directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยชุมชน บ้านหน้าถ้ำ

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรม สสส. 1 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

1.ประชุมคณะกรรมการสมาชิกและผู้ประสานงานชี้แงเป้าหมายขับเคลื่อนโครงการในทิศทางเดี่ยวกัน 9 มิ.ย. 2565 9 มิ.ย. 2565

 

จัดกิจกรรมอบรมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการการส่งเสริมสุขภาพกินปลูกผักปลอดภัยชุมชนบ้านน้าถ้ำ โดยมีเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมจำนวน 30 ท่านในการชี้แจงวัตถุประสงค์และชี้แจงกระบวนการขับเคลื่อนในชุมชนโดยมีองค์การบริหารส่วนตำบลหน้าถ้ำเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นประธาน ร่วมถีงสมาชิกในชุมชนน้านบันนังลูวา กลุ่มผู้เปราะบาง ผู้นำท้องที่ท้องถิ่นในชุมชนเข้าร่วม โดยมีขั้นตอนกระบวนการในการจัดการกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1.คณะทำงานกล่าวชี้แจงโครงการแก่ประธานในกิจกรรมได้(นายกอบต.หน้าถ้ำ)
2.โครงการการส่งเสริมสุขภาพกินปลูกผักปลอดภัยชุมชนบ้านน้าถ้ำโดยมีเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมจำนวน 30 ท่านในการชี้แจงวัตถุประสงค์และชี้แจงกระบวนการขับเคลื่อนในชุมชนโดยมีองค์การบริหารส่วนตำบลหน้าถ้ำเข้าร่วมกิจกรรม  3. ทำงานแกนประสานจัดตั้งคัดเลือกคณะกรรมการในการทำงานนอน 15 คนโดยแบ่งบทบาทตามหน้าที่ในการทำงาน พร้อมสมัครสมาชิก ให้ครบ 30 คนยกิจกรรมนี้มีค่าใช้จ่ายดังนี้ โดค่าอาหารว่าง+เครื่องดื่ม 2มื้อชุดละ 30 บาท จำนวน  30 ชุดค่าอาหารกลางวัน ชุดละ 70 บาท จำนวน 30ชุด ค่าอุปกรณ์จัดกิจกรรม ชุดละ 30  บาท จำนวน  30 ชุด( สมุด ปากกา ดินสอ ) ค่าจ้างทำไวนิล 2 ผืน (ชื่อโครงการและบันไดผลลัพ)

 

ผลเผลิต 1.เกิดคณะทำงานจำนวน 13 คนในการทำกิจกรรม ในการขับเคลื่อนพื้นที่ 2.เกิดสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการปลูกผักปลอดภัยจำนวน 30 คน ผลลัพ 1.เกิดเกิดกฏระเบียบกลุ่มซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกันในชุมชน 2. เกิดองค์ความรู้ในชุมชยในกระบวนการผลิตผักในชุมชน 3.เกิดกระบวนการทำงานแบบกลุ่มตสมผลบาทหน้าที่

 

ร่วมเวทีติดตามแลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยงครั้งที่1 22 ก.ค. 2565 22 ก.ค. 2565

 

คณะทำงานและแกนประสานจำนวน 20 คนเข้าร่วมกิจกรรมการประเมินและติดตามกับพี่เลี้ยงครั้งที่ 1 ที่ห้องประชุม อบต.หน้าถ้ำ เพื่อรับฟังและรับทราบถึงปัญหาหลังจากมีการจัดตั้งคณะกรรมการจำนวน 13 คนตามบทบาทหน้าที่โดยคณะกรรมการและทีมประสานรวมถึงพี่เลี้ยงได้บอกถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการรวมถึงการร่วมวางแผนและการบอกถึงบันไดผลลัพธ์และกลุ่มเป้าหมายโดยโดยการกำหนดพื้นที่แบ่งเป็น 6 พื้นที่ตามความรับผิดชอบของกลุ่มเป้าหมายโดยจะให้คณะกรรมการของแต่ละพื้นที่เป็นกำกับดูแลในการบริหารการจัดการและควบคุมดูแลถึงการใช้สารพิษและสารเคมีในพื้นที่แปลงที่จะขอใบอนุญาต gap และยังวางเป้าหมายของกำหนดการในการที่จะดำเนินการในการจัดอบรมเพิ่มศักยภาพของกลุ่มให้เข้มแข็งขึ้นโดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ 1 ค่าอาหารว่างจำนวน 22 ชุดชุดละ 35 บาท 2มื้อ  2. ค่าอาหารเที่ยงบวกเครื่องดื่มจำนวน 22 ชุดชุดละ 70บาท

 

ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1 .ได้จัดตั้งคณะกรรมการจำนวน 13 คนซึ่งประกอบด้วยประธาน 1 คนรองประธาน 1 คนเลขานุการ 1 คน  บัญชี 1 คน ที่เหลือเป็นคณะกรรมการ 10 คน 2. ฐานะกรรมการจำนวน 13 คนรู้จักบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการที่จะควบคุมการผลิตผักกปลอดภัย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1.จากกิจกรรมสมาชิกและเกณฑ์ประสานรู้จักบทบาทหน้าที่ในการควบคุมกิจกรรมให้ดำเนินตามวัตถุประสงค์ของบันไดผลลัพธ์ได้อย่างถูกต้องและสามารถบอกกับสมาชิกเรื่องของพิษและโทษของการใช้สารเคมีในพื้นที่แปลงปลูก
2. สมาชิกและผู้เข้าอบรมร้อยละ 80 สามารถบอกถึงวัตถุประสงค์และกระบวนการทำงานให้แก่สมาชิกที่เหลือได้อย่างถูกต้อง

 

3.มีการติดตามประเมิ นผลกับภาคีร่วมเวทีkickoff การปลูกผักปลอดภัย 23 ส.ค. 2565 23 ส.ค. 2565

 

1.จัดประชุมผู้ประสานและสมาชิกจำนวน 30 รายในการวางแผนการพัฒนาและการออกแบบกิจกรรมโดยใช้พื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลหน้าถ้ำในการกำหนดบทบาทหน้าที่และยืนยันกฎระเบียบของกลุ่มตามบทบาทหน้าที่ตามพื้นที่ในการเข้าร่วมพัฒนาความรูการผลิตผักปลอดภัยในชุมชน 2.อบรมองค์ความรู้ในการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในการพัฒนาและร่วมกำหนดพื้นที่และสมาชิกจำนวน 6 พื้นที่ โดยจัดแบ่งพื้นที่และสมาชิกรับผิดชอบ พื้นที่ละ 5 คนในการบริหารจัดการ 3. จัดกิจกรรม กำหนดวางกรอบในการทำข้อตกลงในการจัดตั้งกลุ่ม นังวากรีน ผักปลอดภัย รวมถึงการร่วมออกแบบ โลโก้ ให้เป็นมาตราฐานในการผลิตและเป็นการสร้างการจดจำดยกิจกรรมครั้งนี้มีรายการค่าใช้จ่ายดังนี้ 1 ค่าอาหารเบรคจำนวน 2 มื้อมื้อละ 30 บาทเป็นจำนวน 60 ชุด 2 ค่าอาหารเที่ยงพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 30 ชุดชุดละ 70 บาท อุปกรณืการอบรม 30 บาท จำนวน 30 ชุด

 

ผลผลิต 1.แกนนำและสมาชิกจำนวน 30 ราย เรียนรู้ กระบวนการบริหารจัดการพื้นที่ 2.แกนนำและสมาชิกเกิดกระบวนการทำงานและวางแผนการจัดการพื้นที่ 3.แกนนำ จำนวน 13 คน สามารถจัดตั้งพื้นที่ ในการบริหารจัดการพื้นที่  6 พื้นที่
ผลลัพธ์ 1.เกิดกระบวนการทำงานแบบกลุ่มในพื้นที่ 2.สร้างการรับรู้อย่างมีส่วรร่วมของกลุ่มและแกนนำ 3.เกิดพื้นที่การผลิตผักปลอดภัย จำนวน 6 แปลง

 

พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและคณะกรรมการ 26 ส.ค. 2565 26 ส.ค. 2565

 

1.แกนนำในพื้นที่จัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมอบรมการเรียนรู้การเพิ่มทักษะการผลิตและผักปลอดภัยในชุมชน ณ.แปลงเกษตรกรหมู่ที่2 บ้านบันนังลูวา 2.อบรมเรียนรู้การจัดการการทำปู๋ยหมักจากเศษอาหารและของเหลือใช้ในชุมชนโดยวิทยากร การทำน้ำหมัก การทำปู๋ยหมักจากฟางข้าว เพื่อนำมาพัฒนาและใช้ในแปลงปลูกในการลดต้นทุนในการผลิต 3.ลงพื้นที่เรียนรู้การจัดทำปู่ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักเพื่อให้สมาชิกเรียนรู้และต่อยอดในกระบวนการการทำปุ๋ยหมักจากฟางข้าวและเศษเหลือจากฟางโดยมีวัสดุใหม่ในชุมชนได้แก่มูลวัวเศษฟางข้าวเศษใบไม้น้ำตาลทรายแดงกากน้ำตาลทำการหมักทิ้งไว้ประมาณ 2 เดือนและแจกจ่ายให้กับสมาชิกกลุ่มนังวากรีนจำนวน 6 พื้นที่กิจกรรมครั้งนี้มีค่าใช้จ่ายได้แก่ 1 ค่าอาหารและเบรคจำนวน 2 มื้ออาหารเที่ยงพร้อมน้ำจำนวน 30 ชุด

 

ผลผลิต 1.สมาชิกและแกนนำในการพื้นที่ จำนวน 30 ราย เรียนรู้กระบวนการผลิตปุ๋ยหมัก 2.สมาชิกและแกนนำในการพื้นที่ จำนวน 30 ราย มีองค์ความรู้ในการผลิตปุ๋ยหมักและสามารถผลิตใช้ได้ 3.สมาชิกและแกนนำในการพื้นที่ จำนวน 20 ราย สามารถเผยแพร่กระบวนการผลิตปุ๋ยหมักให้กับสมาชิกในชุมชนได้ ผลลัพธ์ 1.เกิดกระบวนการพัฒนาทักษะการผลิตปุ๋ยหมัก 2.เกิดกิจกรรมการมีส่วนร่วมและคณะทำงานของกลุ่ม 3.เกิดกระบวนการผลิตและลดต้นทุนการผลิตผักปลอดภัย

 

2. พัฒนาศักยภาพสมชิกกลุ่มคณะทำงานผู้ประสานงานศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

1.แกนนำร่วมกับสมาชิกในโครงการจำนวน 30 ราย เดินทางศึกษาดูงานพื้นที่ บ้านยะต๊ะ อำเภอรามัน โดยรถยนต์โดยของสมาชิกในชุมชน 2.โดยได้รับการต้อนรับจากสมาชิกกลุ่ม สมาชิกบ้านยะต๊ะในการเป็นวิทยากรอธิบายกระบวนการจัดตั้งกลุ่ม การทำงาน การบริหารจัดการกลุ่มและสมาชิก 3.สมาชิกและแกนนำ ตำบลหน้าถ้ำได้ปรึกษาสนทนาแลกเปลี่ยนกระวนการทำงาน และร่วมวางแผนในการพัฒนาและเชื่อมโยงตลาดในพื้นที่และต่างพื้นที 4.สมาชิกและแกนนำ และยะต๊ะลงพื้นที่แปลงปลูก เพื่อเรียนรู้วิธีและการจัดการแปลงผลิตและปลูกผักปลอดสารดยกิจกรรมครั้งนี้มีรายการค่าใช้จ่ายดังนี้ 1 ค่าอาหารเบรคจำนวน 2 มื้อมื้อละ 30 บาทเป็นจำนวน 60 ชุด 2 ค่าอาหารเที่ยงพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 30 ชุดชุดละ 70 บาทจำนาน 2 มื้อ เที่ยง เย็นค่าค่าใช้จ่ายเหมารถสมาชิกในชุมชนคันละ 1,000 บาทรวมน้ำมันจำนวน 2 คัน 5.สมาชิกและแกนนำ ตำบลหน้าถ้ำกล่าวขอบคุณและเดินทางกลับ

 

ผลผลิต 1.สมาชิก จำนวน 30 ราย เกิดการแลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงเครื่อข่าย 2.สมากชิก จำนวน 30 ราย เกิดทักษะในการผลิตผักปลอดภัย ผลลัพธ์ 1.เกิดการเชื่อมโยงชุมชนตำบลหน้าถ้ำในการผลิดผักกับชุมชนตำบลหน้าถ้ำ 2.เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างชุมชนสร้างเครือข่ายการทำงาน 3.เกิดกระบวนการทำงานแบบกลุ่มเพื่อสร้างทักษะการบริหารจัดการ

 

ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานวางแผนดำเนินงานข้อตกลงกติกาและกลุ่มสำรวจข้อมูล 15 ก.ย. 2565 15 ก.ย. 2565

 

*คณะกรรมการและแกนนำรวมถึงสมาชิกจำนวน 30 คนใน 6 พื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินการในการขับเคลื่อนงานในแต่ละพื้นที่โดยกำหนดกรอบเป้าหมายที่จะผลิตและชี้แจงผลการดำเนินการที่ผ่านมาในการขอมาตรฐาน GMP และการตรวจเยี่ยมแปลงของพี่เลี้ยงส.สและเข้ารับฟังปัญหาของทั้ง 6 พื้นที่อันได้แก่พื้นที่แปลงปลูกถ้ำเสือพื้นที่แปลงปลูกบ้านมานังวาแหล่งท่องเที่ยว 2 แปลงพื้นที่กลุ่มผู้เปราะบางหมู่ 2  2 แปลงพื้นที่แปลงปลูกหมู่ 1 โคกหนองนาโมเดล 1 แปลงพร้อมรับฟังแนวทางและวางแผนในการขับเคลื่อนวางแนวทางในการจัดทำปฏิทินการเพาะปลูกและวางแผนในเรื่องของการตลาดโดยมีค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ 1 ค่าเบรคจำนวน 1มื้อมื้อละ 30 บาท 30ชุด ค่าอาหารเที่ยงพร้อมเครื่องดื่มชุดละ 70 บาทจำนวน 30 ชุด

 

คณะทำงาน แกนนำทำงานร่วมกันโดยรับฟังปัญหาและทราบถึงปัญหาในเรื่องของการจัดการพื้นที่และการเพาะปลูกที่ยังขาดในเรื่องขององค์ความรู้รวมถึงการสร้างองค์ความรู้ให้กับชุมชนโดยเพิ่มศักยภาพให้กับสมาชิกและคณะทำงานแกนนำในเรื่องขององค์ความรู้การจัดการและการวางแผนในจำนวนสมาชิก 30 คนมีความสามารถและองค์ความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 80 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดโดยจัดทำเป็นฐานข้อมูลและรับฟังปัญหาทุกๆวันพฤหัสบดีของเดือน

 

ตรวจแปลงร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่ในการตรวจแปลงมาตรฐานและรวบรวมข้อมูลการผลิตครั้งที่ 1 22 ก.ย. 2565 22 ก.ย. 2565

 

