directions_run

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สร้างพื้นที่สวนยางพาราให้เป็นแหล่งอาหารปลอดภัยชุมชนในทอน

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกลไกการจัดการพืชร่วมยางแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานร่วมระหว่างคณะกรรมการสวนยางแปลงใหญ่กับสหกรณ์ชาวสวนยางที่สามารถชักชวนเกษตรกรมาร่วมดำเนินการและสามารถเชื่อมโยงการทำงานร่วมกับ กยท.ได้ 2.มีสมาชิกกลุ่มที่ร่วมโครงการไม่น้อยกว่า30รายและมีพื้นที่ร่วมดำเนินการในโครงการไม่น้อยกว่ารายละ2ไร่ 3.มีกติกาของกลุ่มที่เกิดจากการมีส่วนร่วม
0.00

1.กรรมการที่ร่วมรับผิดชอบโครงการเป็นกรรมการที่เกิดจากกลไกของกลุ่มเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่เดิมและกรรมส่วนหนึ่งเป็นกรรมการของสกย.อยู่ด้วยจึงสามารถทำงานร่วมกับสกย.และกยท.ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.มีข้อจำกัดเรื่องการรับสมัครเกษตรกรร่วมโครงการ ด้วยเหตุผลเงื่อนไขที่กำหนดจากระเบียบของกลุ่มเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ที่ระบุผู้ร่วมโครงการต้องมาจากการเป็นสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่เท่านั้นส่งผลให้เกษตรกรรายอื่นที่สนใจขาดโอกาสในการเข้าร่วมโครงการ รวมถึงการตื่นรู้การกระตือรือร้นของสมาชิกเองด้วย ทั้งนั้ทางกรรมการที่รับผิดชอบโครงการก็หาทางออกเพื่อให้เกษตรกรที่เป็นสมาชิกสกย.ที่สนใจโครงการได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆและให้การหนุนเสริมตามความเหมาะสม

2 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา
ตัวชี้วัด : 1.เกษตรกรมีความรู้เรื่องการปลูกพืชร่วมยาง 2.มีแผนการปลูกพืชร่วมยางรายแปลงที่เหมาะสมกับอายุยางและสภาพพื้นที่สวนยาง 3.มีการรวมกลุ่มผลิตปุ๋ย/สารทดแทนสารเคมีและนำไปใช้ในแปลง 4.มีแปลงต้นแบบของสมาชิกในพื้นที่โครงการ
0.00

1.การออกแบบและวางแผนการปลูกสมาชิกร่วมโครงการเน้นพืชที่ปลูกที่สามารถให้ผลผลิตในระยะสั้น เน้นพืชที่สามารถนำมาเป็นอาหารในครัวเรือนได้ ส่วนมากจะเป็นพืชที่เป็นพันธุกรรมที่มีอยู่ดั้งเดิมในชุมชนและคนในชุมชนนิยมนำมาเป็นอาหาร 2.แปลงที่เป็นแปลงต้นแบบทั้ง2แปลง มี1แปลงที่เป็นแปลงที่ดำเนินการมาก่อนโครงการจะสนับสนุนมีจำนวน1แปลงที่เป็นแปลงที่เริ่มใหม่จากการเข้าเรียนรู้กับโครงการ

3 เพื่อให้มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกลุ่มตามแผนและกติกาไม่น้อยกว่า3ครั้ง 2.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกไม่น้อยกว่า3ครั้ง 3.มีบทเรียนการปลูกพืชร่วมยางจากพื้นที่ดำเนินการโครงการ
0.00

 

4 เพื่อเพิ่มพื้นที่ผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา
ตัวชี้วัด : 1.มีการปลูกพืชอาหารในพื้นที่สวนยางพาราของสมาชิกที่ร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า5ชนิด 2.มีพื้นที่ร่วมโครงการที่มีการปลูกพืชอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า60ไร่ 3.มีการลดปริมาณการใช้สารเคมีในสวนยางพาราที่ร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ30
0.00

 

5 เพื่อให้เกษตรกรชาวสวนยางพารามีรายได้เพิ่มขึ้นและรายจ่ายในครัวเรือนลดลง
ตัวชี้วัด : 1.สมาชิกสามารถมีรายได้จากสวนยางพาราเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า1,000บาทต่อเดือน 2.รายจ่ายในครัวเรือนของสมาชิกลดลง 3.เกิดพื้นที่จำหน่ายสินค้าพืชอาหารปลอดภัยในชุมชนอย่างน้อย 1จุด 4.มีการประสานความร่วมมือในการรับซื้อ จำหน่ายผลผลิตพืชอาหารปลอดภัยกับหน่วยงานภาคราชการไม่น้อยกว่า 1หน่วยงาน
0.00

 

6 เพื่อให้คนในชุมชนพัทลุงได้บริโภคอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.มีผลผลิตพืชอาหารปลอดภัยจากสวนยางพารามาจำหน่ายในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เป้าหมายหลัก 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกลไกการจัดการพืชร่วมยางแบบมีส่วนร่วม (2) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา (3) เพื่อให้มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง (4) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา (5) เพื่อให้เกษตรกรชาวสวนยางพารามีรายได้เพิ่มขึ้นและรายจ่ายในครัวเรือนลดลง (6) เพื่อให้คนในชุมชนพัทลุงได้บริโภคอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (2) ปฐมนิเทศน์ผู้รับทุน (3) ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 (4) .เวทีเปิดโครงการและเรียนรู้ข้อมูลและสถานการณ์ (5) ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 (6) จัดทำป้ายประกอบโครงการ (7) ประชุมคณะทำงานครั้งที่3 (8) กิจกรรมศึกษาดูงาน (9) กิจกรรมเวทีสรุปผลการศึกษาดูงานและวางแผนการปลูกรายแปลง (10) กิจกรรมออกแบบแปลงปลูกรายแปลง (11) ประชุมคณะทำงานครั้งที่4 (12) กิจกรรมเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก (13) งานสมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข (14) กิจกรรมหนุนเสริมการปลูก (15) ประชุมคณะทำงานครั้งที่5 (16) กิจกรรมเรียนรู้การผลิตสารทดแทนสารเคมีปราบศัตรูพืช (17) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)1 (18) ประชุมคณะทำงานครั้งที่6 (19) .  กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก 1 (20) กิจกรรมจัดทำเรือนเพาะชำ (21) กิจกรรมสร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตในชุมชน (22) กิจกรรมเยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก 1 (23) ประชุมคณะทำงานครั้งที่7 (24) ประชุมคณะทำงานครั้งที่8 (25) .  กิจกรรมเยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก 2 (26) ประชุมคณะทำงานครั้งที่9 (27) กิจกรรมเยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก 3 (28) .  กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก2 (29) ประชุมคณะทำงานครั้งที่10 (30) กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)2 (31) ประชุมคณะทำงานครั้งที่11 (32) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการโชว์ผลงานโครงการ (33) ประชุมคณะทำงานครั้งที่12

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh