directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยชุมชน บ้านหน้าถ้ำ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยชุมชน บ้านหน้าถ้ำ
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดยะลา ปี 2565
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 65-02-007
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นายสชาติ สถะบดี
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุชาติ สถะบดี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0805871763
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ ban.chart2@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางไอลดา เจะหะ
พื้นที่ดำเนินการ หน้าถ้ำ ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.527335,101.223822place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 40,000.00
2 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 50,000.00
3 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 10,000.00
4 0.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

  1. หลักการเหตุผล ความสําคัญของปัญหา การวิเคราะห์สถานการณ์ (โปรดระบุช.1 สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ สาเหตุของปัญหา โดยมีข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจน 1.2 แนวทางการ แก้ไขปัญหาที่จะเสนอในโครงการนี้ ควรใช้ทุนเดิม จุดแข็งที่มี มาช่วยหนุนเสริมการดําเนินงานโครงการ อย่างไร 1.3 แสดงให้เห็นว่าการดําเนินงานโครงการจะทําให้เกิดประโยชน์ต่อการสร้างเสริมสุขภาพของ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างไร เป้าหมายยุทธศาสตร์จังหวัดลดการนําเข้าผักจากนอกพื้นที่จังหวัดยะลา ส่วนเป้าหมาย สสส. 1)มี มูลค่าการจําหน่ายผักปลอดภัยต่อเดือน (บาท) 2)สมาชิกมีการบริโภคผักปลอดภัยอย่างน้อย 4 00 กรัมวัน ป้าหมายพื้นที่ดําเนินการจําแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1)กลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้นแบบคือสวนผักน ริสฟาร์มชุมชนบ้านลําใหม่ (ดําเนินการปี 2564) มีพื้นที่ขยายจํานวน 4 พื้นที่ได้แก่ พื้นที่ปลูกผักชุมชน หากบลบาจาะอําเภอบันนังสตาชุมชนปลูกผักบ้านเลส ตําบลกาลูปัง อําเภอยรามัน ชุมชน กลับหงสตาอําเภอบันนังสตาชุมชนปลูกผักบ้านบูด อําเภอเมืองยะลา 2 กลุ่มเกษตรกร แบบคือกลุ่มปลูกผักปลอดภัยบ้านตะโล้ะ ตําบลยะตะ อาเภอรามัน (ดําเนินการปี 2504 พินที่ ขยายเว555 จานวนพื้นที่ กล่าวคือ ชุมชนปลูกผักบ้านทุ่งเหรียง ตําบลยุโป อําเภอเมืองยะลา ขาปากบานคลองทรายใน ตาบลยุโป อําเภอเมืองยะลา ชุมชนปลูกผักบ้านหนัก ตําบลหน้า ก องยะลาชุมชนปลูกผักบ้านกาตอง ตําบลกาตอง อําเภอยะหา ชุมชนปลูกผักบ้านวังพญา ข อ รามันขมชนปลูกผักบ้านบาโงย ตําบลบาโงยอําเภอรามัน ชุมชน ปลูกผัก อง ลของงาเภอบันนังสตา ดีเราสอร่วมขับเคลื่อนประกอบด้วย สํานักงานเกษตรจังหวัดยะลา ด้วยการ สนับ ส ริมบายด้านเกษตร (ผักปลอดภัย) จัดสรรทรัพยากร สํานักงานสาธารณสุข จังหจองวงการรองการตลาดผลิตภัณฑ์ด้านผักปลอดภัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา ด้วยการตรวจประเมินมาตรฐาน GAP นอกจากนี้ยังมีภาคีร่วมปฏิบัติการ ได้แก่ สํานักงาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัดยะลา ด้วยการสนับสนุนด้านวิชาการองค์ความรู้ด้านการเกษตร สํานักงานสภาเกษตรจังหวัดยะลาด้วยการชี้เป้าหมาย (พื้นที่ ประสานการดําเนินงานสํานักงาน พาณิชย์จังหวัดยะลาด้วยการสนับสนุนการบริหารจัดการดอาดภาพรวม สํานักงานธ.