แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 1.มีโครงสร้างแบ่งงานชัดเจน มีความรู้ความเข้าใจการวิเคราะห์จุดเสี่ยง 2.มีข้อมูล มีแผนการดำเนินงานร่วมกันและแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและขยายผลกิจกรรม 3. มีแผนการดำเนินการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ จากจุดเสี่ยง 4.คณะทำงาน ติดตามประเมินผลทุกเดือน ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดกลไกเฝ้าระวังติดตามเรื่องอุบัติเหตุทางท้องถนนที่เข้มแข็งคณะทำงาน/ชุมชน 1ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมประชาชนในชุมชน 2.มีการติดตามเฝ้าระวังและทบทวนแผนปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
25.00

 

 

 

2 เพื่อแก้ปัญหาจุดเสี่ยง และสภาพแวดล้อม ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักเพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน 1.สมาชิกในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อลดอุบัติเหตุในชุมชน 2.เกิดข้อตกลงร่วมของชุมชนในการแก้ไขจุดเสี่ยงและพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับจุดเสี่ยงที่ชุมชนจะแก้ไขเพื่อลดอุบัติเหตุในชุมชน 3. เกิดกลไกการเฝ้าระวังกฎจราจร 4. จำนวนผู้ไม่ปฎิบัติตามกฏจราจรหรือกฏกติกา สภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้รับการแก้ไข 1.จุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน ร้อยละ 60 ของจำนวนจุดเสี่ยงประเภทที่ชุมชนแก้ไขได้เอง 2. ส่งต่อจุดเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขเองร้อยละ100 3. มีป้าย/สื่อรณรงค์ตามจุดเสี่ยงในชุมชน อุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง 1.จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ร้อยละ 50 2 อัตราความรุนแรงทางศีรษะลดลง ร้อยละ 50 3 อัตราการบาดเจ็บลดลง ร้อยละ 50 4 อัตราการตายลดลง ร้อยละ 50
25.00