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมจำนวน 30 ท่านลงพื้นที่ตรวจดูความพร้อมและเหมาะสมในการปลูกผักจำนวน 6 พื้นที่เพื่อคัดกรองเข้าสู่กระบวนการ ขอมาตรฐาน GAP ได้แก่ แปลงที่ 1 กวางตุ้ง คะน้า ผักบุ้ง ต้นหอม ถั่วฝักยาว แปลงที่ 2 พืชที่ปลูกคะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว ต้นหอม มะระขี้นก แปลงที่ 3 พืชที่ปลูกมะระ ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักกาดหอม มะเขือ ต้นหอม บวบหอม แปลงที่ 4 พืชที่ปลูกมะระขี้นก บวบเหลี่ยม  บวบหอม ผักบุ้ง แคล แปลงที่ 5 พืชที่ปลูกข้าวโพด ผักบุ้ง ผักคะน้า กวางตุ้ง ผักกาดหอม ต้นหอม มะเขือใบบัวบก แปลงที่ 6 ผักที่ปลูก ผักบุ้ง คะน้า ตะไคร้ พริก มะเขือ บวบหอม โดยนำมาวิเคราะห์เพื่อใช้ในการลงรายละเอียดและคัดเลือก เพื่อขอมาตรฐาน GAP ในแต่ละพื้นที่โดยทางเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบความเหมาะสมในการดำเนินการขอเอกสารและลงทะเบียนในการจัดทำมาตรฐาน GMP ในครั้งนี้ โดยให้จัดเตรียมเอกสารพืชที่จะยื่นขอมาตรฐาน GAP โดยให้จัดเตรียมเอกสารดังนี้สำเนาบัตรประชาชนผู้ยื่นขอ สำเนาโฉนดแปลงที่ปลูก ใบคำขอยื่นจดมาตรฐาน GAP โดยจำนวนผู้ที่จะขอ 6 ชนิดในพื้นที่ 6 แปลง
โดยกิจกรรมนี้มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการดังนี้ 1 ค่าเบรคจำนวน 30 คน* 30 บาท ค่าอาหารเที่ยง + น้ำ จำนวน 30 คนจำนวน 2 มื้อ* 70 บาท

 

1.คณะทำงานและผู้ประสานเรียนรู้กระบวนการเพาะปลูกและตรวจสอบแปลงเพื่อสร้างความมั่นใจในแปลงปลูกจำนวน 6 พื้นที่
2.สมาชิกจำนวน 20 ท่านสามารถอธิบายถึงการเพาะปลูกและสามารถควบคุมมาตรฐานผักปลอดสารตลอดจนระยะเวลาในการเก็บเกี่ยว 3.สมาชิกร้อยละ 70 สามารถบอกถึงวิธีการและฤดูการเก็บเกี่ยวของผักได้ 4.สมาธิแต่ละพื้นที่รับทราบและจัดทำกิจกรรมแบบกลุ่มผ่านกระบวนการบริหารจัดการร่วมกัน 5.สมาชิกแต่ละพื้นที่สามารถใช้ข้อมูลและแลกเปลี่ยนข้อมูลของพืชที่ปลูกในแต่ละพื้นที่ได้โดยใช้การสื่อสารผ่านระบบออนไลน์เพื่อรายงานผลการดำเนินงานและรวบรวมผลผลิตทำมาเป็นบันทึกจากจำนวนการผลิตทั้งหมด 30 คนคิดเป็นร้อยละ 80 ของจำนวนสมาชิก

 

ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานตืดตามความก้าวหน้าระหว่างดำเนินการการกิจกรรม 29 ก.ย. 2565 29 ก.ย. 2565

 

1.ประชุมคณะทำงานแกนนำในพื้นที่จำนวน 30รายพร้อมพี่เลี้ยง สสส ในการติดตามพื้นที่การทำงานและรับทราบการดำเนินการ ปัญหาอุปสรรคในการผลิต และแนวทางแก้ไข ของคณะทำงานและสมาชิกใน 6 พื้นที  เป้าหมาย 2.แกนนำและพี่เลี้ยง สสส ลงพื้นที่ จำวน 6 พื้นที่ได้แก่ พื้นที่ 1. มีสมาชิก 6 ราย (บ้านต้นมะขาม)  พื้นที่ 2 บ้านกลุ่มผู้เปราะบาง สมาชิก 5 ราย  พื้นที่ 3  /4/ แหล่งท่องเที่ยวนังวา 10 ราย พื้นที่ 5 โรงเรียนบ้านนังวา จำนวน 5 ราย พื้นที่ 6  ศูนย์การเรียนรู้โคกหนองนาโมเดล 4 ราย
3.โดยจัดทำข้อมูลในแต่ละพื้นที่เช่น การวางแผนการจัดการปลูก ผลผลิต การจัดการตลาด ปํัญหาและแนวทางการแก้ไข 4.ประชุมวางแผนแกนนำและพี่เลี้ยง สสส หลังจากลงพื้นที่ 6 พื้นที่ ทำรายงานข้อมูลเพื่อใช้ในทำงานในขั้นตอนต่อไป 5.และได้สรุปปัญหาวางกรอบออกมาเป็นแนวทางของปัญหาได้แก่ 1 ปัญหาน้ำท่วมขังทำให้ผักเสียหาย 2 ปัญหาฝนตกทำให้ผักบอบช้ำจนเกิดความเสียหายแก่สมาชิกไม่สามารถจะจำหน่ายได้และได้ร่วมประชุมกับทางคณะกรรมการแทนประสานในการหาแนวทางแก้ไขมีข้อสรุปออกมาเป็นการจัดทำผักยกแช่จำนวน 6 แปลงเพื่อให้สมาชิกได้แก้ไขปัญหาและมีการปลูกผักตลอดทั้งปี 6.จัดทำกิจกรรมการออมวันละ 1 บาทให้กับกลุ่มสมาชิกโดยเก็บเงินเข้ากองทุนสัปดาห์ละ 350 บาทเพื่อเป็นกองทุนสมทบในการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์และต่อยอดในเรื่องของผลผลิตของสมาชิกกลุ่มนำวากรีน โดยกิจกรรมครั้งนี้มีรายการค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. ค่าอาหารเบรคจำนวน 2 มื้อมื้อละ 30 บาทเป็นจำนวน 30 ชุด 2. ค่าอาหารเที่ยงพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 30 ชุดชุดละ 70 บาท

 

ผลผลิต 1.แกนนำคณะกรรมการ 13 ราย ในพื้นที่ จัดทำข้อมูล การผลิต  การจัดการ  การตลาด ได้ข้อมูล ทั้ง 6 พื้นที 2.แกนนำคณะกรรมการ 13 ราย ในพื้นที่นำข้อมูลมาแก้ไขปัญหาการผลิต  การจัดการ  การตลาด ได้ทั้ง 6 พื้นที ผลลัพธ์ 1.กรรมการและคณะทำงานเกิดการเรียนรู้การทำงานร่วมกับสมาชิกใน 6 พื้นที่เป้าหมาย 2.กรรมการและคณะทำงานเกิดการสร้างกระบวนการทำงานร่วมกับสมาชิกใน 6 พื้นที่ ในการขับเคลื่อนกิจกรรม 3.เกิดกระบวนการทำงานอย่างมีระบบในการบริหารจัดการพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย
4.เกิดกระบวนการออมในกลุ่มสมาชิกเพื่อเป็นทุนสมทบกลุ่ม

 

พัฒนาศักยภาพสามชิกกลุ่มผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผัก 10 ม.ค. 2566 10 ม.ค. 2566

 

อบรมให้ความรู้ความเข้าใจและการพัฒนาทักษะการเพาะปลูกแบบแก่การทำงานจำนวน 40 คนโดยมีวิทยากรจากสำนักงานพัฒนาที่ดินและปาดความมั่นคงของหน่วยงานกรมนโดยใช้พื้นที่โรงเรียนบ้านมะนางโรวาหมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำอำเภอเมืองจังหวัดยะลาในการจัดทำกิจกรรมเนื้อหาในการอบรมสมาชิกได้แก่ 1 การผลิตฮอร์โมนใครได้นมสดในการบำรุง 2 การอบรมเรื่องของการจัดการการปรุงดินและการจัดการแปลงปลูก 3 การอบรมเรื่องของการให้น้ำและการจัดการระบบน้ำในแปลงปลูกให้แก่สมาชิกจำนวน 40 คน โดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ค่าวิทยากร 2 คน* 3 ชั่วโมง* 600 บาทเท่ากับ 3,600 บาททหารกลางวันมื้อละ 70 บาทx 40 คน = 2800 บาทค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 30 บาทx 2 มื้อ* 40 คนเท่ากับ 2,400 บาทค่าเอกสารประกอบการประชุม 40 ชุดชุดละ 10 บาทเท่ากับ 400 บาทค่าอุปกรณ์การสาธิตการบำรุงทำปุ๋ยปุ๋ยคอกน้ำหมักกากน้ำตาลของกลุ่มจำนวน 3,000 บ

 

ผลผลิต output 1 สมาชิกจำนวน 40 รายที่ผ่านการอบรมสามารถฮอร์โมนใครและนมสดจำนวน 40 ขวด  2 สมาชิกร้อยละ 80 เผยแพร่องค์ความรู้ในการผลิตฮอร์โมนที่ใช้ในการบำรุงรักษาในการผลิตผักปลอดภัย  3 สมาชิกที่ผ่านการอบรม 40 รายนำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติในครัวเรือน4 สมาชิกที่ผ่านการอบรมจำนวน 40 รายเรียนรู้กระบวนการปรุงดินและนำไปใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าการอบรม 4 ผู้เข้าอบรมจำนวน 40 รายคิดเป็นร้อยละ 80 และอธิบายเผยแพร่ถึงกระบวนการผลิตผักปลอดภัยให้กับสมาชิกในชุมชนและนำไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน ผลลัพธ์ 1 เกิดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเรื่องของการผลิตผักปลอดภัย 2 เกิดกระบวนการเรียนรู้การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของครัวเรือนในการปลูกผักปลอดภัย 3 เกิดพื้นที่ปลอดภัยในเขตชุมชนในการลดการใช้สารเคมีจำนวน 2 แห่งหลังจากการเรียนรู้และอบรม

 

การปลูกผักในระยะปลอดภัยตามการรับรองมาตรฐาน 15 ม.ค. 2566 15 ม.ค. 2566

 

การอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาการเพาะปลูกผักแบบมืออาชีพตามแบบการเพาะปลูกผักไรสารเคมีแบบมาตรฐาน gap เป้าหมายสมาชิกจำนวน 40 คนจัดอบรมที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวาหมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองจังหวัดยะลา เรียนรู้การปรุงดินให้เหมาะสมกับสภาพพืชและการลดใช้สารเคมีในการเตรียมแปลง 2 การจัดการพื้นที่ปลูกให้เหมาะสมก็รองรับมาตรฐาน การปลูกผักปลอดภัย ให้กับสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คนเรียนรู้ถึงกระบวนการปรุงดินและการจัดการพื้นที่อย่างปลอดภัยในการเพาะปลูกผักปลอดสารพิษโดยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน 1 การเรียนรู้เชิงทฤษฎี 2 การเรียนรู้เชิงปฏิบัติและลงมือทำในการปรุงดินและปลูกผักยกแคร่โดยมีรายละเอียดและค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ 1 ค่าอาหารกลางวันมื้อละ 70 บาทx 40 คนเท่ากับ 2,800 บาท 2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 30 บาท 2 มื้อ 60 บาทxด้วย 40 คน = 2,400 บาทค่าเอกสารการประกอบการประชุม 40 ชุด10 บาทเท่ากับ 400 บาทค่าอุปกรณ์การสาธิตการทำ 2,000 บาท (ปุ๋ยคอก กากมะพร้าว)

 

ผลผลิต output 1 สมาชิกจำนวน 40 รายที่ผ่านการอบรมเรียนรู้ถึงกระบวนการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนมาประยุกต์ในการปรุงดินเพื่อผลิตผักปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ 2 สมาชิกที่เข้าอบรมจำนวน 40 คนเรียนรู้ถึงกระบวนการการจัดการและนำไปประโยชน์ไปใช้ในครัวเรือนเพื่อผลิตผักปลอดภัยบริโภคในครัวเรือน3 สมาชิก 40 คนที่ผ่านการอบรมนำองค์ความรู้จากการปรุงดินที่ผสมสำเร็จได้จำนวน 200 กิโลกรัมในจำนวนแปลงยกแค่ 3 แปลง ผลลัพธ์outcome 1 สมาชิกจำนวน 40 คนที่ผ่านการอบรมร้อยละ 80 นำวงความรู้มาใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกผักปลอดภัยในครัวเรือน 2 ผู้ผ่านการอบรมได้เกิดกระบวนการผลิตและจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่ในรอบๆครัวเรือนนำมาใช้ประโยชน์ในการปรุงดินปลูกพืชผักภายในครัวเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล3 สมาชิกร้อยละ 80 ของผู้เข้าการอบรมจำนวน 40 คนสามารถเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องของการปรุงดินการผลิตผักปลอดภัยให้กับสมาชิกในครัวเรือนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ4 สมาชิก20% ได้ผ่านการคัดเลือกเป็นวิทยากรประจำกลุ่มในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการปรุงดินและเป็นต้นแบบให้กับสมาชิกภายในกลุ่ม

 

ร่วมเวทีติดตามผลแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ 20 ม.ค. 2566 20 ม.ค. 2566

 

จัดกิจกรรมประชุมสมาชิกจำนวน 15 คนเข้าร่วมโดยมุ่งเน้นกลุ่มคณะบริหารในการปรึกษาหารือและชี้แจงผลการดำเนินงานของกลุ่มหลังจากที่ได้รับการอบรมและออกแนวทางถึงการขับเคลื่อนและผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยให้สมาชิกของกลุ่มชี้แจงแนวทางการทำงานและปัญหาอุปสรรครวมถึงแนวทางการแก้ไขของแต่ละคนแต่ละฝ่ายเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนากิจกรรมจัดขึ้นที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวา หมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำโดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1 ค่าอาหารเที่ยง70 บาท x 17 คน เท่ากับ 1,190 บาท ค่าเบรคอาหารว่าง 35 บาท x 17 คน เท่ากับ 595 บาท

 

สมาชิกจำนวน 15 คนรับรู้เรื่องราวของการทำงานและการขับเคลื่อนตามบันไดผลลัพธ์ของกิจกรรม  สมาชิกจำนวน 15 คนอธิบายถึงผลการทำงานตามบันไดผลลัพธ์และแนวทางในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งให้สมาชิกเห็นถึงกระบวนการทำงานและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคได้อย่างรวดเร็วและตรงไปตามแนวทางในการขับเคลื่อนงานโดยคิดเป็นร้อยละ 50 ของจำนวนสมาชิก 15 คนสามารถแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างทันท่วงทีตามกระบวนการและแนวทางของโครงการสมาชิกจำนวน 15 คนเกิดความต้องการที่จะมีการจัดการประชุมทุกๆสัปดาห์เพื่อสรุปแนวทางในการทำงานที่เกิดขึ้นในแต่ละสัปดาห์

 

ร่วมเวทีติดตามประเมินผลครั้งที่3 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

จัดกิจกรรมประชุมสมาชิกจำนวน 15 คนเข้าร่วมโดยมุ่งเน้นกลุ่มคณะบริหารในการปรึกษาหารือและชี้แจงผลการดำเนินงานของกลุ่มโดยพี่เลี้ยงสสสเข้ามากำกับในการบอกแนวทางการทำงานที่ประกอบกับผลการดำเนินงานและร่วมสรุปแนวทางในการดำเนินงานโดยให้แนวทางและข้อเสนอแนะในแต่ละกิจกรรมหลังจากที่ได้รับการอบรมและออกแนวทางถึงการขับเคลื่อนและผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยให้สมาชิกของกลุ่มชี้แจงแนวทางการทำงานและปัญหาอุปสรรครวมถึงแนวทางการแก้ไขของแต่ละคนแต่ละฝ่ายเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนากิจกรรมจัดขึ้นที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวา หมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำโดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1 ค่าอาหารเที่ยง70 บาท x  17 คน เท่ากับ 1,190 บาท  คนค่าเบรคอาหารว่าง 35 บาท  x 17 คน 595 บาท

 

สมาชิกจำนวน 15 คนรับรู้เรื่องราวของการทำงานและการขับเคลื่อนตามบันไดผลลัพธ์ของกิจกรรม  สมาชิกจำนวน 15 คนอธิบายถึ'การประเมินผลของแกนนำและพี่เลี้ยงกับสมาชิกในแนวทางการขับเคลื่อนงานโรงเรียนเกษตรกรโดยแบ่งบทบาทหน้าที่วิทยากรประจำกลุ่มตามฐานต่างๆไว้และติดตามผลสรุปร้อยละ 50 สามารถอธิบายและเผยแพร่กระบวนการทำงานของกลุ่มและสามารถอธิบายถึงการจัดการทำฮอร์โมนที่ใช้ในการผลิตผักปลอดภัยได้อย่างถูกต้องและน่าสนใจผลการทำงานตามบันไดผลลัพธ์และแนวทางในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งให้สมาชิกเห็นถึงกระบวนการทำงานและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคได้อย่างรวดเร็วและตรงไปตามแนวทางในการขับเคลื่อนงานโดยคิดเป็นร้อยละ 50 ของจำนวนสมาชิก 15 คนสามารถแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างทันท่วงทีตามกระบวนการและแนวทางของโครงการสมาชิกจำนวน 15 คนเกิดความต้องการที่จะมีการจัดการประชุมทุกๆสัปดาห์เพื่อสรุปแนวทางในการทำงานที่เกิดขึ้นในแต่ละสัปดาห์

 

ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน 1 ก.พ. 2566 1 ก.พ. 2566

 

จัดกิจกรรมอบรมประชุมกรรมการคณะทำงานและผู้ประสานสรุปผลการดำเนินงานโดยจัดเวทีในการส่งเสริมและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้นอกสถานที่กับคณะกรรมการและคณะทำงานผู้ประสานที่อำเภอสายบุรีจังหวัดปัตตานีจำนวน 2 วัน 1 คืนโดยมีการศึกษาแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครือข่ายในการวางแผนเรื่องของการตลาดรวมถึงการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนคณะทำงานและผู้ประสานรวมถึงคณะกรรมการในการขับเคลื่อนแผนการพัฒนาและส่งเสริมการเพาะปลูกผักปลอดภัยโดยมีการชี้แจงของคณะทำงานคณะกรรมการและผู้ประสานถึงแนวทางในความกรอบการพัฒนาและส่งเสริมให้แก่สมาชิกรวมถึงการจัดเก็บรายได้และปัญหาอุปสรรคในการแก้ไขโดยมีการศึกษาดูงานที่ solar farm อำเภอสายบุรีในการวางเครือข่ายการตลาดและการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชนจากกลุ่มผู้ประกอบการอำเภอสายบุรีโดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ ค่าอาหาร6 มื้อ จำนวน 17 คนมื้อละ 70 บาท 7,140 บาท เบรคของว่างจำนวน 6 มื้อมื้อละ 30 บาทจำนวน 17 คน 3,060 บาท ค่าอุปกรณ์การอบรม 17ชุด ชุดละ 50 บาท 2 วัน ใช้ในการอบรมสาธิตในกิจกรรม 1,700 บาท ค่าวิทยากร 1คน วันละ 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 วัน 4,800 บาท

 

ผลที่ได้รับคณะกรรมการ 15 คนและคณะทำงานได้เรียนรู้ถึงกระบวนการการจัดการกลุ่มแบบมืออาชีพพนักงาน 15 คนได้เรียนรู้ถึงกระบวนการการจัดการกลุ่มในมิติต่างๆเช่นการบริหารการจัดการเรื่องของทรัพยากร 2 การจัดการบริหารการจัดการเรื่องของการเงินและการบริหารการจัดการสมาชิกในกลุ่มสมาชิกและคณะทำงานสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้บริหารจัดการกลุ่มโดยคิดเป็นร้อยละ 70 ของสมาชิกสามารถที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้และมีทักษะในการบริหารจัดการกลุ่มในมิติต่างๆเช่นการบริหารจัดการแปลงปลูกและปริมาณในการเพาะปลูกรวมถึงสมาชิกมีทักษะในการบริหารการจัดการในเรื่องบัญชีกลุ่มและระบบการเงินของกลุ่7

 

เวทีสรุปปิดโครงการ 9 ก.พ. 2566 9 ก.พ. 2566

 

คณะทำงานและผู้ประสานรวมถึงสมาชิกจำนวน 40 คนเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาและถอดบทเรียนร่วมกับนักเรียนพลเมืองจำนวน 100 คนเข้าศึกษาเรียนรู้ชุมชนต้นแบบในการบริหารจัดการกลุ่มโดยสมาชิกกลุ่มและคณะกรรมการร่วมกันจัดสถานที่และออกแบบในการต้อนรับรวมถึงการออกบูธจำหน่ายสินค้าผักปลอดภัยโดยเป็นการจำลองตลาดมีการจัดเก็บพักปลอดภัยของกลุ่มสมาชิกออกบูธจำหน่ายให้แก่ผู้ที่เข้าร่วมงานรวมถึงการผลิตและแปรรูปเพิ่มมูลค่าจากผักสลัดเป็นสลัดโรลจำหน่ายเพื่อหาและสร้างรายได้ให้กับกลุ่มรวมถึงยังนำเสนอเรื่องราวของการส่งเสริมการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรในชุมชนโดยอธิบายถึงหลักสูตรและกระบวนการในการบริหารจัดการกลุ่มโดยกำหนดจัดกิจกรรมขึ้นที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวาหมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำ โดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ค่าอาหาร2 มื้อมื้อละ 70 บาทจำนวน 40 คน  5,600 บาท ค่าเบรคของว่างจำนวนสองมื้อ มื้อละ 30 บาท จำนวน 40 คน 2,400 บาท รวมถึงค่าเอกสารในแนะนำกระบวนการผลิตพักปลอดภัยของกลุ่มจำนวน 150 ชุดชุดละ 20 บาท  3,000 บาท

 

คณะกรรมการและสมาชิกจำนวน 40 คนเรียนรู้กระบวนการการจัดการในการรับรองนักท่องเที่ยว คณะกรรมการและสมาชิกจำนวน 40 คนมีบทบาทและหน้าที่ในการรับผิดชอบการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชนโดยผ่านกระบวนการการจัดการบริหารกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง คณะทำงานและสมาชิกจำนวน 40 คนเรียนรู้สร้างทักษะการออกบูธจำหน่ายสินค้าและการจัดการผลผลิตให้ตรงต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวรวมถึงการจัดการผลผลิตให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นและตรงต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวซึ่งสมาชิกร้อยละ 50 สามารถที่จะนำองค์ความรู้และทักษะไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและเห็นผลเป็นที่ประจักษ์ในกิจกรรมครั้งนี้

 

การส่งเสริมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์กระบวนการจัดตั้ง โรงเรียนเกษตรกร 16 ก.พ. 2566 16 ก.พ. 2566

 

จัดกิจกรรมการพัฒนาการกระบวนการการส่งเสริมการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรโดยสมาชิกกลุ่มอธิบายถึงกระบวนการทำงานในด้านต่างๆเช่น การผลิต การแปรรูป การตลาด การจัดการกลุ่มด้านการเงินการบัญชี โดยสมาชิกจำนวน 40 คนแ่งพื้นที่ ลงถ่ายทำออกเป็น 3 แปลงในการถ่ายทำได้แก่ 1 พื้นที่แปลงปลูกผักยกแคร่ พื้นทีโรงเรียนเกษตรกร พื้นที่แปลงเกษตรกรผักปลอดสาร โดยแบ่งตามบทบาทหน้าทีที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที สถานีNBT จังหวัดยะลา ในการถ่ายทำกิจกรรมสมาชิกเข้าร่วม 40 รายอีกทั้งจัดกระบวนการการถ่ายทอดการผลิตผักปลอดสารในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ ค่าอาหารเที่ยง 70 บาท * 40 คน* 2มื้อ เท่ากับ 5,600 บาท ค่าของว่าง 30 บาท จำนวน 2 มื้อ *40 คน เท่ากับ 2,400 บาท ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม ค่ามูลวัว 10 กระสอบ * 50 บาท เท่ากับ 500 บาท ค่าดินปุ๋ยหมัก 20 ถุง ถุงละ 35 บาท เท่ากับ 700 บาท ค่าต้นพันธ์ผักสลัด 3 ถาด ถาดละ 200 บาทเท่ากับ 600 บาท ค่าหัวชื้อจุลทรีย์กากน้ำตาล 10 ลิตริลิตรละ 50 บาท เท่ากับ 500 บาท เพื่อใช้ในกระบวนการถ่ายทำ ของหน่วยงาน NBT จังหวัดยะลา กิจกรรมถ่ายทำตั้งแต่ 09.00 - 18.30 น. การถ่ายทำ 3 รายการ

 

สมาชิกจำนวน 40 คน สามารถเรียนรู้ทักษะในการจัดทำสื่อถ่ายทอดกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้กลุ่มและชุมชน สมาชิก จำนวน40 คน  20 คน สามารถถ่ายทอดองค์ตวามรู้ในการผลิตและจัดการกระบวนการผลิตผักปลอดภัยในชุมชน สมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้เทคนิคในการถ่ายทอดผ่านสื่อ และบอกเล่าเรื่องราวชุมชนและพัฒนาสู่การทำตลาดสินค้าออนไลน์ เกิดการประชาสัมพันธ์กลุ่มและขยายตลาดผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ของสถานี NBT  เกิดกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการทำสื่อดิจิตอน

 

เปิดบัญชีธนารคาร 29 เม.ย. 2565 29 เม.ย. 2565

 

เปิดบัญชีธนารคาร

 

เปิดบัญชีธนารคาร

 

ดอกเบี้ยรับ 24 ก.ย. 2565 24 ก.ย. 2565

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