำเสียในระดับครัวเรือนและจัดการจุดเสี่ยงของชุมชน

 

 

2 เพื่อสร้างกลไกการขับเคลื่อนชุมชนลดน้ำเสียเข็งแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงานที่มีส่วนร่วมจากผู้นำชุมชนและตัวแทนครัวเรือน จากท้องถิ่นร่วมเป็นคณะทำงาน จำนวน 15 คน 2. มีข้อมูลพฤติกรรมการใช้น้ำของครัวเรือน 3. เกิดผังน้ำเสียชุมชน
0.00

1.มีคณะทำงานที่สามารถขับเคลื่อนงานได้ จำนวน 11 คน ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนของคณะกรรมการชุมชน  ตัวแทนกลุ่ม เช่น อสม. กลุ่มพัฒนาสตรี และตัวแทนเทศบาล
2. มีข้อมูลพฤติกรรมการใช้น้ำของครัวเรือน ที่คณะกรรมการชุมชนสามารถนำมาว่างแผนในการส่งเสริมการจัดการน้ำเสียในระดับครัวเรือนและการลดจุดเสี่ยงน้ำเสียในชุมชน 3.เกิดผังน้ำเสียชุมชน

 

 

3 เกิดรูปแบบการจัดการน้ำเสียครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนบ่อกัดไขมันอย่างง่ายที่ชุมชนได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80% ของครัวเรือนเป้าหมาย 2. จำนวนธนาคารน้ำเสียไต้ดินครอบคลุมครัวเรือนที่ต้องการจัดการน้ำเสียด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของครัวเรือนเป้าหมาย 3. เกิดครัวเรือนที่มีการใช้ประโยชน์จากกระบวนการจัดการน้ำเสีย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย 4. มีแผนการติดตามการจัดการน้ำเสียชุมชน
0.00

 

 

 

4 ครัวเรือนจัดการน้ำเสีย
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครัวเรือนที่มีปัญหาการจัดการน้ำสามารถจัดการน้ำเสียได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ70%ของกลุ่มเป้าหมาย 2. ปัญหาที่เกิดจากน้ำเสียลดลง(กลิ่นเหม็น แหล่งวเพาะพันธ์ยุงลาย
0.00

 

 

 

5 มีระบบจัดการน้ำเสียไปพื้นที่ร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนจุดจัดการน้ำเสียที่ชุมชนร่วมกับท้องถิ่นดำเนินการไม่น้อยกว่า 1 จุด 2. เกิดความร่วมมือในการจัดการน้ำเสียระหว่างชุมชนกับเทศบาลเมืองพัทลุง
0.00

 

 

 

6 เพื่อให้การจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด :
0.00