directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดยะลา ปี 2565
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 65-02-001
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566
งบประมาณ 101,170.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นายมะดารี อาแด
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะดารี อาแด
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.อาดีละห์ กาโฮง
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.505655,101.075503place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 40,468.00
2 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 50,585.00
3 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 10,117.00
รวมงบประมาณ 101,170.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ผักปลอดภัย จังหวัดยะลา ปี 2565 มีเป้าหมายยุทธศาสตร์จังหวัด คือ ลดการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่ โดยมีภาคีร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประกอบด้วย หน่วยงานภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดยะลา สำนักงานเกษตรกรจังหวัด ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดยะลา สำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดยะลา และโรงพยาบาลจังหวัดยะลา มีโมเดลผักปลอดภัยจากการขับเคลื่อนเมื่อปี 2565 จำนวน 2 โมเดล คือ โมเดลวิสาหกิจชุมชน มีกลุ่มเป้าและโครงสร้างกลุ่มที่จะดำเนินการชัดเจน และโมเดลกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มมีการรวมกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ดำเนินแบบกลุ่มแต่โครงสร้าง บทบาทหน้าที่คณะกรรมการยังไม่ชัดเจน พื้นที่ร่วมดำเนินโครงการจำนวน 12 ตำบล 13 ชุมชน ดังนี้ อำเภอเมือง 1 วิสาหกิจชุมชนสวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่ (โมเดลวิสาหกิจชุมชน) 2วิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพร ตำบลหน้าถ้ำ 3 กลุ่มผักปลอดสารบ้านคลองทราย ตำบลยุโป 4 กลุ่มบ้านสวนเกษตรบ้านทุ่งเหรียง ตำบลยุโป 5 กลุ่มสวนเกษตรปลอดภัยตำบลบุดี อำเภอรามัน 6 กลุ่มพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรแบบยั่งยืน ตำบลยะต๊ะ (โมเดลกลุ่มาเกษตรกร) 7 กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสาร อาหารปลอดภัย บือมัง ตำบลบือมัง 8 กลุ่มปามานีส ฮีดูบ ตำบลบาโงย 9 กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดภัยชุมชนเลสุ ตำบลกาลูปัง 10 กลุ่มปลูกผักตำบลวังพญา ตำบลวังพญา อำเภอยะหา 11 ศพก.เครือข่ายบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอบันนังสตา 12 วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรพึ่งตนเองบ้านโปฮนญัมบู ตำบลบันนังสตา และ 13 วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตอาหารปลอดภัย ตำบลบาเจาะ
ตำบลบากาตอง เป็นตำบลหนึ่งของพื้นที่เป้าหมายของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญระดับจังหวัดขับเคลื่อนประเด็นผักปลอดภัย ตำบลกาตองตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอยะหา ประมาณ 7 กิโลเมตรอยู่ห่างจากศาลากลาง จังหวัดยะลา 27 กิโลเมตร มีเนื้อที่ คิดเป็นตารางกิโลเมตร ได้ 53 ตารางกิโลเมตร มีประชากรจำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 6,876 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ยต่อพื้นที่ประมาณ 117 คนต่อตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 1,213 ครัวเรือน สามารถแยกครัวเรือน ดังนี้
    หมู่ที่ 1 บ้านปาแดรู จำนวนครัวเรือน 253 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,515 คน     หมู่ที่ 2 บ้านกาตอง จำนวนครัวเรือน 233 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,184 คน     หมู่ที่ 3 บ้านบูเก๊ะฆลูโฆ จำนวนครัวเรือน 209 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,178 คน     หมู่ที่ 4 บ้านเจาะตาแม จำนวนครัวเรือน 260 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,489 คน     หมู่ที่ 5 บ้านปอเนาะ จำนวนครัวเรือน 157 ครัวเรือน  ประชากรทั้งหมด 868 คน     หมู่ที่ 6 บ้านบลูกาลูวัส จำนวนครัวเรือน 202 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 932 คน       ชุมชนบลูกาลูวัส ประชาชนส่วนใหญ่ทำอาชีพการเกษตร ได้แก่ทำสวนยางพารา เลี้ยงสัตว์ ประมง และปลูกพืชผัก ในชุมชนมีกลุ่มเกษตรกรรวมกันเป็นกลุ่ม ปลูกผักสลัดระบบไฮโดรโพนิกส์ ส่งขายตลาดประจำในตัวเมืองยะลาและปลูกผักอีกหลากหลายชนิดที่คนในชุมชนนิยมบริโภค เช่น ผักบุ้ง แตงกวา มะเขือ พริก สมาชิกกลุ่มจะนำผักที่เหลือจากบริโภคในครัวเรือนไปขายที่ร้านค้าในชุมชน และตลาดนัดชุมชนสัปดาห์ละ 4 วัน การจัดการของกลุ่มจะมีพื้นที่กลาง หรือศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เป็นพื้นที่หลักในการรวมตัวของสมาชิกสำหรับประชุมการถ่ายทอดความรู้การผลิต ในพื้นที่กลางจะเน้นปลูกผักสลัด สมาชิกจะมาร่วมกิจกรรมเพาะเมล็ดผัก เมื่อต้นกว้ามีอายุ 2 สัปดาห์จะแจกจ่ายให้สมาชิกไปปลูกในพื้นที่ของตัวเอง พื้นที่ปลูกรวมกันประมาณ 5 ไร่ กระบวนการปลูกผักของสมาชิกปลูกแบบปลอดภัยแต่พบว่าทุกชนิดผักยังไม่มีรับรองความปลอดภัยใดๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่กลุ่มต้องการ เพื่อสร้างความมั่นใจต่อผักที่ตนปลูก นอกจากนี้ชุมชนยังมีการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักเพื่อบริโภค ประมาณ 60,000 บาท/เดือน โดยเฉลี่ยประมาณครัวเรือนละ 400 บาท/เดือน
      สภาพปัญหา ด้านฐานคิดเกษตรกรมีการร่วมกลุ่มกันยังมีโครงสร้างไม่ชัดเจน สมาชิกส่วนใหญ่มีการปลูกผักทั้งเพื่อบริโภค และขาย มีความต้องการเชื่อมกับตลาด มีความต้องการพัฒนาด้านการผลิตให้มีความพร้อมในการผลิตผักให้ได้ผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP ด้านปัจจัยการผลิต มีพื้นที่ของสมาชิกที่จะสามารถเป็นฐานการผลิตได้ มีหมอดินประจำกลุ่มที่สามารถถ่ายถอดความรู้การจัดการดิน การทำปุ๋ยหมักชีวภาพแก่สมาชิกได้ แต่กลุ่มยังไม่มีแผนการผลิตผักที่สอดคล้องกับตลาด และยังขาดความรู้บริหารจัดกลุ่มเข้มแข็ง ด้านกลไกทำงาน ประธานกลุ่มเป็นผู้ใหญ่บ้านหัวใจเกษตรสามารถประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่างๆ ได้ดี เช่น เกษตรกรอำเภอ กอ.รม. สถานีพัฒนาที่ดิน เป็นต้น มีปราชญ์ประจำกลุ่ม ให้ความรู้เรื่องดิน กับปุ๋ยตามหลักสูตร พัฒนาที่ดินได้ดี ซึ่งจะต้องถ่ายทอดความรู้แก่สมาชิกให้ได้มากที่สุด และด้านฐานคิดผู้บริโภค ในพื้นที่ตำบล อำเภอยังไม่เข้าใจถึงผักปลอดภัย คำว่า ผักปลอดภัยในความหมายของชาวบ้านในพื้นที่ คือผักบ้านๆ ที่กินยอด เก็บตามสวน ผู้บริโภคยังไม่เข้าถึงผักปลอดภัย ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีแนวทางดำเนินการ 1) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมกรรมการ 2)สร้างกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง 3) สมาชิกเกษตรกรสามารถผลิตผักปลอดภัยที่ได้รับการรับรอง GAP 3) จัดทำแผนการผลิต แผนการตลาด และรับรองผักปลอดภัยกับภาคีที่เกี่ยวข้อง 4) ติดตาม และแลกเปลี่ยนความรู้
      ชุมชนบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัย กับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตองเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง และเพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ข้อที่ 3 ประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง

ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคระกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดการรับรองมาตรฐานGAP
ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 กติกาในกลุ่ม ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามในเรื่องการผลิตผักปลอดภัยตามแผนการปลูกและการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผัก

100.00
2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้

ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัยได้ตามแผนความต้องการของตลาด ชนิดการปลูก/ปริมาณความต้องการ/ปลูกสอดคล้องกับฤดูกาลและตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการได้รับการรองรับมาตรฐานGAP ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิตผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดเกษตรกรต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานของเกษตรกรได้ ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าขายผักที่ผ่านมาตรฐานGAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน (ขายกลุ่ม/ขายเดี่ยว) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย ตลาด ใน-นอกชุมชน และโรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน

100.00
3 เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

1.โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.การรายงานดำเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3.แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้สำเร็จ

100.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เกษตรกรผู้ปลูกผัก 35 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 กิจกรรมที่ 1 ประชุม อบรมคณะกรรมการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 83 17,920.00 6 19,501.00
26 พ.ค. 65 ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ 0 1,500.00 1,500.00
27 พ.ค. 65 1.1. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 1) 12 2,880.00 4,428.00
15 มิ.ย. 65 2. เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการและสำรวจข้อมูลต้องการผลิตและการตลาด 35 4,900.00 4,900.00
6 ก.ค. 65 1.2. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 2) 12 2,880.00 2,913.00
31 ต.ค. 65 1.3. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 3) 12 2,880.00 2,880.00
20 ม.ค. 66 1.4. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 4) 12 2,880.00 2,880.00
2 กิจกรรมที่ 6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 23 12,750.00 14 8,480.38
1 เม.ย. 65 6.2.เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ปี 2565 2 300.00 300.00
1 เม.ย. 65 - 30 ต.ค. 63 เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา 0 0.00 0.00
26 เม.ย. 65 6.5.เปิดบัญชี 3 450.00 950.00
5 พ.ค. 65 เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 3 600.00 600.00
20 พ.ค. 65 6.7.จัดทำป้ายไวนิลโครงการย่อยฯ 0 1,000.00 750.00
21 พ.ค. 65 6.1.เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ 2 312.00 312.00
21 พ.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 6.10.การคีย์รายงานผลเข้าสู่ระบบ 0 2,000.00 2,000.00
17 ก.ย. 65 6.8. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 3 566.00 566.00
24 ก.ย. 65 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 1.27
22 ต.ค. 65 6.9.เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย 2 600.00 600.00
6 พ.ย. 65 เวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย 2 600.00 600.00
4 ก.พ. 66 เวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2 3 900.00 900.00
25 มี.ค. 66 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 1.11
31 มี.ค. 66 6.6.กิจกรรมร่วมกับ สสส. 0 4,522.00 -
31 มี.ค. 66 เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา 3 900.00 900.00
21 พ.ค. 65 2.1. การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP 35 2,300.00 2,300.00
140 31,050.00 4 31,200.00
21 พ.ค. 65 2.2. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 35 6,950.00 6,300.00
19 มิ.ย. 65 2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล 35 16,250.00 17,050.00
9 พ.ย. 65 2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม 35 5,550.00 5,550.00
5 ก.ค. 65 3.1. กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” ค่าอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์พืช เพื่อ แจกจ่ายชุมชน) 35 19,200.00 19,450.00
82 23,250.00 3 23,500.00
15 ส.ค. 65 3.3. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) 35 1,050.00 1,050.00
15 พ.ย. 65 3.2. กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 12 3,000.00 3,000.00
2 ม.ค. 66 4.1. ติดตามผลการผลิต 35 9,550.00 4,550.00
35 9,550.00 1 4,550.00
3 ก.พ. 66 4.2. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 35 1,050.00 1,050.00
105 6,650.00 3 6,650.00
17 มี.ค. 66 5.1.ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 35 1,050.00 1,050.00
20 มี.ค. 66 5.2.เวที่ สรุปปิดโครงการ 35 4,550.00 4,550.00

กิจกรรมที่ 1 ประชุม อบรมคณะกรรมการ
1.1 ประชุมคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ ประกอบด้วยตัวแทนเกษตรกรคนรุ่นใหม่ ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที่เห็นชอบร่วมกัน 1.2 จัดประชุมคณะทำงานอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปีโดยประสานให้มีผู้แทน อปท. และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมการประชุมด้วย มีประเด็นการประชุมได้แก่   - ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวมถึงรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือน และด้านการตลาด   - ประชุมครั้งที่ 2 - 3 สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาที่พบและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นและอื่นๆ   - ประชุมครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และหารือถึงการทำงานนี้ต่อเมื่อจบโครงการที่ สสส.สนับสนุน 1.3 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ รายละเอียดกิจ
ก่อนเริ่มโครงการ   - คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผักและการใช้สารเคมีในแต่ละครัวเรือน และข้อมูลด้านการตลาด ช่วงท้ายของโครงการ 1ครั้ง   - คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักที่ไม่ใช้สารเคมีใดๆในแต่ละครัวเรือน เพื่อเปรียบเทียบกับ  ข้อมูลเริ่มโครงการและสรุปข้อมูลเพื่อเตรียมคืนข้อมูล -เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการ และสำรวจข้อมูล ต้องการผลิตและการตลาด -พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ เรื่อง มาตรฐาน GAP/เพิ่มทักษะการผลิต การจัดการแปลง/การทำบัญชีครัวเรือน/การเชื่มโยงตลาด

กิจกรรมที่ 2 อบรมและวางแผนการผลิตผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP 2.1 กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP
2.2 การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อ ปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP 2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม -จัดทำแผนการบริหารจัดการ -ข้อตกลง กฎกติกากลุ่ม -การจดบันทึกข้อมูล (การผลิต ,การทำบัญชีครัวเรือน, การบริโภค) 2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม -ปฏิทินการผลิต สอดคล้องกับตลาด -แผนการรับรอง GAP -แผนการพัฒนากลุ่ม -แผนการตลาด รพ,ในชุมชน,นอกชุมชน

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมปลูกผักปลอดภัย ตามมาตรฐาน GAP 3.1 กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” 3.2 กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 3.3 เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1)

กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการผลิตผักปลอดภัย และจัดทำข้อมูลเป็นฐานเรียนรู้ 4.1 ติดตามผลการผลิต 4.2 ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2

กิจกรรมที่ 5 เวทีถอดบทเรียนสรุปโครงการ 5.1. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 5.2.เวทีสรุป ปิดโครงการ

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคระกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดการรับรองมาตรฐานGAP
ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 กติกาในกลุ่ม ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามในเรื่องการผลิตผักปลอดภัยตามแผนการปลูกและการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผักปลอดภัย ตามแผนการผลิตและแผนความต้องการของตลาดรวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP แลกเปลี่ยนข้อมูลรวมกับทุกเดือนและมีการปรับปรุงแผนการผลิตให้สอดคล้องกับตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 เกิดโรงเรียนเกษตรกร ที่ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หนุนเสริม สนับสนุน ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัยได้ตามแผนความต้องการของตลาด ชนิดการปลูก/ปริมาณความต้องการ/ปลูกสอดคล้องกับฤดูกาลและตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการได้รับการรองรับมาตรฐานGAP ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิตผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดเกษตรกรต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานของเกษตรกรได้ ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าขายผักที่ผ่านมาตรฐานGAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน (ขายกลุ่ม/ขายเดี่ยว) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย ตลาด ใน-นอกชุมชน และโรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2565 20:27 น.