directions_run

โครงการพิทักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง และส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาวะ พื้นที่อ่าวท่าต่อเรือ

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล
ตัวชี้วัด : 1.1 คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาสถาการณ์ทะเลสาบ 1.2 ได้ข้อมูลได้ชนิดพันธุ์สัตว์น้ำและเครื่องมือการจับสัตว์น้ำทะเลสาบสงขลาตอนกลาง 1.3 ได้แผนการดำเนินงานของชุมชน
0.00

 

2 เพื่อให้เกิดมาตรการชุมชน ในการเฝ้าระวัง การดำเนินการตามกติกาชุมชนที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 2. เกิดประมงอาสาดูแลเขตฯพื้นที่ละไม่ต่ำกว่า 10 คน 3. เกิดกติกาข้อตกลงในการดูแลเขตฯ 4 ,มีการประชุมคระทำงาน เดือนละ 1 ครั้ง 5. ได้แผนการทำงานของประมงอาสาแต่ละพื้นที่

 

3 เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบ
ตัวชี้วัด : 1. เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนงานโครงการไม่ต่ำกว่า 5 คน 1. มีการประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง 2. ได้ข้อมูลผลการดำเนินงาน 3. มีป้ายประชาสัมพันธ์ธรรมนูญหมู่บ้านว่าด้วยเรื่องเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำอ่าวท่าต่อเรือ

 

4 เพื่อให้นิเวศทะเลสาบหน้าบ้านได้รับการฟื้นฟู และมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. พันธุ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 3 ชนิด เช่น ปลาพรม ปลากด กุ้งก้ามกราม 2 มีพืชน้ำเช่น เฟื้อ ราโพ แจด เพิ่มขึ้นในพื้นที่เขตอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า 100 กอ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล (2) เพื่อให้เกิดมาตรการชุมชน ในการเฝ้าระวัง การดำเนินการตามกติกาชุมชนที่เข้มแข็ง (3) เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบ (4) เพื่อให้นิเวศทะเลสาบหน้าบ้านได้รับการฟื้นฟู และมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการ (2) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (3) กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ปัญหาของทะเลสาบ (เวทีเปิดโครงการ) (4) กิจกรรมที่ 3 จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง (5) ค่าจัดทำป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (6) กิจกรรมที่ 6 ประชุมคณะทำงาน (7) กิจกรรมที่ 7 เวทีสรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 10 ครั้ง (8) กิจกรรมที่ 11 กิจกรรมปล่อยปลาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (9) กิจกรรมที่ 13  เวทีปิดโครงการ จัดเวทีแสดงนิเทรรศการผลผลิตสัตว์น้ำจากการฟื้นฟูทะเลสาบ เสาวนาตัวแทนชุมชน ร่วมกับท้องถิ่น ท่องที่ร่วมกัน (10) ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด (11) กิจกรรมที่ 9 เก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์สัตว์น้ำหลังการมีเขตฯ (12) กิจกรรมที่ 2  ศึกษาดูงานการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน (13) กิจกรรมที่ 5 เวทีทบทวนและปรับปรุงกติกาเขตฯ (14) กิจกรรมที่ 4 เวทีคืนข้อมูลชุมชน จัดทำแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน คืนข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือประมงและรายได้ชุมชน (15) กิจกรรมที่ 8  ทำป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงของเขตอนุรักษ์ฯ (16) กิจกรรมที่ 10 ซ่อมแซมบ้านปลา ปรับปรุงสถานที่ ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ (17) กิจกรรมที่ 12 กิจกรรมปลูกพืชน้ำ (18) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh