แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นเล ฟื้นคลอง ที่บ้านชายคลองพัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-0026 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การมีเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ ในพื้นที่เลหน้าบ้านที่มีกติกาที่กำหนดและยอมรับร่วมกัน มีทีมประมงอาสาคอยดูแล และจัดกิจกรรมการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ การทำบ้านปลาเพื่อเป็นแหล่งอาศัย การเพาะและปล่อยพันธ์สัตว์น้ำเอง จะทำให้เลหน้าบ้านมีความสมบูรณ์ มีชนิดและปริมาณของสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น คนในหมู่บ้านมีอาหารทะเลที่ปลอดภัยกินมากขึ้น คนในหมู่บ้านมีรายได้จากการทำประมง และการแปรรูปจากอาหารทะเลเพิ่มขึ้น

การจัดการเลหน้าบ้าน บ้านช่องฟืน ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

คนบ้านชายคลอง นำความรู้ที่ได้ในการจัดการเลหน้าบ้าน กลับไปปรับใช้ในพื้นที่เลบ้านชายคลอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

เขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ มีเนื้อที่ ประมาณ 50 ไร่ ในพื้นที่เลหน้าสวนพฤกศาสตร์พนางตุง ที่มีกติกาที่กำหนดและยอมรับร่วมกัน มีทีมประมงอาสาคอยดูแล และจัดกิจกรรมการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ การทำบ้านปลาจำนวน 10 หลังเพื่อเป็นแหล่งอาศัยและหลบภัยของสัตว์น้ำ

ภาพถ่ายกิจกรรมในรายงานฯ/สวนพฤกศาสตร์พนางตุง กรมป่าไม้ฯ

ทำบ้านปลาเพิ่ม/ขยายเขตฯ/เพิ่มความเข้มงวดในการเฝ้าระวัง/ซ่อมแซมแนวเขต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การใช้ช่องฟืนโมเดล ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเลหน้าบ้านที่ประสบความสำเร็จ ในการฟื้นฟูเล โดยการมีเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ ในพื้นที่เลหน้าบ้านที่มีกติกาที่กำหนดและยอมรับร่วมกัน มีทีมประมงอาสาคอยดูแล และจัดกิจกรรมการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ การทำบ้านปลาเพื่อเป็นแหล่งอาศัย การเพาะและปล่อยพันธ์สัตว์น้ำเอง จะทำให้เลหน้าบ้านมีความสมบูรณ์ มีชนิดและปริมาณของสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น คนในหมู่บ้านมีอาหารทะเลที่ปลอดภัยกินมากขึ้น คนในหมู่บ้านมีรายได้จากการทำประมง และการแปรรูปจากอาหารทะเลเพิ่มขึ้นมาปรับใช้ในพื้นที่บ้านชายคลอง

โครงการฟื้นเลฟื้นคลอง ที่บ้านชายคลองฯ

สรุปและถอดบทเรียนเพื่อการพัฒนาและยกระดับการทำงานเป็นระยะ ตามห้วงเวลาที่เหมาะสม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การใช้ทีมประมงอาสาในการดูแลและเฝ้าระวังเขตฯ/จัดกิจกรรมเช่นการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ การทำบ้านปลา /การเก็บข้อมูลสัตว์น้ำเพื่อปรียบเทียบชนิดและปริมาณสัตว์น้ำ เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง

ทีมประมงอาสา บ้านชายคลอง

ทำงานร่วมกับหน่วยงานประมง/พัฒนาศักยภาพประมงอาสาด้วยการฝึกอบรมความรู้และทักษะในการดำเนินงานต่างๆ โดยเฉพาะการได้รับหนังสือรับรองจากหน่วยป้องกันและปราบปรามการทำประมงผิดกฏหมาย ให้เป็นผู้ช่วยเจ้าพนักงาน ในการทำหน้าที่เฝ้าระวังการทำประมงผิดกฏหมายในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีทีมประมงอาสา จำนวน 10 คน ในการดูแลและเฝ้าระวังเขตฯ/จัดกิจกรรมเช่นการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ การทำบ้านปลา /การเก็บข้อมูลสัตว์น้ำเพื่อปรียบเทียบชนิดและปริมาณสัตว์น้ำ เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง

ทีมประมงอาสา บ้านชายคลอง

พัฒนาศักยภาพทีมประมงอาสาทั้งด้านทักษะในการทำงานและความรู้ต่างที่เกี่ยวข้องกับการประมง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การนำรูปแบบของบ้านปลา ในคลอง มาใช้ทำบ้านปลาในทะเล

ภาพถ่ายบ้านปลาในรายงานฯ

เพิ่มจำนวนบ้านปลาในเขตให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ มีเนื้อที่ ประมาณ 50 ไร่ ในพื้นที่เลหน้าสวนพฤกศาสตร์พนางตุง ที่มีกติกาที่กำหนดและยอมรับร่วมกัน มีทีมประมงอาสาคอยดูแล และจัดกิจกรรมการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ การทำบ้านปลาจำนวน 10 หลังเพื่อเป็นแหล่งอาศัยและหลบภัยของสัตว์น้ำ

ภาพถ่ายกิจกรรมในรายงานฯ/สวนพฤกศาสตร์พนางตุง กรมป่าไม้ฯ

เพิ่มพื้นที่และมาตรการในการเฝ้าระวังดูแล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  1. กำหนดให้พื้นที่ศาลาที่ประชุมหมู่บ้าน เป็นเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. กำหนดให้พื้นที่เขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำเป็นพื้นที่ห้ามทำการประมงทุกชนิด

บันทึกการประชุม/ประกาศของหมู่บ้าน

ประเมินผล/และเฝ้าระวังการใช้กติกา และหาแนวทางแก้ไขหากมีการละเมิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  1. การดำเนินงานในหมู่บ้านมีคณะทำงานที่ผสมผสานระหว่างฝ่ายปกครองท้องที่ แกนนำชุมชน ตัวแทนชาวประมง และตัวแทนกลุ่มอื่น
  2. เกิดการประสานความร่วมมือกัน ระหว่างคณะทำงาน จนท.สวนพฤกศาสตร์ อาจารย์จากม.ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง และทางประมงอำเภอควนขนุน

ภาพถ่ายกิจกรรมฯ/จนท.สวนพฤกศาสตร์/ประมงอำเภอควนขนุน จ.พัทลุง

1.จัดทำแผนความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน 2.ภายในจัดโครงสร้างและการแบ่งบทบาทหน้าที่การดำเนินงานให้ชัดเขน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีเวทีประชุมเพื่อประเมินสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของชนิดและปริมาณสัตว์น้ำ ในการทำประมง โดยใช้ระยะเวลาในการเปรียบเทียบ 10 ปีย้อนหลัง พบว่ามีสัตว์น้ำหลายชนิดที่สูญหายไป บางชนิดมีน้อยลงและเสี่ยงที่จะสูญพันธ์ โดยภาพรวม ปริมาณสัตว์น้ำลดลงประมาณ 70% เมื่อเทียบกับ 10 ปีที่แล้ว จากประเด็นนี้ทำให้เกิดความตระหนักร่วมกันว่าถ้าชุมชนไม่ร่วมกันลงมือ ฟื้นฟูเลหน้าบ้าน ในระยะเวลา อีก 10 ปีข้างหน้า คนที่นี่จะไม่มีสัตว์น้ำกินอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะชาวประมง จะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ จากความตระหนักที่เกิดขึ้นนี้ ทำให้ตัดสินใจร่วมกันที่จะดำเนินงานตามโครงการ "ฟื้นเลฟื้นคลองฯ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

ภาพถ่ายและบันทึกการประชุมเวทีประเมินสถานการณ์ ในรายงานฯ

จัดเก็บข้อมูลสัตว์น้ำ/ข้อมูลรายได้ จากสัตว์น้ำ ให้ครบถ้วยเพื่อเป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบให้เห็นการเปลี่ยนแปลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การใช้ทีมประมงอาสา/แกนนำคณะทำงาน ร่วมกัน จัดทำแนวเขตอนุรักษ์ การเฝ้าระวังฯ การทำบ้านปลา การร่วมกันปล่อยพันธ์สัตว์น้ำกับหน่วยงาน ล้วนเป็นทรัพยากรบุคคลภายในชุมชนทั้งสิ้น

ภาพถ่ายกิจกรรมในรายงานเว็บไซส์

พัฒนาทักษะ/ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินการโดยสรุป ตามบันไดผลลัพท์ดังนี้ 1. บันไดผลลัพท์ ขั้นแรก มีกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักและร่วมกันในการร่วมกันฟื้นฟูทะเลหน้าบ้าน กิจกรรมแรกได้จัดเวทีเปิดโครงการและทบทวนสถานการณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำไปแล้ว โดยสรุปมีสัตว์น้ำลดลงถึง 70% เมื่อเทียบกับ 10 ปีที่แล้ว ซึ่งถ้าชุมชนไม่ลุกขึ้นมาเพื่อฟื้นฟูเลหน้าบ้าน อีกประมาณ 10 ปี จะมีสัตว์น้ำไม่เพียงพอต่อการบริโภคและขาย มองในแง่ของความตระหนัก คนในชุมชนส่วนใหญ่ มีความตระหนักในปัญหานี้และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการฟื้นฟู ส่วนกิจกรรมที่สองการจัดเก็บข้อมูลฯยังอยู่ระหว่างการดำเนินการ เนื่องจากได้ข้อมูลมาไม่ครบถ้วน ถ้านำมาใช้ก็จะไม่ครอบคลุมเนื้อหา โดยเฉพาะเรื่องรายได้จากการทำประมง ซึ่งจำเป็นต้องเอามาเปรียบเทียบกัน เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้น ซึ่งถ้าข้อมูลไม่มีก็จะจัดกิจกรรมที่ 3คือเวทีคืนข้อมูลให้แก่ชุมชนไม่ได้
โดยสรุปยังมีผลลัพท์ในบันไดขั้นแรกที่ไม่ครบถ้วน แนวทางแก้ไข คือทางคณะทำงานต้องเร่งทำความเข้าใจกับทีมเก็บข้อมูลและแบ่งกันเก็บเพื่อที่จะนำมาใช้คืนข้อมูลและเปรียบเทียบอย่างเร่งด่วนที่สุด จึงจะผ่านบันไดฯขั้นแรก 2. บันไดผลลัพท์ขั้นที่สอง มีกลไกการทำงานและติดตามประเมินผลร่วมกันในการฟื้นฟูเลหน้าบ้าน มี คณะทำงาน 15 คน และประมงอาสา 10 คน ส่วนการทบทวนกติกาหมู่บ้าน ได้มีการวางกติกาในการห้ามจับสัตว์น้ำทุกชนิด ในเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ หากพบว่ามีการละเมิด ครั้งแรกจะว่ากล่าวตักเตือน ครั้งต่อไปจะดำเนินการตามกฏหมาย ส่วนการทบทวนบทบาทของประมงอาสา ได้เห็นร่วมกันว่า เบื้องต้นควรทำหน้าที่ดูแลการลักลอบเข้ามาทำประมงในเขตอนุรักษ์ ซึ่งห้ามทำประมงทุกชนิด ดูแลเขตเสาหลักเขตอนุรักษ์ รวมถึงดูแลซ๋อมแซมหากมีการถูกทำลายหรือชำรุด จัดทำป้ายกติกาเพื่อสื่อสารให้คนในชุมชน ร่วมกันทำบ้านปลา และคอยช่วยเหลือกันเมื่อมีการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ ส่วนแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนยังไม่มีการระบุไว้ ในส่วนของการประชุมคณะทำงานทุกเดือนยังไม่เป็นวาระที่ชัดเจน มีเพียงการประชุมกลุ่มย่อยอย่างไม่เป็นทางการ ในการเตรียมการจัดกิจกรรม สรุป ยังผ่านบันไดขั้นที่ 2 มีส่วนที่ต้องปรับปรุงคือ การกำหนดบทบาทและโครงสร้างการแบ่งหน้าที่ของทีมประมงอาสา ให้ชัดเจน เป็นลายลักษณ์อักษร มีประกาศไว้ในที่สาธารณะที่ทุกคนในหมู่บ้านทราบโดยทั่วกัน มีการทำป้ายกติกาการทำประมงเพื่อประกาศต่อสาธารณะให้ชัดเจน มีแผนการทำงานของประมงอาสาที่ระบุถึงกิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ครอบคลุมทั้งปีทุกฤดูกาล 3. บันไดผลลัพท์ขั้นที่ 3 มีการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูเลหน้าบ้าน บ้านชายคลอง มีการขยายเขตอนุรักษ์ กว้างและยางกว่าเดิมออกไป ประมาณ 100 เมตร มีการทำบ้านปลา จำนวน 10 หลัง มีการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ ในเขตอนุรักษ์ฯไปแล้ว 1 ครั้ง คงเหลือกิจกรรม การติดตั้งป้ายกติกาฯและป้ายแสดงเขตฯ เท่านั้น ก็จะผ่านบันไดขั้นนี้ ผลสุปในภาพรวม จะเห็นว่า มีการทำกิจกรรมไปแล้วทั้ง 3 ขั้นบันได โดยเฉพาะในการปรับสภาพแวดล้อม ยังขาดเพียง ติดป้ายก็จะผ่านผลลัพท์ในบันไดขั้นที่สาม ทำให้เห็นว่า พื้นที่นี้ทำงานอย่างไม่เป็นกระบวน สามารถรวมคนมาทำกิจกรรมสำคัญได้แต่การจัดการกลไก ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของคณะทำงาน และทีมประมงอาสา รวมถึงการทำงานที่ต้องมีการหารือกันเป็นประจำ และได้กำหนดในแผน/โครงการไว้แล้ว แสดงถึงการทำงานที่ไม่ยึดเอากิจกรรมตามแผนที่กำหนดไว้ในโครงการ ในวาระต่อไปต้องทำงานโดยยึดตามแผนงานและระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นหลัก พร้อมทั้งเก็บตกกิจจกรรมที่คงค้างในแต่ละขั้นบันได ก็คาดว่าจะสามารถถึงผลลัพท์สำคัญที่กำหนดไว้ของชุมชน

รายงานในระบบเว็บไซส์ฯ

  1. ต้องเร่งสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาเป็นเบสไลน์
  2. แบ่งบทบาทหน้าที่กันให้ชัดเจนทั้งในคณะทำงานและทีมประมงอาสา
  3. การทำงานโดยยึดปฏิทินของโครงการเป็นหลัก
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  1. มีการสรุปและประเมินผลเพื่อพัฒนาการดำเนินงาน ครั้งแรก เพื่อประเมินตามบันไดผลลัพท์และสะท้อนจุดอ่อน เพื่อนำไปปรับปรุงการดำเนินงานในระยะต่อไป

รายงานการประชุมฯและรายงานในระบบฯ

  1. ต้องนำข้อมูลสถานการณ์สัตว์น้ำในปัจจุบัน มาคืนต่อคนในชุมชน เพื่อขยายการสร้างความตระหนักเพิ่มมากขึ้น
  2. มีการ ARE ตามที่กำหนดไว้ในโครงการ
  3. ควรมีการรายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานตามโครงการฯในเวทีประชุมประจำเดือนหมู่บ้านทุกเดือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