directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1 ประชุม อบรมคณะกรรมการ 21 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ 21 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

6.2.เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ปี 2565 1 เม.ย. 2565 13 มี.ค. 2565

 

ประชุมข้อมเสนอโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 มีการจัดทำโครงการ และปรึกษาหารือแนวทางการจัดทำโครงการ หาจุดเด่นจุดถ้อยของพื้นที่

 

ได้ดำเนินการจัดทำโครงการย่อยฯ ปี 2565 จำนวน 1 โครงการ ณ ห้องประชุม โรงเเรมยะลาแกรนด์พาเลส

 

เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา 1 เม.ย. 2565 1 เม.ย. 2565

 

เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

 

สมาชิกกลุ่มสามารถแลกเปลี่ยนกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

 

6.5.เปิดบัญชี 26 เม.ย. 2565 26 เม.ย. 2565

 

เปิดบัญชีโครงการ

 

ประธาน โครงการย่อยฯ พร้อมคณะกรรมการ ที่ได้แต่งตั้ง เปิดบัญชี โครงการ จำนวน 3 คน

 

เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 5 พ.ค. 2565 5 พ.ค. 2565

 

เปิดตัวโครงการ เเละวิทยากร ได้อธิบายแนวทางการดำเนินโครงการ

 

ประธานโครงการย่อยฯ ได้เข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการ ณ สสจ.ยะลา พร้อมคณะกรรมการ จำนวน 3 คน พร้อมรับฟังแนวทางการดำเนินกิจกรรมโครงการตามแผนที่กำหนดไว้ ได้รับความรู้และแนวทางการปฏิบัติงานตามโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในพื้นที่ในเกิดคุณภาพที่ดีต่อไป

 

6.7.จัดทำป้ายไวนิลโครงการย่อยฯ 20 พ.ค. 2565 20 พ.ค. 2565

 

ค่าป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส

 

ป้ายกิจกรรมโครงการจำนวน 1 ป้าย

 

2.1. การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP 21 พ.ค. 2565 15 มิ.ย. 2565

 

ประธานได้ลงดำเนินการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP

 

ตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP

 

2.2. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 21 พ.ค. 2565 19 ต.ค. 2565

 

ได้รับเกียรติจาก นายชัชญ์นนท์ เต็มนา นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ วิทยากร ได้ให้ความรู้เบื้องต้น เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 1.เรื่อง มาตรฐาน GAP และรู้จักการใช้สารชีวภัณฑ์ 2. เรื่องการผลิตปุ๋บชีวภาพ

 

นายมะดารี อาแด ประธานโครงการฯ ได้นำสมาชิกกลุ่ม จำนวน 35 คน เข้ารับการอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP
1.เรื่อง มาตรฐาน GAP และรู้จักการใช้สารชีวภัณฑ์ 2. เรื่องการผลิตปุ๋บชีวภาพ

 

6.1.เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ 21 พ.ค. 2565 21 พ.ค. 2565

 

1.เรียนรู้การบันทึกข้อมูลของโครงการทางเว็บไซค์อย่างครบถ้วน

 

สมาชิกผู้ที่รับผิดชอบโครงการและผู้รับหน้าที่จดบันทึกแผนงานและการปฎิบัติงานทั้งหมดในโครงการนี้ "เวที่เรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ" จำนวน 2 คน

 

6.10.การคีย์รายงานผลเข้าสู่ระบบ 21 พ.ค. 2565 21 พ.ค. 2565

 

รวบรวมข้อมูลคณะทำงาน คณะกรรมการ ใบลงทะเบียนกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ นำรายงานผลเข้าสู่ระบบ

 

เกิดแผนงานที่เป็นไปได้มากขึ้นอีกทั้งยังลดปัญหาการผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลโครงการ

 

ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ 26 พ.ค. 2565 26 พ.ค. 2565

 

ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ

 

ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ

 

1.1. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 1) 27 พ.ค. 2565 27 พ.ค. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการเพื่อว่างแนงทางการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มและชี้แจงรายละเอียดโครงการต่างให้แก่คณะกรรมการได้รับทราบ

 

คณะกรรมการในการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ จำนวน 12 คน ได้รับทราบแนวทางการดำเนินงานจากพีีเลี้ยงเพื่อจะดำเนินการในทิศทางเดียวกัน มีแต่งตั้งคณะทำงาน กฎกติกาของกลุ่ม มีการว่างแผนการจัดกิจกกรมในครั้งต่อไป และมีการจัดเตรียมเอกสารสมัครสามชิก จำนวน 35 คนที่ ที่มีการปลูกผักจริงเพื่อนำมาเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้

 

2. เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการและสำรวจข้อมูลต้องการผลิตและการตลาด 15 มิ.ย. 2565 15 มิ.ย. 2565

 

ประะธานกล่าวเปิดโครงการชี้เเจงการเปิดรับสมัครสมาชิก และการตรวจแปลงก่อนปลูก

 

ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมสมัครเป้นสมาชิก

 

2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล 19 มิ.ย. 2565 19 มิ.ย. 2565

 

สมาชิกกลุ่ม ได้ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล จำนวน 2 แห่ง 1.นูริสฟาร์ม ตำบลลำใหม่ โดยมีนายอิสมาเเอล ลาเต๊ะ เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ 2.พื้นที่ต้นแบบกลุ่มเกษตร ตำบลยะต๊ะ โดยมีนายอับเุลเร๊าะมัน สะกะแย เป้นวิทยากรในการให้ความรู้และกระบวนการจัดการพื้นที่ต้นเเบบ

 

แก่นำคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกร บ้านบลูกาลูวัส ได้นำกลุ่มสามชิก รวมจำนวน 35 คน ลงพื้นที่เรียนรู้ พื้นที่แรก นูริสฟาร์ม ตำบลลำใหม่ และ พื้นที่่ที่ 2 พื้นที่ต้นแบบกลุ่มเกษตรกร (ตำบลยะต๊ะ) พื้นที่ โมเดล กลุ่มพื้นที่ที่บ้านบลูกาลูวัสสามารถเรียนรู้การดำเนินงานของกลุ่มพื้นที่เกษตรกรต้นแบบเพื่อนำมาในใช้ในพื้นที่่ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

3.1. กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” ค่าอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์พืช เพื่อ แจกจ่ายชุมชน) 5 ก.ค. 2565 5 ก.ค. 2565

 

จัดซื้ออุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ผักเพื่อแจกจ่ายชุมชน

 

เเจกจ่ายเมล็ดพันธ์ผักและอุปกรณ์แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 35 คน

 

1.2. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 2) 6 ก.ค. 2565 6 ก.ค. 2565

 

พี่เลี่ยงได้ลงเวที่เพื่อจัดตั้งกฏกติกากลุ่ม
ประธานโครงการชี้แจง การดำเนินงานที่ผ่านมา

 

คณะกรรมการได้ทราบถึงปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

 

3.3. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) 15 ส.ค. 2565 19 ส.ค. 2565

 

เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) โดยมีพี่เลี้ยงรับผิดชอบโครงได้ชี้เเจงการประชุม

 

นายมะดารี อาแด ประธานกิจกรรมพร้อมคณะกรรมการจำนวน 12 คน และสมาชิกในโครงการ เข้าร่วมประชุมทอดบทเรียน ปัญหาอุปสรรคที่พบเจอในการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยรายละเอียดทั้งหมดจะมีการนำเสนอผ่านพี่เลี้ยงโครงการ

 

6.8. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

ส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อยฯ (สไลค์ PPT สรุปการดำเนินงาน)

 

แกนนำโครงการย่อย โดยมีนายมะดารี อาแด ประธานโครงการ นายมูฮัมหมัด ลือแบกาเซ็ง คณะกรรมการ นายมะแอ จินตรา คณะกกรมการ เข้าร่วมการประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 มีการประชุมส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อยฯ (สไลค์ PPT สรุปการดำเนินงาน)

 

ดอกเบี้ยรับ 24 ก.ย. 2565 24 ก.ย. 2565

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

6.9.เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย 22 ต.ค. 2565 22 ต.ค. 2565

 

เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย 1.ตรวจสอบการบันทึกลัพธ์ในระบบ 2.บันทึกและตรวจสอบหลักฐานการเงิน 3.ลงชื่อในใบสำคัญรับเงินเพื่อรับเงินโอน รอบ 2

 

แก่นำโดยนางสาวมารีฮะ อาแด เข้าร่วมกิจกรรมเวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565 ในวันที่ 22 ตุลาคม 2565 ได้เรียนรู้และทบทวนในเรื่องการคีย์บันทึกรายงานผลลัพธ์และจัดการรายงานการเงิน โดยพี้เลี้ยงดำเนิการตรวจสอบและรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

 

1.3. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 3) 31 ต.ค. 2565 20 ม.ค. 2566

 

นายมะดารี อาแด ประธานกลุ่ม ได้ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและสอบถามปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่

 

