task_alt

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยชุมชน บ้านหน้าถ้ำ

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยชุมชน บ้านหน้าถ้ำ

ชุมชน หน้าถ้ำ ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 65-02-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาศักยภาพสามชิกกลุ่มผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผัก

วันที่ 10 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต output 1 สมาชิกจำนวน 40 รายที่ผ่านการอบรมสามารถฮอร์โมนใครและนมสดจำนวน 40 ขวด  2 สมาชิกร้อยละ 80 เผยแพร่องค์ความรู้ในการผลิตฮอร์โมนที่ใช้ในการบำรุงรักษาในการผลิตผักปลอดภัย  3 สมาชิกที่ผ่านการอบรม 40 รายนำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติในครัวเรือน4 สมาชิกที่ผ่านการอบรมจำนวน 40 รายเรียนรู้กระบวนการปรุงดินและนำไปใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าการอบรม 4 ผู้เข้าอบรมจำนวน 40 รายคิดเป็นร้อยละ 80 และอธิบายเผยแพร่ถึงกระบวนการผลิตผักปลอดภัยให้กับสมาชิกในชุมชนและนำไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน ผลลัพธ์ 1 เกิดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเรื่องของการผลิตผักปลอดภัย 2 เกิดกระบวนการเรียนรู้การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของครัวเรือนในการปลูกผักปลอดภัย 3 เกิดพื้นที่ปลอดภัยในเขตชุมชนในการลดการใช้สารเคมีจำนวน 2 แห่งหลังจากการเรียนรู้และอบรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรมให้ความรู้ความเข้าใจและการพัฒนาทักษะการเพาะปลูกแบบแก่การทำงานจำนวน 40 คนโดยมีวิทยากรจากสำนักงานพัฒนาที่ดินและปาดความมั่นคงของหน่วยงานกรมนโดยใช้พื้นที่โรงเรียนบ้านมะนางโรวาหมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำอำเภอเมืองจังหวัดยะลาในการจัดทำกิจกรรมเนื้อหาในการอบรมสมาชิกได้แก่ 1 การผลิตฮอร์โมนใครได้นมสดในการบำรุง 2 การอบรมเรื่องของการจัดการการปรุงดินและการจัดการแปลงปลูก 3 การอบรมเรื่องของการให้น้ำและการจัดการระบบน้ำในแปลงปลูกให้แก่สมาชิกจำนวน 40 คน โดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ค่าวิทยากร 2 คน* 3 ชั่วโมง* 600 บาทเท่ากับ 3,600 บาททหารกลางวันมื้อละ 70 บาทx 40 คน = 2800 บาทค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 30 บาทx 2 มื้อ* 40 คนเท่ากับ 2,400 บาทค่าเอกสารประกอบการประชุม 40 ชุดชุดละ 10 บาทเท่ากับ 400 บาทค่าอุปกรณ์การสาธิตการบำรุงทำปุ๋ยปุ๋ยคอกน้ำหมักกากน้ำตาลของกลุ่มจำนวน 3,000 บ

 

30 0

2. การปลูกผักในระยะปลอดภัยตามการรับรองมาตรฐาน

วันที่ 15 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต output 1 สมาชิกจำนวน 40 รายที่ผ่านการอบรมเรียนรู้ถึงกระบวนการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนมาประยุกต์ในการปรุงดินเพื่อผลิตผักปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ 2 สมาชิกที่เข้าอบรมจำนวน 40 คนเรียนรู้ถึงกระบวนการการจัดการและนำไปประโยชน์ไปใช้ในครัวเรือนเพื่อผลิตผักปลอดภัยบริโภคในครัวเรือน3 สมาชิก 40 คนที่ผ่านการอบรมนำองค์ความรู้จากการปรุงดินที่ผสมสำเร็จได้จำนวน 200 กิโลกรัมในจำนวนแปลงยกแค่ 3 แปลง ผลลัพธ์outcome 1 สมาชิกจำนวน 40 คนที่ผ่านการอบรมร้อยละ 80 นำวงความรู้มาใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกผักปลอดภัยในครัวเรือน 2 ผู้ผ่านการอบรมได้เกิดกระบวนการผลิตและจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่ในรอบๆครัวเรือนนำมาใช้ประโยชน์ในการปรุงดินปลูกพืชผักภายในครัวเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล3 สมาชิกร้อยละ 80 ของผู้เข้าการอบรมจำนวน 40 คนสามารถเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องของการปรุงดินการผลิตผักปลอดภัยให้กับสมาชิกในครัวเรือนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ4 สมาชิก20% ได้ผ่านการคัดเลือกเป็นวิทยากรประจำกลุ่มในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการปรุงดินและเป็นต้นแบบให้กับสมาชิกภายในกลุ่ม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาการเพาะปลูกผักแบบมืออาชีพตามแบบการเพาะปลูกผักไรสารเคมีแบบมาตรฐาน gap เป้าหมายสมาชิกจำนวน 40 คนจัดอบรมที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวาหมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองจังหวัดยะลา เรียนรู้การปรุงดินให้เหมาะสมกับสภาพพืชและการลดใช้สารเคมีในการเตรียมแปลง 2 การจัดการพื้นที่ปลูกให้เหมาะสมก็รองรับมาตรฐาน การปลูกผักปลอดภัย ให้กับสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คนเรียนรู้ถึงกระบวนการปรุงดินและการจัดการพื้นที่อย่างปลอดภัยในการเพาะปลูกผักปลอดสารพิษโดยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน 1 การเรียนรู้เชิงทฤษฎี 2 การเรียนรู้เชิงปฏิบัติและลงมือทำในการปรุงดินและปลูกผักยกแคร่โดยมีรายละเอียดและค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ 1 ค่าอาหารกลางวันมื้อละ 70 บาทx 40 คนเท่ากับ 2,800 บาท 2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 30 บาท 2 มื้อ 60 บาทxด้วย 40 คน = 2,400 บาทค่าเอกสารการประกอบการประชุม 40 ชุด10 บาทเท่ากับ 400 บาทค่าอุปกรณ์การสาธิตการทำ 2,000 บาท (ปุ๋ยคอก กากมะพร้าว)

 

40 0

3. ร่วมเวทีติดตามผลแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกจำนวน 15 คนรับรู้เรื่องราวของการทำงานและการขับเคลื่อนตามบันไดผลลัพธ์ของกิจกรรม  สมาชิกจำนวน 15 คนอธิบายถึงผลการทำงานตามบันไดผลลัพธ์และแนวทางในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งให้สมาชิกเห็นถึงกระบวนการทำงานและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคได้อย่างรวดเร็วและตรงไปตามแนวทางในการขับเคลื่อนงานโดยคิดเป็นร้อยละ 50 ของจำนวนสมาชิก 15 คนสามารถแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างทันท่วงทีตามกระบวนการและแนวทางของโครงการสมาชิกจำนวน 15 คนเกิดความต้องการที่จะมีการจัดการประชุมทุกๆสัปดาห์เพื่อสรุปแนวทางในการทำงานที่เกิดขึ้นในแต่ละสัปดาห์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมประชุมสมาชิกจำนวน 15 คนเข้าร่วมโดยมุ่งเน้นกลุ่มคณะบริหารในการปรึกษาหารือและชี้แจงผลการดำเนินงานของกลุ่มหลังจากที่ได้รับการอบรมและออกแนวทางถึงการขับเคลื่อนและผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยให้สมาชิกของกลุ่มชี้แจงแนวทางการทำงานและปัญหาอุปสรรครวมถึงแนวทางการแก้ไขของแต่ละคนแต่ละฝ่ายเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนากิจกรรมจัดขึ้นที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวา หมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำโดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1 ค่าอาหารเที่ยง70 บาท x 17 คน เท่ากับ 1,190 บาท ค่าเบรคอาหารว่าง 35 บาท x 17 คน เท่ากับ 595 บาท

 

7 0

4. ร่วมเวทีติดตามประเมินผลครั้งที่3

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกจำนวน 15 คนรับรู้เรื่องราวของการทำงานและการขับเคลื่อนตามบันไดผลลัพธ์ของกิจกรรม  สมาชิกจำนวน 15 คนอธิบายถึ'การประเมินผลของแกนนำและพี่เลี้ยงกับสมาชิกในแนวทางการขับเคลื่อนงานโรงเรียนเกษตรกรโดยแบ่งบทบาทหน้าที่วิทยากรประจำกลุ่มตามฐานต่างๆไว้และติดตามผลสรุปร้อยละ 50 สามารถอธิบายและเผยแพร่กระบวนการทำงานของกลุ่มและสามารถอธิบายถึงการจัดการทำฮอร์โมนที่ใช้ในการผลิตผักปลอดภัยได้อย่างถูกต้องและน่าสนใจผลการทำงานตามบันไดผลลัพธ์และแนวทางในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งให้สมาชิกเห็นถึงกระบวนการทำงานและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคได้อย่างรวดเร็วและตรงไปตามแนวทางในการขับเคลื่อนงานโดยคิดเป็นร้อยละ 50 ของจำนวนสมาชิก 15 คนสามารถแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างทันท่วงทีตามกระบวนการและแนวทางของโครงการสมาชิกจำนวน 15 คนเกิดความต้องการที่จะมีการจัดการประชุมทุกๆสัปดาห์เพื่อสรุปแนวทางในการทำงานที่เกิดขึ้นในแต่ละสัปดาห์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมประชุมสมาชิกจำนวน 15 คนเข้าร่วมโดยมุ่งเน้นกลุ่มคณะบริหารในการปรึกษาหารือและชี้แจงผลการดำเนินงานของกลุ่มโดยพี่เลี้ยงสสสเข้ามากำกับในการบอกแนวทางการทำงานที่ประกอบกับผลการดำเนินงานและร่วมสรุปแนวทางในการดำเนินงานโดยให้แนวทางและข้อเสนอแนะในแต่ละกิจกรรมหลังจากที่ได้รับการอบรมและออกแนวทางถึงการขับเคลื่อนและผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยให้สมาชิกของกลุ่มชี้แจงแนวทางการทำงานและปัญหาอุปสรรครวมถึงแนวทางการแก้ไขของแต่ละคนแต่ละฝ่ายเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนากิจกรรมจัดขึ้นที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวา หมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำโดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1 ค่าอาหารเที่ยง70 บาท x  17 คน เท่ากับ 1,190 บาท  คนค่าเบรคอาหารว่าง 35 บาท  x 17 คน 595 บาท

 

7 0

5. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่ได้รับคณะกรรมการ 15 คนและคณะทำงานได้เรียนรู้ถึงกระบวนการการจัดการกลุ่มแบบมืออาชีพพนักงาน 15 คนได้เรียนรู้ถึงกระบวนการการจัดการกลุ่มในมิติต่างๆเช่นการบริหารการจัดการเรื่องของทรัพยากร 2 การจัดการบริหารการจัดการเรื่องของการเงินและการบริหารการจัดการสมาชิกในกลุ่มสมาชิกและคณะทำงานสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้บริหารจัดการกลุ่มโดยคิดเป็นร้อยละ 70 ของสมาชิกสามารถที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้และมีทักษะในการบริหารจัดการกลุ่มในมิติต่างๆเช่นการบริหารจัดการแปลงปลูกและปริมาณในการเพาะปลูกรวมถึงสมาชิกมีทักษะในการบริหารการจัดการในเรื่องบัญชีกลุ่มและระบบการเงินของกลุ่7

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมอบรมประชุมกรรมการคณะทำงานและผู้ประสานสรุปผลการดำเนินงานโดยจัดเวทีในการส่งเสริมและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้นอกสถานที่กับคณะกรรมการและคณะทำงานผู้ประสานที่อำเภอสายบุรีจังหวัดปัตตานีจำนวน 2 วัน 1 คืนโดยมีการศึกษาแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครือข่ายในการวางแผนเรื่องของการตลาดรวมถึงการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนคณะทำงานและผู้ประสานรวมถึงคณะกรรมการในการขับเคลื่อนแผนการพัฒนาและส่งเสริมการเพาะปลูกผักปลอดภัยโดยมีการชี้แจงของคณะทำงานคณะกรรมการและผู้ประสานถึงแนวทางในความกรอบการพัฒนาและส่งเสริมให้แก่สมาชิกรวมถึงการจัดเก็บรายได้และปัญหาอุปสรรคในการแก้ไขโดยมีการศึกษาดูงานที่ solar farm อำเภอสายบุรีในการวางเครือข่ายการตลาดและการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชนจากกลุ่มผู้ประกอบการอำเภอสายบุรีโดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ ค่าอาหาร6 มื้อ จำนวน 17 คนมื้อละ 70 บาท 7,140 บาท เบรคของว่างจำนวน 6 มื้อมื้อละ 30 บาทจำนวน 17 คน 3,060 บาท ค่าอุปกรณ์การอบรม 17ชุด ชุดละ 50 บาท 2 วัน ใช้ในการอบรมสาธิตในกิจกรรม 1,700 บาท ค่าวิทยากร 1คน วันละ 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 วัน 4,800 บาท

 

30 0

6. เวทีสรุปปิดโครงการ

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะกรรมการและสมาชิกจำนวน 40 คนเรียนรู้กระบวนการการจัดการในการรับรองนักท่องเที่ยว คณะกรรมการและสมาชิกจำนวน 40 คนมีบทบาทและหน้าที่ในการรับผิดชอบการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชนโดยผ่านกระบวนการการจัดการบริหารกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง คณะทำงานและสมาชิกจำนวน 40 คนเรียนรู้สร้างทักษะการออกบูธจำหน่ายสินค้าและการจัดการผลผลิตให้ตรงต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวรวมถึงการจัดการผลผลิตให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นและตรงต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวซึ่งสมาชิกร้อยละ 50 สามารถที่จะนำองค์ความรู้และทักษะไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและเห็นผลเป็นที่ประจักษ์ในกิจกรรมครั้งนี้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานและผู้ประสานรวมถึงสมาชิกจำนวน 40 คนเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาและถอดบทเรียนร่วมกับนักเรียนพลเมืองจำนวน 100 คนเข้าศึกษาเรียนรู้ชุมชนต้นแบบในการบริหารจัดการกลุ่มโดยสมาชิกกลุ่มและคณะกรรมการร่วมกันจัดสถานที่และออกแบบในการต้อนรับรวมถึงการออกบูธจำหน่ายสินค้าผักปลอดภัยโดยเป็นการจำลองตลาดมีการจัดเก็บพักปลอดภัยของกลุ่มสมาชิกออกบูธจำหน่ายให้แก่ผู้ที่เข้าร่วมงานรวมถึงการผลิตและแปรรูปเพิ่มมูลค่าจากผักสลัดเป็นสลัดโรลจำหน่ายเพื่อหาและสร้างรายได้ให้กับกลุ่มรวมถึงยังนำเสนอเรื่องราวของการส่งเสริมการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรในชุมชนโดยอธิบายถึงหลักสูตรและกระบวนการในการบริหารจัดการกลุ่มโดยกำหนดจัดกิจกรรมขึ้นที่โรงเรียนบ้านบันนังลูวาหมู่ 2 ตำบลหน้าถ้ำ โดยมีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ค่าอาหาร2 มื้อมื้อละ 70 บาทจำนวน 40 คน  5,600 บาท ค่าเบรคของว่างจำนวนสองมื้อ มื้อละ 30 บาท จำนวน 40 คน 2,400 บาท รวมถึงค่าเอกสารในแนะนำกระบวนการผลิตพักปลอดภัยของกลุ่มจำนวน 150 ชุดชุดละ 20 บาท  3,000 บาท

 

50 0

7. การส่งเสริมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์กระบวนการจัดตั้ง โรงเรียนเกษตรกร

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกจำนวน 40 คน สามารถเรียนรู้ทักษะในการจัดทำสื่อถ่ายทอดกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้กลุ่มและชุมชน สมาชิก จำนวน40 คน  20 คน สามารถถ่ายทอดองค์ตวามรู้ในการผลิตและจัดการกระบวนการผลิตผักปลอดภัยในชุมชน สมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้เทคนิคในการถ่ายทอดผ่านสื่อ และบอกเล่าเรื่องราวชุมชนและพัฒนาสู่การทำตลาดสินค้าออนไลน์ เกิดการประชาสัมพันธ์กลุ่มและขยายตลาดผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ของสถานี NBT  เกิดกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการทำสื่อดิจิตอน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมการพัฒนาการกระบวนการการส่งเสริมการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรโดยสมาชิกกลุ่มอธิบายถึงกระบวนการทำงานในด้านต่างๆเช่น การผลิต การแปรรูป การตลาด การจัดการกลุ่มด้านการเงินการบัญชี โดยสมาชิกจำนวน 40 คนแ่งพื้นที่ ลงถ่ายทำออกเป็น 3 แปลงในการถ่ายทำได้แก่ 1 พื้นที่แปลงปลูกผักยกแคร่ พื้นทีโรงเรียนเกษตรกร พื้นที่แปลงเกษตรกรผักปลอดสาร โดยแบ่งตามบทบาทหน้าทีที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที สถานีNBT จังหวัดยะลา ในการถ่ายทำกิจกรรมสมาชิกเข้าร่วม 40 รายอีกทั้งจัดกระบวนการการถ่ายทอดการผลิตผักปลอดสารในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ ค่าอาหารเที่ยง 70 บาท * 40 คน* 2มื้อ เท่ากับ 5,600 บาท ค่าของว่าง 30 บาท จำนวน 2 มื้อ *40 คน เท่ากับ 2,400 บาท ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม ค่ามูลวัว 10 กระสอบ * 50 บาท เท่ากับ 500 บาท ค่าดินปุ๋ยหมัก 20 ถุง ถุงละ 35 บาท เท่ากับ 700 บาท ค่าต้นพันธ์ผักสลัด 3 ถาด ถาดละ 200 บาทเท่ากับ 600 บาท ค่าหัวชื้อจุลทรีย์กากน้ำตาล 10 ลิตริลิตรละ 50 บาท เท่ากับ 500 บาท เพื่อใช้ในกระบวนการถ่ายทำ ของหน่วยงาน NBT จังหวัดยะลา กิจกรรมถ่ายทำตั้งแต่ 09.00 - 18.30 น. การถ่ายทำ 3 รายการ

 

4 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 18 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 100,104.83                  
คุณภาพกิจกรรม 68                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ดอกเบี้ยรับ ( 25 มี.ค. 2566 )

(................................)
นายสุชาติ สถะบดี
ผู้รับผิดชอบโครงการ