directions_run

ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิดและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน บ้านทุ่งเหรียง

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 21 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ครั้งที่ 2 เดือน กรกฎาคม 5 ก.ค. 2565 5 ก.ค. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่มประจำเดือนกรกฎาคม 2565

 

-

 

ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ครั้งที่ 3 เดือน กันยายน 6 ก.ย. 2565 6 ก.ย. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ประจำเดือนกันยายน 2565 จำนวน 10 คน

 

-

 

ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ครั้งที่ 4 เดือน พฤศจิกายน 23 พ.ย. 2565 23 พ.ย. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการ ประจำเดือน พฤศจิกายน 2565 จำนวน 10 คน

 

ประชุมรายการดำเนินงานของ โครงการผักปลอดภัย บ้านทุ่งเหรียง หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป

 

ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE) 6 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ครั้งที่ 5 เดือน มกราคม 21 ม.ค. 2566 21 ม.ค. 2566

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ประจำเดือน มกราคม ครั้งที่ 5 ณ ที่ทำการกลุ่ม บ้านสวนเกษตร หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม เพื่อติดตามการดำเนินงานของกิจกรรม และกำหนดการจัดกิจกรรมในรอบต่อไป ผู้เข้าร่วมคณะกรรมจำนวน 10 คน

 

ค่าตอบแทนจัดทำรายงานเอกสารและคีย์ข้อมูลในระบบ 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

รายงานข้อมูลการขับเคลื่อนงานในระบบ เช่น อัปโหลดรูปภาพกิจกรรม รูปภาพเอกสารการเงิน

 

ผลผลิต ผู้รับผิดชอบรายงานในระบบ  1 คน
ผลลัพธ์ ข้อมูลรายงานการขับเคลื่อนงานปรากฏในระบบ

 

ป้ายไวนิลโครงการฯ 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

ป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน บ้านทุ่งเหรียง

 

ผลผลิต ป้ายไวนิลโครงการฯ จำนวน 1 แผ่น

 

ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน มีนาคม ครั้งที่ 6 18 มี.ค. 2566 18 มี.ค. 2566

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ประจำเดือน มีนาคม  ครั้งที่ 6 ณ ที่ทำการกลุ่ม บ้านสวนเกษตร หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม เพื่อติดตามการดำเนินงานของกิจกรรม และกำหนดการจัดกิจกรรมในรอบต่อไป ผู้เข้าร่วมคณะกรรมจำนวน 10 คน

 

ดอกเบี้ยรับ 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

เปิดบัญชีธนาคาร 3 พ.ค. 2565 3 พ.ค. 2565

 

เปิดบัญชีธนาคาร

 

เปิดบัญชีธนาคาร

 

เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ 5 พ.ค. 2565 5 พ.ค. 2565

 

1.เปิดตัวโครงการ โดย สสจ.
2. วิทยากร PM  อธิบายความเป็นมา เพื่อความเข้าใจของโครงการแก่คณะทำงาน 3. วิทยากรอธิบายการบันทึกข้อมูลในระบบเบื้องต้น

 

  1. คณะทำงานโครงการย่อยจำนวน 3 คน เข้าร่วมเปิดตัวโครงการร่วมกัน
  2. คณะทำงานโครงการย่อยฯ เข้าใจความเป็นมาและการดำเนินงานของโครงการ
  3. คณะทำงานโครงการย่อยฯ เรียนรู้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้น

 

เวทีเรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบฯ 21 พ.ค. 2565 21 พ.ค. 2565

 

  1. เรียนรู้การสมัครเข้าระบบ 2. เรียนรู้การบันทึกแผนงานโครงการ 3. เรียนรู้การบันทึกข้อมูลกิจกรรม

 

  1. ผู้รับชอบโครงการย่อยฯ จำนวน 2 คน สามารถเข้าระบบและบันทึกกิจกรรมการดำเนินงานได้สำเร็จ

 

ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ครั้งที่ 1 เดือน พฤษภาคม 31 พ.ค. 2565 31 พ.ค. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่มประจำเดือน พฤษภาคม (ประชุมประจำเดือน 2 ครั้ง/เดือน เป็นจำนวน 6 ครั้ง)

 

1.ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม จำนวน 10 คน 2.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการผักปลอดภัย 3.ประชุมกำหนดการเปิดรับสมัครสมาชิกเกษตรกรใหม่

 

สำรวจข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ 3 มิ.ย. 2565 3 มิ.ย. 2565

 

สำรวจข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ จำนวน 40 คน

 

สำรวจข้อมูลเกษตกรในพื้นที่ จำนวน 40 คน  เพื่อดำเนินการตามโครงการผักปลอดภัย

 

การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อการปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP 7 มิ.ย. 2565 7 มิ.ย. 2565

 

คณะทำงาน สมาชิก และหน่วยงานภาคี ตรวจแปลง รวบรวมข้อมูลและจัดทำแผนการปลูก

 

1.ตรวจแปลงเกษตรกรก่อนปลูกผักปลอดภัย 2.สมาชิกสามารถรับทราบสภาพของดินได้รับมาตรฐาน GAP
3.สามารถรวบรวมข้อมูลสมาชิกจำนวน 40 คน ก่อนดำเนินงานตามโครงการ

 

เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการ 10 มิ.ย. 2565 10 มิ.ย. 2565

 

เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการผักปลอดภัย ในพื้นที่ บ้านทุ่งเหรียง หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป จำนวน 40 คน

 

คณะกรรมการกลุ่มได้เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการผักปลอดภัยในพื้นที่ บ้านทุ่งเหรียง หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป ผลการดำเนินการได้รับสมัครครบตามจำนวน 40 คน

 

จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม และจัดทำแผนพัฒนา และการบริหารจัดการกลุ่ม 21 มิ.ย. 2565 21 มิ.ย. 2565

 

จัดประชุม เวทีใช้ฐานข้อมูลของสมาชิกในการกำหนดแผนแต่ละด้าน เป้าหมายคณะทำงานและกลุ่มเกษตรกร จำวน 15 คน

 

  1. จัดเวทีใช้ฐานข้อมูลของสมาชิกในการกำหนดแผนแต่ละด้าน คณะทำงานและกลุ่มเกษตกร จำนวน 15 คน
  2. สามารถนำข้อมูลที่ได้รับจากฐานข้อมูลของสมาชิกมาดำเนินการได้ถูกต้อง 3.นำไปกำหนดแผนพัฒนา และการบริหารจัดการกลุ่มได้

 

กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน GAP 26 มิ.ย. 2565 27 ส.ค. 2565

 

ตรวจแปลงและรวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน GAP เพื่อยื่นขอรับรองแปลงมาตรฐาน GAP ของกลุ่มปลูกผักปลอดภัย

 

ลงตรวจแปลงของสมาชิกปลูกผักปลอดภัย เพื่อจะขอรับแปลงมาตรฐาน GAP จำนวน 5 ราย

 

อบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 13 ก.ค. 2565 13 ก.ค. 2565

 

อบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP และสร้างความรู้ความเข้าใจแก้สมาชิกในการผลิตผักปลอดภัยและเรียนรู้ขั้นตอนการผลิตเพื่อได้รับการรับรองมาตรฐาน กลุ่มเป้าหมายเกษตรกร จำนวน 40 คน

 

1.ได้เรียนรู้ ขั้นตอนการผลิตผักปลอดภัย เพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP 2.สมาชิกสามารถนำความรู้ที่ได้รับนำไปปฎิบัติได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย "Kick off ปลูกผักปลอดภัย" 22 ก.ค. 2565 22 ก.ค. 2565

 

  1. ทำเข้าใจโครงการให้กับผู้เข้าร่วม โดยประธาน อาจารย์สุวิทย์ หมาดอาดำ
  2. แนะนำหน่วยงาน  ได้แก่ ศวพ.  สภาเกษตรกร  เทศบาล  รพ.สต. เกษตรตำบล พช.
  3. ตรวจแปลงตัวอย่าง

 

  1. ผู้เข้าร่วมเข้าใจในตัวโครงการ
  2. จำนวนเข้าร่วม 40 คน
  3. หน่วยงานเข้าร่วม 7 หน่วยงาน

 

เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) 2 ส.ค. 2565 2 ส.ค. 2565

 

 

 

-

 

3.พัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม โดยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ พื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่) 4 ส.ค. 2565 4 ส.ค. 2565

 

1.ศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีฟาร์ม ตำบลบลำใหม่) 2.เพื่อให้เกษตรกรเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนความรู้กิจกรรมการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน

 

1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ได้ทราบถึงแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับผักปลอดภัย 2.เกษตกรกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีฟาร์ม ตำบลลำใหม่) 3.กลุ่มเกษตกรกลุ่มเป้าหมายมีประสบการณ์ดำเนินกิจกรรมผักปลอดภัย

 

จัดอบรมการบริหารจัดการกลุ่ม และความรู้ด้านการรับรองมาตรฐาน GAP 18 ส.ค. 2565 18 ส.ค. 2565

 

ประชุมอบรมบริหารการจัดการกลุ่ม คณะกรรมการ และสร้างความรู้ด้านการรับรองมาตรฐาน GAP เพื่อนำไปปฎิบ้ติในการดำเนินงานในพื้นที่

 

ประชุมอบรมบริหารการจัดการกลุ่ม คณะกรรมการ และสร้างความรู้ด้านการรับรองมาตรฐาน GAP เพื่อนำไปปฎิบ้ติในการดำเนินงานในพื้นที่ โครงการผักปลอดภัย ณ บ้านทุ่งเหรียง หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

 

ร่วมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1 17 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

ดอกเบี้ยรับ 24 ก.ย. 2565 24 ก.ย. 2565

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ปลูกผักปลอดภัย 25 ก.ย. 2565 25 ก.ย. 2565

 

มอบอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ุพืช ให้กับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 40 คน ดังนี้ 1.เมล็ดผักคะน้า จำนวน 40 ซอง 2.เมล็ดโหรพา จำนวน 40 ซอง 3.เมล็ดพริก จำนวน 40 ซอง 4.เมล็ดผักบุ๋ง จำนวน 40 ซอง 5.เมล็ดข้าวโพด จำนวน 3 กก. 6.เมล็ดแตงกวา จำนวน 40 ซอง 7.ปุ๋ยคอก จำนวน 80 กระสอบ

 

1.กลุ่มเป้าหมายเกษตกรได้พันธุ์ผัก จำนวน 40 คนน 2.กลุ่มเป้าหมายเกษตรกรสามารถนำพันธ์ุผักไปปลูกเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว 3.ผู้บริโภคได้รับการบริโภคผักปลอดภัย

 

เวทีพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ การจัดการข้อมูล ครั้งที่ 2 22 ต.ค. 2565 22 ต.ค. 2565

 

อบรมการสอนการบันทึกข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านเข้าระบบ

 

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 2 คน ประกอบด้วย 1.นายรอเซะ ขาเร็ง 2.นางสาวยารีเยาะ ขาเร็ง เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2 ณ ห้องวังแก้ว โรงแรมเกรนด์พาเลส อำเภอเมืองยะลา โดยมีพี่เลี้ยงดำเนินการตรวจสอบทางการเงิน เพื่อดำเนินการจัดทำรายงานเบิกจ่ายในงวดที่ 2

 

เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 2) 28 พ.ย. 2565 28 พ.ย. 2565

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยน ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2

 

1.สรุปการทำบันไดผลลัพธ์ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัย ผลการดำเนินงาน ARE ครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 2 และ 3 ของการดำเนินงานตามโครงการ 2.พื้นที่การในการปลูกผัก จำนวน 8 ไร่ 65 ตร. 3.สมาชิกเพิ่ม จำนวน 2 คน 4.รายได้ต่อรอบ 3 เดือน 5000 - 8000 บาท/เดือน

 

ประชุมติดตามผลการผลิต การรับรอง GAP และการตลาด 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

ประชุมติดตามผลการผลิต การรับรอง GAP และการตลาด สมาชิก จำนวน 40 คน

 

1.ติดตามผลการผลิต รับรอง GAP ผู้ที่จะขอรับที่ผ่านการรับในเวที จำนวน 7 คน 2.ฐานข้อมูลในการจดทะเบียน GAP ของสมาชิก 3.ให้ความรู้การจัดการศัตรูพืช 4.สรุปผลการดำเนินงานโครงกาารส่งเสริมและสนับสนุนและการผลิตและบริโภคผักปลอดภัย

 

. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 31 ม.ค. 2566 31 ม.ค. 2566

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยน ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3

 

ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 ประเมินผลการดำเนินงานของโครงการผักปลอดภัย ดังนี้ 1.สรุปการทำบันไดผลลัพธ์ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัย ผลการดำเนินงาน ARE ครั้งที่ 3  อยู่ในระดับ 2 และ 3 ของการดำเนินงานตามโครงการ 2.พื้นที่การในการปลูกผัก จำนวน 8 ไร่ 65 ตร. 3.สมาชิกเพิ่ม จำนวน 2 คน 4.รายได้ต่อรอบ 3 เดือน 5000 - 8000 บาท/เดือน

 

เวทีสรุป ปิดโครงการ และถอดบทเรียน 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

เวทีสรุป ปิดโครงการ และถอดบทเรียน ในการดำเนินโครงการผักปลอดภัย บ้านทุ่งเหรียง หมู่ที่ 2 ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยมี กรรมการและกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมถอดบทเรียน จำนวน 40 คน

 

เวทีถอดบทเรียน ผักปลอดภัย  ดังนี้ ปัญหา 1.น้ำท่วม พื้นที่ลุ่มน้าขัง 2.ปล่อยสัตว์เลี้ง จุดเด่น 1มีการปลูกผักเป็นทุนเดิม 2มีการออมทรัพย์ของกลุ่ม่ ผลลัพธ์ 1มีการกินผักในครัวเรือนมากขี้น 2เกิดกติกาในชุมชนและทำงานเป็นระบบ 3มีการประเมินผล ติดตาม และมีรายได้ 4มีการปรับพฤติกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษ 5มีการรวมกลุ่มในหมู่บ้าน