คณะกรรมการทุกท่านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการประชุมครั้งนี้

 

เวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย 6 พ.ย. 2565 6 พ.ย. 2565

 

นายมูฮัมหมัด ลือแบกาเซ็ง พร้อมนางสาวมารีฮะ อาแด เข้าร่วมประชุมเวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย

 

แกนนำที่เข้าร่วมประชุมสามารถนำความรู้ไปพัฒนาพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม 9 พ.ย. 2565 9 พ.ย. 2565

 

นายมะดารี อาแด ประธานกลุ่มฯ พร้อมคณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มส่งเสริมสุขภาพ กินปลูกผักปลอดภัยชุมขนบ้านบลูกาลูวัส จำนวน 35 คน เข้าร่วมอบรมกิจกรรม จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๖ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

 

กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับความรู้จากวิทยากร จากเกษตรตำบลในการให้ข้อมูล เกี่ยวกับการจัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม ว่างแผนการผลิต ให้กับสมาชิกกลุ่มได้เป็นอย่างดี

 

3.2. กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 15 พ.ย. 2565 10 ก.พ. 2566

 

คณะกรรมการได้ประชุมการตรวจแปลง และรวบรวมข้อมูลการผลิดเพื่อรับรองมาตรฐานโดยสามารถที่จะพิจารณาตรวจแปลงทั้งหมด

 

ได้เข้าใจถึงการเตรียมข้อมูลเอกสารเตรียมมาตรฐาน GAP

 

4.1. ติดตามผลการผลิต 2 ม.ค. 2566 10 มี.ค. 2566

 

ตรวจติดตาม แปลงผัก ผลผลิตผัก ของสมาชิก และแปลงกลางกลุ่ม พร้อม การกรอกแบบฟอร์ม ส่งผักตรวจ GAP ต่อไป

 

1 สรุป ผลผลิตที่จะนำตรวจ GAP จำนวน 9 ชนิด 2 ส่งผลผลิตผัก แปลงกลาง ตรวจ GAP ก่อน 3 กรอกข้อมูลนำส่ง ภายในวันที่ 25 มีนาคม

 

1.4. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 4) 20 ม.ค. 2566 15 มี.ค. 2566

 

นายมะดารี อาแด ประธานกลุ่ม ได้เชิญคณะกรรมการประชุม สอบถามปัญหาที่เกิดขึ้น

 

จากการประชุมครั้งนี้สามารถนำปัญหาที่ได้แลกเปลี่ยนมาแก้ไขเบื้องต้น

 

4.2. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 3 ก.พ. 2566 3 ก.พ. 2566

 

นายมะดารี อาแด ประธาน ร่วมประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2

 

สามารถถอดบทเรียนปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่

 

เวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2 4 ก.พ. 2566 4 ก.พ. 2566

 

ประชุมถอดบทเรียนเวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2

 

แกนนำโครงการย่อย โดยมี นายมูฮัมหมัด ลือแบกาเซ็ง คณะกรรมการ นางสาวมารีฮะ อาแด คณะกกรมการ เข้าร่วมการประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 2 มีการประชุมส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อยฯ (สไลค์ PPT สรุปการดำเนินงาน)

 

5.1.ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 17 มี.ค. 2566 17 มี.ค. 2566

 

ทางคณะกรรมการได้จัดประชุมเพื่อเตรียมสรุปและจัดเวที่สรุป ปิดโครงการโดยการจัดให้มรการเสนอปัญหาที่ยังติดขัดและร่วมกันหาแนวทาง

 

ได้ถอดบทเรียนกระบวนการติดตามและแนวทางของสมาชิกกลุ่มและสร้างกระบวนการติดตามและส่งผลลัพธ์อย่างเสมอ

 

5.2.เวที่ สรุปปิดโครงการ 20 มี.ค. 2566 20 มี.ค. 2566

 

กิจกรรมใครั้งนี้ได้จัดเพื่อสรุปการดำเนินงานตลอดทั้งปีและประเมินแนวทางที่จะขับเคลื่อนให้กลุ่มผักปลอดภัยให้มีการดำเนินการต่อเนื่องและเเข็งแรงมากขึ้น

 

ได้เห็นถึงวิธีคิดที่เปลียนไปหลังจากที่ทุกคนได้ลงมือปฎิบัติและได้เห็นการนำเสนอของเครือสมาชิก

 

ดอกเบี้ยรับ 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

6.6.กิจกรรมร่วมกับ สสส. 31 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

 

คณะกรรมการกลุ่มพบปะกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา