task_alt

ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ

ชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 65-0002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน เมษายน 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี2565

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

12

 

2 0

2. เปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 29 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เปิดบัญชีธนาคาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

3. เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อย ปี2565

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1

 

2 0

4. กิจกรรม 1.1 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัธ์ของกิจกรรม สมาชิกคือเข้าใจ กระบวนการปลูกผักตาม GAP เกิดความตระหนักร่วมในการเริ่มปลูกผักกินเองภายในชุมชนเพื่อให้เกิดผลด้านสุขภาพที่ดี ผลผลิตคือกลุ่มเป้าหมายกี่คน 50 คน ผลที่เกิดขึ้นสมาชิกทำตามกระบวนการและไปดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อเริ่มในการปลูกตามมาตรฐานปลอดภัยได้ได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ก่อนงาน ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งทำการประสานแก่ผู้เข้ารวมโครงการที่สนใจในการปลูกผักมาตรฐานปลอดภัย เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการให้แก่สมาชิกผู้สนใจที่เข้าร่วมอบรม ตัวแทนองกรค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนกำนัน ตัวแทนโรงพยาบาล และอีกหลายๆภาคส่วน วันจัดงาน ช่วงแรก ตัวแทนคณะกรรมการได้กล่าวทักทายผู้เข้าร่วมงานจากนั้นทางประธานได้นำเสนอวิสัยทัศ เกษตร 4 ด้าน 4 section success เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เข้าใจถึงแนวทางของวิสาหกิจเชื่อมโยงกับโครงการส่งเสริมสุขภาพปลูกกินผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืนตำบลบาเจาะ ช่วงที่สอง ทางตัวแทนคณะกรรมการโครงได้นำเสนอแนวทางรูปแบบการปลูกที่จะเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยซึ่งสามารถแบ่งรูปแบบการบริหารจัดการได้ดังนี้ 1 . การเตรียมวัสดุปลูก 2. การเตรียมแปลง 3. การดูแลผลผลิต 4.การเก็บเกี่ยว 5.การตลาดในชุมชน
ช่วงที่สาม ทางเกษตรอำเภอได้แนะนำข้อระเบียบข้อบังคับในการเตรียมตัวของการเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยตลอดจนแนวทางการสนับสุนเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ช่วงที่สี่ ตัวแทนหน่อยงานร่วมแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทางผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าถึงการสนับสนุนด้านอื่นๆ ช่วงที่ ห้า ผู้เข้าร่วมได้ร่วมแลกเปลี่ยนและนำเสนอแนวทางการทำงานร่วม

 

7 0

5. เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1

 

2 0

6. คีย์ข้อมูลรายงานผลเข้าสู่ระบบ

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดแผนงานที่เป็นไปได้มากขึ้นอีกทั้งยังลดความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลของโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รวบรวมข้อมูลคณะทำงาน คณะกรรมการ ใบลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ และใบเสร็จทุกกิจกรรมของโครงการ
ดำเนินงานตามโครงการพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือนลงในเว็บไซต์ของโครงการ

 

1 0

7. กิจกรรม 2.1 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน .2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP 3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก 4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ 5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ 6 มีแผนการผลิต 7 กติกาในกลุ่ม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวมถึงรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือน และด้านการตลาด โดยทางประธานโครงได้ประสานคณะกรรมที่มีศักยาภาพและที่มีบทบาทในการผลักดันในประเด็นผักปลอดภัยในชุมชนมาทำความเข้าใจประชุมชี้แจงถึงเป้าหมายหมายโครงการหลังจากนั้นได้แต่งตั้งคณะกรรมการและแบ่งบทบาทหน้าที่ได้ดังนี้ 1 นายกริยา  มูซอ  ประธานโครงการ 2 นายการิม  มูซอ ผู้ประสานงานเครื่อข่าย  3 นายอับดุลเลาะ  อาลีมามะ หัวหน้าฝ่ายภาคผลิต  4 นางสาวตัสนีม  โตะโยะ หัวหน้าฝ่ายการเงิน  5นางสาวอัสมารอ  กาซอ เลขานุการโครงการ 6 นายอานัส  มูซอ หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ 7 นายมาฮามุ  อาลีมามะ หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีการปลูก 8 นาย มาหามะ เปาะดิง    รองหัวหน้าฝ่ายผลิต
จากนั้นได้ออกแบบเสนอกฏระเบียบการทำงานร่วมและข้อเสนอคุณสมบัติของสมาชิก และวางแผนการลงสำรวจข้อมูลเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการ
และวางแผนประสานการจัดการประชุมร่วมกับคู่ค้าที่เป็นหน่วยงานและเอกเอกชน

 

7 0

8. กจิกรรม 2.2 ประชุบคณะกรรมการ ครั้งที่ 2

วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลงสามารถเป็นไปได้ยาก 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้อย่างถูกต้องเท่าที่ควร 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยยุ่งยาก 4 เงินทุนในการใช้ดำเนินการสร้างโรงเรือนค่อนข้างสูง 5 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 6 การตลาดที่ยั่งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ทางประธานได้ประสานงานเรียกคณะกรรมการมาร่วมประชุมโดยมีวาระติดตามงานดังนี้ วาระ ติดตามงานความคืบหน้าการลงสำรวจข้อมูลเกษตรกร วาระ ข้อเสนอปัญหาที่คณะกรรมการได้ลงสำรวจ วาระ แนวทางการแก้ปัญหา

 

7 0

9. กจิกรรม 2.3 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3

วันที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดแผนงานที่เป็นไปได้มากขึ้นอีกทั้งยังลดความผิดพลาดในการทดลองช่วงแรกและเกิดความสามัคคีภายใต้งบประมาณที่จำกัด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมเร่งสรุปแนวทางในการชักชวนให้สมาชิกในหมู่บ้านเข้ามาประชุม เพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรไม่มีแรงจูงใจในการปลูกผักกินเองโดยทางคณะกรรมมีข้อสรุปดังนี้ 1ให้ทางคณะกรรมหาพื้นที่การดำเนินกิจกรรมรวมกันโดยใช้คำว่าแปลงรวมเพื่อให้ง่ายและสะดวกที่จะทำการปลูกผักในช่วงเริ่มต้น โดยแปลงรวมนี้จะรวมกันปลูกโดยแบ่งความรับผิดชอบร่วมกันอีกทั้งยังเป็นพื้นที่ทดลองวิจัยให้กลุ่มสมาชิก

 

7 0

10. กิจกรรม 2.4 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4

วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลงสามารถเป็นไปได้ยาก 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้อย่างถูกต้องเท่าที่ควร 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยยุ่งยาก 4 เงินทุนในการใช้ดำเนินการสร้างโรงเรือนค่อนข้างสูง 5 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 6 การตลาดที่ยั่งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมเร่งสรุปแนวทางในการชักชวนให้สมาชิกในหมู่บ้านเข้ามาประชุมเพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรไม่มีแรงจูงใจในการปลูกผักกินเองโดยทางคณะกรรมมีข้อสรุปดังนี้ 1ให้ทางคณะกรรมหาพื้นที่การดำเนินกิจกรรมรวมกันโดยใช้คำว่าแปลงรวมเพื่อให้ง่ายและสะดวกที่จะทำการปลูกผักในช่วงเริ่มต้นโดยแปลงรวมนี้จะรวมกันปลูก โดยแบ่งความรับผิดชอบร่วมกันอีกทั้งยังเป็นพื้นที่ทดลองวิจัยให้กลุ่มสมาชิกได้เข้ามาทำการปลูกในพื้นที่กลางและแบ่งผลผลิตตามที่ได้ตกลงไว้คือ 50เปอร์เซ็น จากผลผลิตที่ได้กับเจ้าของที่ดินแปลงรวม โดยแปลงรวมจะใช้พื้นที่ของ นายกริยา  มูซอ ประธานโครงการในการเป็นพื้นที่ทดลองปลูกช่วงแรก

 

7 0

11. กิจกรรม 3 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลงสามารถเป็นไปได้ยาก 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้อย่างถูกต้องเท่าที่ควร 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยยุ่งยาก 4 เงินทุนในการใช้ดำเนินการสร้างโรงเรือนค่อนข้างสูง 5 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 6 การตลาดที่ยั่งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการเร่งสรุปแนวทางในการปลูก ให้สมาชิกในหมู่บ้านให้ข้อมูลพื้นที่ ว่าเหมาะสมที่จะปลูกผักชนิดใหน เพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรมีแรงจูงใจในการปลูกผัก

 

7 0

12. กิจกรรม 4 เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกผู้เข้าร่วมมีความกระตือรื้อร้นในการให้ความสำคัญกับการเริ่มปลูกผักปลอดภัย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมนี้ทางคณะกรรมได้ประกาศประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่สนใจเข้ามาร่วมสมัครเข้าร่วมโดยวันงานทางประธานและคณะกรรมการได้อบรมสมาชิกที่เข้าร่วมสมัคร เบื้องต้นเรื่องแนวทางการพัฒนาการปลูกผักและเทคโนลียีการปลูกผักเพื่อเป็นจุดริเริ่มและแรงบันดาลใจในการปลูกผักปลอดภัยซึ่งสมาชิก มีความสนใจเป็นอย่างยิ่งในการริเริ่มเพื่อให้ชุมชนคนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีผ่านการรับทานพืชผักปลอดภัย

 

50 0

13. กจิกรรม 2.1 การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลง 2 จัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัย GAP

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมการ ไปตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อเตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP
เพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรมีแรงจูงใจในการปลูกผัก

 

10 0

14. กิจกรรม 2.2 กิจกรรมอบรมเกษตรกร

วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกผู้เข้าร่วมมีความกระตือรื้อร้นในการให้ความสำคัญกับการเริ่มปลูกผักปลอดภัย เพื่อส่งเข้า 3ร. โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหารในพื้นที่อำเภอ บันนังสตา และอำเภอเมืองยะลา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ ร่วมแลกเปลี่ยนให้ความรู้เตรียมความพร้อมเกษตร เรื่องมาตรฐานปลอดภัย GAP
และสร้างเครือข่ายทีมเห็ดและผักปลอดภัย เพื่อส่งเข้า 3ร. โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหารในพื้นที่อำเภอ บันนังสตา และอำเภอเมืองยะลา

 

50 0

15. กจิกรรม 2.4 จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม

วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลง 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่ 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัย 4 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 5 การตลาดที่ยั่งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ทางประธานได้ประสานงานเรียกคณะกรรมการมาร่วมประชุมโดยมีวาระติดตามจัดทำแผนการผลิตของสมาชิกในกลุ่มดังนี้ วาระ ติดตามการลงแปลงผัก วาระ ข้อเสนอปัญหาการปลูกผัก วาระ แนวทางการแก้ปัญหา

 

50 0

16. กจิกรรม 2.3 อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม โดยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ พื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่)

วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ศึกษาข้อมู้ล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะกรรมการและสมาชิก

 

50 0

17. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE Node)ครั้งที่1 วันที่17 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมปาร์ควิว จังหวัด ยะลา โดยให้ส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อย (สไลค์ สรุปการดำเนินงาน)

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE Node)ครั้งที่1 โดยให้ส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อย (สไลค์ สรุปการดำเนินงาน)

 

2 0

18. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ดอกเบี้ยรับ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 29 18                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,600.00 57,227.29                  
คุณภาพกิจกรรม 72                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. กิจกรรมที่ 2 อบรมและวางแผนการผลิตตามมาตรฐาน GAP ( 4 ต.ค. 2565 )
  2. กจิกรรม 2.3 อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม โดยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ พื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่) ( 6 ต.ค. 2565 )
  3. กิจกรรมที่ 3 kick off ปลูกผักปลอดภัย ( 8 ต.ค. 2565 )
  4. 4. กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการผลิตและจัดทำข้อมูลเป็นฐานเรียนรู้ ( 10 ต.ค. 2565 )
  5. กิจกรรมที่ 5 เวทีสรุปโครงการ ( 10 ต.ค. 2565 )
  6. กิจกรรมที่ 6 สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม ( 22 ต.ค. 2565 )
  7. ประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ( 22 ต.ค. 2565 )
  8. กิจกรรม 3.3 เวที ติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ARE ครั้งที่1 ( 5 ม.ค. 2566 )
  9. กิจกรรม 3.2 กิจกรรมตรวจแปลง รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน ( 4 ก.พ. 2566 )

(................................)
นายกริยา มูซอ
ผู้รับผิดชอบโครงการ