ก.ส.จังหวัดยะลา ด้วยการสหปสการทอาการมากกว่า อาการสืบสวนด้วยการสนับสนเรื่องการตลาด ตําบลหน้าถ้าตําบลหน้าถ้าเป็นตําบลขนาดเล็ก มีพื้นที่ทั้งหมด 918 ตารางกิโลเมตร และห่างจากตัว มือง ยะลาเพียงปีลมหาประชากรหม วงงอน แบ่งเป็นชาย 2คนบละในพงศา คน ประชากรร้อยละ70 นับถือศาสนาพุทธาศัยอยู่ในบ้านหนองแลบ้านหน้าถ้าเหนือ และร้อยละ 30 นับ ถือศาสนาอิสลาม อาศัยอยู่ในบ้านบันนังลูวาและบ้านภูเบอีเต๊ะ (บาเต๊ะ มีมัสยิดจํานวนสามแห่งและวัดหนึ่ง แห่ง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มน้ําท่วมทุกปีซึ่งส่วนใหญ่ถูกใช้สําหรับเกษตรกรรมประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรทํานาปลูกแล และบางจากที่บานหกเหนือบางครอบครัวเก็บมูลค้างคาว ขายเป็นอาชีพเสริมด้วย สภาพ สภานจานสุดเกษตรกรกกราก การรวมกอนามของ คือ มีโครงสร้าง คณะกรรมการไม่ชัดเจนซึ่งการขับเคลื่อนงานส่วนใหญ่เป็นหน้าที่ของระธานกลุ่ม ไม่มีการสํารวจ ฐานการเพาะปลูกของกลุ่มเพื่อการวิเคราะหางแผนการดาเนินงานมีการติดตามผลการ ดําเนินงานไม่เป็นระบบมีการประชุมไม่สม่าเสมอของกรรมการการปลูกดาษพฤติกรรมการปลูก ไม่มีการวางแผนการการปลูกร่วมกันระหว่างกลุ่มเกษตรกรกับผู้บริโภคเพื่อให้ได้ผลผลิตที่สอดคล้อง กับความต้องการของผู้บริโภคและตลาดจะปลูกลักตกระแส ตามลมกันเป็นช่วง ๆ เช่นช่วงไหนแตงกวามีราคาที่เกษตรกรก็จะออกนางกาญ ห้ผสม สอนตลาดป็นล้นมีการใช้สารเคมี บางก่อนปลูก เช่นใช้ปุ๋ยยูเรียรองกันหอมบลูกกรงแกชื่อว่าจะให้ ไม่มีพื้นที่แปลงกลาง สําหรับเป็นพื้นที่เรียนรฝึกปฏิบัติการปลูกผักปลอดภัยด้านปัจจัยการผลิตอาหด้านๆความรู้ในกลุ่มจะมี หมอดินอาสาสมารกเป็นวิทยากถ่ายทอดความรู้เรื่องการโอพมหมวกพการทํากสารไล แมลง แต่ไม่มีการนําความรู้ที่ได้รับงบฏิบัติอย่างจริงจัง ไม่เห็นความสําคัญของการปลูก ปลอดภัยเนื่องจากผักที่ปลูกยังขายไม่ได้กี่ยวกับการปลูกผักมาตรฐาน gap เคยได้รับการสนับสนุนที่ดอน ส่งกลับจอดพักจากการที่ยของ เป็นครั้งคราวไม่ต่อเนื่อง เช่น การสนับสนุนปุ๋ยเมล็ดพันธ์ ความรู้เรื่องการทําปุ๋ยหมักน้ําหมักชีวภาพ จากเกษตรจังหวัดเป็นต้น กลไกการทํางาน กลไกภายในจะมีประธานกลุ่มทําหน้าที่ประสานระหว่าง ยะยาทุกวันอังคารแรกฎบบให้องจากการขายระยอง
    ยงาน เกี่ยวข้อง มีสมาชิกบางรายนํายอยอิตที่ได้ไปส่งขายมากที่ออกดอกตัวเมืององฐานคิดผู้บริโภค ผู้บริโภคจากตลาดในเมืองเข้าถึงผักปลอดภัยไม่ทั่วถึงเนื่องจากตลาดไม่มีอดสําหรับวางขายผัก ปลอดภัยที่ชัดเจน ประกอบกับปริมาณผักมีไม่เพียงพอกับความต้องการดังนั้น จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวกล่ลูกผักปลอดภัยชุมชนบ้านหน้าถจึงได้จัดทํา โครงการการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีความเข้มแข็ง และเกษตรกรสามารถผลิตและบริโภคผัก ปลอดภัยนอกจากปัญหาขององค์ความรู้การทําการเกษตรลแล้ว ถูกที่สําคัญอย่างยิ่งในชุมชนคือ เหล่งน้ําการเกษตรและสภาพดินโดยชุมชนไม่มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรที่ยัง สาธารหรือคลองของหมู่บ้านต่อยู่บนภูเขา ชมชนมีการดึงนาในประปาหมู่บ้านดอนหอเท่านั้น เนื่องจากแหล่งน้ํามีน้อย ต้องจํากัดในการใช้ ทําให้การทาการเกษตรของชุมชนที่มีอยชายต้อง ออะอยการต่อรองรับพฤติกรรมการบริโภคของชุมชนบ้านหน้าถ้ำ ส่วนใหญ่ซื้อผักจากท้องตลาด รถเร่ และร้านค้าใน หมู่บ้านมาบริโภคในครัวเรือน ไม่ได้มีการปลูกผักทุกครัวเรือน เพราะหาซื้อง่าย สะดวกในการจับจ่ายใช้สอย เนื่องจากในหมู่บ้านมีร้านค้าขายผักสด และรถเร่ จึงนิยมซื้อผักมาบริโภค ส่วนใหญ่จะปลูกไม้ผล เช่น มังคุล ละมุด ทุเรียนที่ไม่ต้องให้การดูแลบํารุงรักษา แต่ไม่ได้คํานึงถึงสาเหตุที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจากการบริโภคอาหาร ที่ไม่ถูกสุขลักษณะอาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ หรือปลอดภัย เพราะหาก เกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกําจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีจะทําให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่ จะหลีกเลี่ยง ที่สําคัญยังทําให้ดินเสื่อมสภาพ มีค่าใช้จ่ายที่แพงกว่าใช้ปุ๋ยจากธรรมชาติ ทั้งนี้ พบว่าเกษตรก พื้นที่มีความสนใจและต้องการปลูกพืชผักระยะสั้น เพื่อหาช่องทางเพิ่มรายได้จากการประสบปัญหาราคายางพาร การยานย น ตาบารากอน สามารถดําเนินการตามาตกประสงได้อธนบนออก การออกแบบ จัดการที่ดี การวางแผนการผลิตที่ดี เพื่อให้มีผลผลิตส่งตลาดได้อย่างต่อเนื่อง สําหรับแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้องค์ความรู้ ในพื้นที่ส่งเสริมาปลูกผักเพื่อบรีภอในออรือน การปลูกผักรับประทานเองผักอินทรีย์หรือนักบออดภัย โดยไม่ ใช้สารเคมีหรือใช้ในปริมาณที่ปลอดภัย และอดการซื้อผักจากรถเร่ และร้านค้าที่นําผักในตลาดมาขายในหมู่บ้านซึ่ง เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง เพื่อลดโรค และเป็นการ หันกลับมาดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในการป้องกันโรค และลดต้นทุนการผลิตเน้นในด้านการป้องกันโรค มากกว่าการกระทรกร ศรีนากระบวนการผลิตผักปลอดภัยสําศธาตุกาย ชกมวยการยธิต การมีอาการให้กรอบอลในด้านการตลาด มีอํานาจในการตั้งรกรากอนตอนออกกลาง ราคาได้ เพื่อเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน สร้างรายได้เสริม ให้เป็นรายได้หลักแทนยางพาราและ ให้เป็นพื้นที่แหล่งอาหารที่สําคัญของจังหวัดยะลา และควรให้เกษตรกรตระหนักถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตร งานถือนมีการรับปราการ ติของต่อเนื่อง ถูกวิธี และเหมาะสมตามที่กระถางบอนสําหรับในการบริหารงานบอกหมาะสมสําหรับพืชที่ต้องการ สกสะอาหารที่มีการรายงานด้วยการออกแบบรองเอากราก กินโจน ผลการตรกปีสอรมสาระการเรียนการนําไปสวิธีการหรือแนวทางการปรับปรุงบํารุงดินที่เหมาะสมต่อไป และก่อนการเพาะปลูกควรให้ แหล่งน้ํา เพื่อการเพาะปลูกเพื่อไม่ให้พืชผักยืนต้นตายได้ ดังนั้น เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ทักษะการปลูก โรงพยาบาลกลุ่มปลูกผักปลอดภัยชุมชนบ้านหน้าถจึงได้จัดทําโครงการ
stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ตามยุทธศาตร์จังหวัดยะลา ข้อที่3 พัฒนาคุณภาพชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ทักษะการปลูกและบริโภคผักที่ปลอดภัยมาตรฐานGAP

ผลลัพท์ฺที่ 1
1.1 มีโครงสร้างคณะกรรมหการและหน้าที่ที่ชัดเจน  1.2มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดรับรองมาตรฐานGAP 1.3มีทักษะการชักชวนสนันสนุนสมาชิกกลุ่มเชื่อมโยงเครื่อยข่ายการผลิต

80.00
2 2.เพื่อให้เกิดกลไกการตลาดผักปลอดภัยมาตรฐานGAPในชุมชนและโรงพยายบาล

มีการติดตามประเมินผลร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง 3.1คณะกรรมการร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามการผลิตผักปลอดภัยแผนการเปาะปลูกและแผนการผลิตตามความต้องการของชุนชน

70.00
3 เพื่อจัดการบริหารโครงการ

1.โครงการสามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ 2.การรายงานผลเป็นไปตามระยะที่กำหนด 3.แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพดำเนินการตามโครงการได้สำเร็จ

100.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เกษตรผู้ปลูกผัก 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66
1 กิจกรรม สสส.(1 เม.ย. 2565-1 เม.ย. 2565) 0.00                        
รวม 0.00
1 กิจกรรม สสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 3 105.99
29 เม.ย. 65 เปิดบัญชีธนารคาร 0 0.00 100.00
24 ก.ย. 65 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 4.83
25 มี.ค. 66 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 1.16
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 337 100,000.00 15 100,000.00
9 มิ.ย. 65 1.ประชุมคณะกรรมการสมาชิกและผู้ประสานงานชี้แงเป้าหมายขับเคลื่อนโครงการในทิศทางเดี่ยวกัน 30 5,800.00 5,800.00
22 ก.ค. 65 ร่วมเวทีติดตามแลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยงครั้งที่1 7 2,860.00 2,860.00
23 ส.ค. 65 3.มีการติดตามประเมิ นผลกับภาคีร่วมเวทีkickoff การปลูกผักปลอดภัย 30 3,900.00 3,900.00
26 ส.ค. 65 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและคณะกรรมการ 30 6,800.00 6,800.00
12 ก.ย. 65 2. พัฒนาศักยภาพสมชิกกลุ่มคณะทำงานผู้ประสานงานศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ 30 8,000.00 8,000.00
15 ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานวางแผนดำเนินงานข้อตกลงกติกาและกลุ่มสำรวจข้อมูล 12 3,000.00 3,000.00
22 ก.ย. 65 ตรวจแปลงร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่ในการตรวจแปลงมาตรฐานและรวบรวมข้อมูลการผลิตครั้งที่ 1 10 6,000.00 6,000.00
29 ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานตืดตามความก้าวหน้าระหว่างดำเนินการการกิจกรรม 20 3,900.00 3,900.00
10 ม.ค. 66 พัฒนาศักยภาพสามชิกกลุ่มผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผัก 30 10,570.00 10,570.00
15 ม.ค. 66 การปลูกผักในระยะปลอดภัยตามการรับรองมาตรฐาน 40 7,600.00 7,600.00
20 ม.ค. 66 ร่วมเวทีติดตามผลแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ 7 1,785.00 1,785.00
28 ม.ค. 66 ร่วมเวทีติดตามประเมินผลครั้งที่3 7 1,785.00 1,785.00
1 ก.พ. 66 ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน 30 16,700.00 16,700.00
9 ก.พ. 66 เวทีสรุปปิดโครงการ 50 11,000.00 11,000.00
16 ก.พ. 66 การส่งเสริมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์กระบวนการจัดตั้ง โรงเรียนเกษตรกร 4 10,300.00 10,300.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2565 10:11 น.