directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคระกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดการรับรองมาตรฐานGAP ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 กติกาในกลุ่ม ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามในเรื่องการผลิตผักปลอดภัยตามแผนการปลูกและการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผัก
100.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัยได้ตามแผนความต้องการของตลาด ชนิดการปลูก/ปริมาณความต้องการ/ปลูกสอดคล้องกับฤดูกาลและตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการได้รับการรองรับมาตรฐานGAP ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิตผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดเกษตรกรต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานของเกษตรกรได้ ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าขายผักที่ผ่านมาตรฐานGAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน (ขายกลุ่ม/ขายเดี่ยว) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย ตลาด ใน-นอกชุมชน และโรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน
100.00

 

3 เพื่อการบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.การรายงานดำเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3.แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้สำเร็จ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เกษตรกรผู้ปลูกผัก 35

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง (2) เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้ (3) เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุม อบรมคณะกรรมการ (2) กิจกรรมที่ 6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ (3) 6.2.เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ปี 2565 (4) เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา (5) 6.5.เปิดบัญชี (6) เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 (7) 6.7.จัดทำป้ายไวนิลโครงการย่อยฯ (8) 2.1. การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP (9) 2.2. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (10) 6.1.เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ (11) 6.10.การคีย์รายงานผลเข้าสู่ระบบ (12) ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ (13) 1.1. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 1) (14) 2. เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการและสำรวจข้อมูลต้องการผลิตและการตลาด (15) 2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล (16) 3.1. กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย  “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” ค่าอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์พืช เพื่อ แจกจ่ายชุมชน) (17) 1.2. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 2) (18) 3.3. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) (19) 6.8. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 (20) ดอกเบี้ยรับ (21) 6.9.เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย (22) 1.3. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 3) (23) เวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย (24) 2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม (25) 3.2. กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน (26) 4.1. ติดตามผลการผลิต (27) 1.4. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 4) (28) 4.2. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 (29) เวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2 (30) 5.1.ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 (31) 5.2.เวที่ สรุปปิดโครงการ (32) ดอกเบี้ยรับ (33) 6.6.กิจกรรมร่วมกับ สสส. (34) เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh