directions_run

ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ตำบลวังพญา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ตำบลวังพญา
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 65-02-009
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบ๊ะห์รน หามิ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายสมาน หะยีสะมะแอ
พื้นที่ดำเนินการ ม.3 ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.564052,101.405421place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 40,000.00
2 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 50,000.00
3 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 10,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลวังพญา เป็นตำบล 1 ใน 16 ตำบล ที่อยู่ในเขตปกครองของอำเภอรามัน จังหวัดยะลา มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านปากาซาแม หมู่ที่ 2 บ้านโต๊ะปาแกะ หมู่ที่ 3 บ้านตาลาแน หมู่ที่ 4 บ้านอูเปาะ หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะจือฆา หมู่ 6 หัวควน หมู่ 7 บาโงบองอ ตำบลวังพญา ตำบลวังพญามี ประชากร ทั้งสิ้น 8,093 คน แยกเป็นชาย 4,384 คน หญิง 3,709 คน นับถือศาสนาอิสลาม 97% นับถือศาสนา พุทธ 3% จ านวน 2,125 ครัวเรือนสภาพภูมิอากาศเป็นลักษณะร้อนชื้น ฝนตกเกือบตลอดปี มี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน ช่วงเดือน พฤษภาคม - มกราคม และฤดูร้อน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ - เมษายน บริเวณที่มีประชากรอยู่หนาแน่น ที่สุด ได้แก่ชุมชนบ้านโต๊ะปาแก๊ะ หมู่ที่ 2 มีประชาการ จำนวน 1,625 คน และครัวเรือน 442 ครัวเรือน การตั้ง ถิ่นฐานส่วนใหญ่มีลักษณะแบบสังคมชนบททั่วไป และจะกระจายไปตามพื้นที่เกษตรกรรม มีสภาพแวดล้อมแบบ ชนบทที่ยังไม่มีผลกระทบจากมลพิษต่างๆ โดยมีศาสนสถาน คือมัสยิดเป็นศูนย์กลาง วัฒนธรรมประเพณีมี เอกลักษณ์เฉพาะด้านศาสนาอิสลามและศาสนาพุธร พูดภาษามลายูประชากรต าบลวังพญา ส่วนใหญ่มีการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ยางพารา นาข้าว และการประมง(หาปลา) ประมาณร้อยละ 75 รองลงมาได้แก่อาชีพ รับจ้าง ประมาณร้อยละ 17 และค้าขาย รับราชการ ประมาณร้อยละ 8 ตำบลวังพญา ห่างจากที่ว่าการอ าเภอ เมืองยะลาประมาณ 13 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 63.13 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 39,456.25 ไร่ สภาพพื้นที่ต าบลวังพญาส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม บางพื้นที่เป็นที่ราบและเนินเขาดินเตี้ยๆ จึงเหมาะสมแก่การท า การเกษตร ทั้งประเภท การท านาข้าว การท าสวนยางพารา และสวนผลไม้ โดยพื้นที่ต าบลวังพญา ไม่อยู่ในเขตป่า สงวนแห่งชาติ หรือเขตหวงห้ามตามประกาศกรมป่าไม้ และมีแหล่งน้ าธรรมชาติ จึงเป็นประโยชน์ต่อการท า การเกษตรของราษฎร ระบบประปาเป็นระบบของชุมชน และราษฎรบางส่วนอาศัยบ่อน้ าตื้นและบ่อบาดาลที่ขุด ขึ้นใช้เองภายในครัวเรือน
ส าหรับพื้นที่บ้านตาลาแน หมู่ที่ 3 มีประชากรจ านวนทั้งสิ้น 1,013 คน จ านวน 277 ครัวเรือน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว ประกอบด้วย ยางพารา นาข้าว และสวนไม้ผล ซึ่งหลังจาก การกรีดยางหรือท านาของคนในพื้นที่แล้ว บางครัวเรือนปลูกผักเพื่อไว้บริโภคเอง หากเหลือจากการบริโภคก็จะ น าไปขาย ผักที่นิยมปลูกจะเป็นผักพื้นบ้าน ผักตามฤดูกาล เช่น ถั่วฝักยาว มะระ บวบ แตงกวา พริก ข้าวโพด แตงโม ผักบุ้ง ฝักทอง เป็นต้น เกษตรกร 44% มีการค านึงถึงสภาพแวดล้อม รักษาสมดุลของธรรมชาติ เน้นการ ใช้วัสดุอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ แต่ยังพบว่าเกษตรกร อีก 20 % มีการ ใช้สารเคมี เนื่องจากยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และมีความเชื่อว่าหากมีการใช้ปุ๋ยเคมีผสมร่วมกับปุ๋ยคอก จะเร่งให้ พืชโตเร็ว แข็งแรง และผักมีความสวยงามและสาเหตุของการใช้ปุ๋ยเคมีพบว่า เกษตรกรสามารถหาซื้อได้ง่ายใน ชุมชนและง่ายต่อการดูแล
นอกจากปัญหาขององค์ความรู้การท าการเกษตรแล้ว พบว่า ปัญหาที่ส าคัญอย่างยิ่งในชุมชน คือ แหล่งน้ าการเกษตรและสภาพดิน โดยชุมชนมีแหล่งน้ าเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน มีแหล่งน้ าธรรมชาติ ซึ่งเป็นสระ ขนาดใหญ่ส าหรับสูบน้ าเพื่อท าการเกษตรอย่างเพียงพอ แต่ส าหรับอุปโภคนั้นแหล่งน้ าจากการขุดบ่อบาดาล ต้อง ท าให้การท าการเกษตรของชุมชนที่นี้มีน้ าเพียงพอส าหรับท าการเกษตรตลอดทั้งปี เกษตรกรยังขาดความรู้ ไม่มี
การปรับปรุงหน้าดินก่อนท าการเพาะปลูกท าให้พืชเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที และปัญหาศัตรูพืช ซึ่งเกษตรกรไม่ใช้ สารเคมีในการก าจัดศัตรูพืช ท าให้ประสบปัญหาด้านศัตรูพืชรุกรานแปลงเกษตร
5
พฤติกรรมการบริโภคของชุมชนบ้านตาลาแน ส่วนใหญ่ซื้อผักจากท้องตลาด รถเร่ และร้านค้าใน หมู่บ้านมาบริโภคในครัวเรือน ไม่ได้มีการปลูกผักทุกครัวเรือน เพราะหาซื้อง่าย สะดวกในการจับจ่ายใช้สอย เนื่องจากในหมู่บ้านมีร้านค้าขายผักสด และรถเร่ จึงนิยมซื้อผักมาบริโภค ส่วนใหญ่จะปลูกพืชสมุนไพร เช่น ขมิ้น ขิง ข่า ตะไคร้ที่ไม่ต้องให้การดูแลบ ารุงรักษาแต่ไม่ได้ค านึงถึงสาเหตุที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจากการบริโภค อาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ หรือปลอดภัย เพราะ หากเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารก าจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีจะท าให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่าง ยากที่จะหลีกเลี่ยง ที่ส าคัญยังท าให้ดินเสื่อมสภาพ มีค่าใช้จ่ายที่แพงกว่าใช้ปุ๋ยจากธรรมชาติ ทั้งนี้ พบว่าเกษตรกร ในพื้นที่ มีความสนใจและต้องการปลูกพืชผักระยะสั้น เพื่อหาช่องทางเพิ่มรายได้จากการประสบปัญหาราคา ยางพาราตกต่ า มีการรวมกลุ่มแต่ไม่สามารถด าเนินการตามวัถตุประสงค์ได้จริง เนื่องจากขาดกระบวนการจัดการ ที่ดี การวางแผนการผลิตที่ดี เพื่อให้มีผลผลิตส่งตลาดได้อย่างต่อเนื่อง
ทั้งนี้ในพื้นที่จะมีต้นทุนเดิมที่สามารถขับเคลื่อนการด าเนินงานโครงการ ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้านที่มา ให้ความรู้ ในการปลูกผัก นอกจากนั้นยังมีหมอดินอาสาในหมู่บ้านที่มาให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักและการ เตรียมดิน และจะมีกลุ่มเกษตรกรปลูกผักเดิมอยู่ในพื้นที่
ดังนั้น แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้องค์ความรู้แก่ ประชาชนในพื้นที่ส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองผักอินทรีย์หรือผัก ปลอดภัย โดยไม่ใช้สารเคมีหรือใช้ในปริมาณที่ปลอดภัย และลดการซื้อผักจากรถเร่ และร้านค้าที่น าผักในตลาด มาขายในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง เพื่อลดโรค และเป็นการให้ชุมชนหันกลับมาด าเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในการป้องกันโรค และลดต้นทุนการผลิต เน้นในด้านการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา ทั้งนี้ ให้เกษตรกรได้เรียนรู้กระบวนการผลิตผักปลอดภัยสู่ตลาด ภายนอก เรียนรู้การวางแผนการผลิต การจัดการที่ดี ที่ครอบคลุมถึงด้านการตลาด มีอ านาจในการตั้งราคาเอง โดยไม่ให้พ่อค้าคนกลางกดราคาได้ เพื่อเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน สร้างรายได้เสริม ให้เป็น รายได้หลักแทนยางพาราและให้เป็นพื้นที่แหล่งอาหารที่ส าคัญของจังหวัดยะลา และควรให้เกษตรกรตระหนักถึง การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตร จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดินอย่างต่อเนื่อง ถูกวิธี และเหมาะสมตาม ลักษณะและคุณสมบัติของดิน ส าหรับดินทั่วๆไป การปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อให้เหมาะสมส าหรับพืชที่ต้องการปลูก และสภาพพื้นที่ปลูก ควรเริ่มต้นด้วยการตรวจสอบคุณสมบัติของดินและการวิเคราะห์ดิน ทั้งนี้ ผลการตรวจสอบ และการวิเคราะห์ดินดังกล่าวจะน าไปสู่วิธีการหรือแนวทางการปรับปรุงบ ารุงดินที่เหมาะสมต่อไป และก่อนการ เพาะปลูกควรให้เกษตรกรเตรียมแหล่งน้ า เพื่อการเพาะปลูกเพื่อไม่ให้พืชผักยืนต้นตายได้

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

สอดคล้องกับยุทธ์ศาสตร์จังหวัดยะลา ข้อที่ 3 ประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลุ่มเกษตรที่เข้มแข็ง

ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคณะกรรมการ และหน้าที่ ชัดเจน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะ ความรู้ การวางแผนการผลิต ตามความต้องการของตลาด การรับรองมาตรฐาน(GAP) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีทักษะสามารถชักชวนสนับสนุน สมาชิกกลุ่ม เชื่อมโยงเครือข่าย การผลิต การรับรอง มาตรฐาน และการตลาด
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.4 คณะกรรมการ มีทักษะสามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้การปลูกและการผลิตผักปลอดภัย ให้กับสมาชิกใหม่ได้
ผลลัพธ์ที่ 2 มีกลุ่มเกษตรที่เข็มแข็ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์2.1 มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกใหม่ และเดิม มีความรู้การปลูก ผักปลอดภัย โดยมีภาคีเครือข่ายหนุนเสริมและก ากับ ติดตาม
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดการเชื่อมภาคีเครือข่าย ในการ หนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัย การผลิตภัยตาม ความต้องการของตลาด และมาตรฐานGAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่เป็นความต้องการ (ซื้อ) มา จากนอกพื้นที่
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาด ทั้งใน – นอก พื้นที่ที่ต้อง น าเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต สมาชิกใหม่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 มีกติกากลุ่ม
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.8 สามารถจัดตั้งวิสาหกิจ
ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคี อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้อง มีการติดตามในเรื่องการผลิต ผักปลอดภัยตามแผนการ ปลูกและแผนการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้ง การรับรองมาตรฐาน GAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผัก ปลอดภัย ตามแผนการผลิตและแผนความต้องการของ ตลาด
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 เกิดโรงเรียนเกษตรกร ที่ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หนุนเสริมและสนับสนุน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.4 มีแผนการจัดส่งผักปลอดภัย เข้าตลาด ของโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.5 มีแผนการการจัดท ากับผู้รับซื้อผลผลิต ของกลุ่ม และร่วมกับ รพ. ในการส่งผัก

100.00
2 2. เพื่อให้การผลิตผักได้มาตรฐาน GAP

ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรอง มาตรฐาน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัย ได้ตามแผน ความต้องการของตลาด
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการได้รับการรองรับ มาตรฐานGAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนการเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิต ผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 มีเกษตรกรต้อนแบบที่สามารถเป็น วิทยากร
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.5 โรงเรียนเกษตรกร มีการรับผลผลิตจาก สมาชิก เพื่อส่ง รพ. หรือ ตลาดภายนอก
ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าการขายผักปลอดภัยที่ผ่าน มาตรฐานGAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย ตลาดในชุมชน ตลาดนอกชุมชนและโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.3 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผัก ปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน

100.00
3 3. เพื่อการบริหารการจัดการโครงการ
  1. โครงการสามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. การรายงานผล ผลการดำเนินงานทันเวลาในระยะที่กำหนด
  3. แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้สำเร็จ
100.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 532.66
28 เม.ย. 65 เปิดบัญชี ธกส. 0 0.00 500.00
25 มี.ค. 66 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 32.66
2 เม.ย. 65 เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 3 600.00 600.00
43 10,000.00 11 10,016.13
5 พ.ค. 65 ปฐมนิเทศโครงการ 3 600.00 600.00
21 พ.ค. 65 เวทีการเรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบฯ 3 600.00 600.00
9 มิ.ย. 65 เปิดตัวโครงการ 20 2,720.00 2,720.00
16 มิ.ย. 65 ทำป้ายไวนิลโครงการและปลอดบุหรี่ 1 1,000.00 1,000.00
1 ส.ค. 65 - 1 มี.ค. 66 จัดทำรายงานออนไลน์ 1 2,000.00 2,000.00
17 ก.ย. 65 ร่วมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1 3 600.00 600.00
24 ก.ย. 65 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 16.13
22 ต.ค. 65 เวทีติดตามรายงานผลลัพธ์โครงการย่อย 3 600.00 600.00
6 พ.ย. 65 กิจกรรมการจัดทำสื่อสาร 3 680.00 680.00
4 ก.พ. 66 เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ (ARE Node) ครั้งที่ 2 3 600.00 600.00
2 พ.ค. 65 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1 10 1,500.00 1,500.00
134 21,400.00 10 21,400.00
8 พ.ค. 65 เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการ 40 คน 40 800.00 800.00
28 พ.ค. 65 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ เรื่อง มาตรฐาน GAP, เพิ่มทักษะ การผลิต การจัดการแปลง, การท าบัญชีครัวเรือน, การเชื่อมโยง ตลาด 14 6,200.00 6,200.00
1 มิ.ย. 65 . เวทีติตามการปลูก 1 เดือน/ครั้ง 12 ครั้ง/ป 10 3,600.00 3,600.00
6 มิ.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 10 1,500.00 1,500.00
12 มิ.ย. 65 เวทีออกแบบการเก็บข้อมูล 10 1,800.00 1,800.00
28 ก.ค. 65 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3 10 1,500.00 1,500.00
5 พ.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4 10 1,500.00 1,500.00
2 ม.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5 10 1,500.00 1,500.00
27 ก.พ. 66 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 6 10 1,500.00 1,500.00
13 มิ.ย. 65 กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 40 9,600.00 9,600.00
130 33,000.00 4 33,000.00
16 มิ.ย. 65 เวทีจัดทาแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม ปฏิทินการผลิต สอดคล้องกับตลาด , แผนการรับรอง GAP , แผนการพัฒนากลุ่ม , แผนการตลาด 40 9,600.00 9,600.00
18 มิ.ย. 65 เวทีการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อ ปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP 10 4,200.00 4,200.00
20 มิ.ย. 65 เวทีพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม จัดทาแผนการบริหารจัดการ , ข้อตกลง กฎกติกากลุ่ม , การจดบันทึกข้อมูล (การผลิต , การทาบัญชีครัวเรือน , การบริโภค) 40 9,600.00 9,600.00
12 ก.ย. 65 เวทีติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE) ครั้งที่ 1 30 3,000.00 3,000.00
110 13,400.00 3 13,400.00
18 ธ.ค. 65 กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 40 5,200.00 5,200.00
9 ม.ค. 66 กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” 40 5,200.00 5,200.00
18 ต.ค. 65 ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 40 3,000.00 3,000.00
80 12,600.00 2 12,600.00
19 ธ.ค. 65 เวทีการติดตามผลการผลิตผักปลอดภัย 40 9,600.00 9,600.00
26 ม.ค. 66 เวทีการสื่อสารและการขยายผล 0 600.00 600.00
70 9,600.00 3 9,600.00
12 ก.พ. 66 ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 30 3,000.00 3,000.00
28 ก.พ. 66 เวทีสรุปปิดโครงการ 40 6,000.00 6,000.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2565 10:16 น.