directions_run

(01)ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

assignment
บันทึกกิจกรรม
การบันทึกข้อมูลออนไลน์28 เมษายน 2566
28
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นางอารีรัตน์ มากคณา และนางวิรงค์รอง เอาไชย บันทึกข้อมูลกิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณต่างๆของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ข้อมูลกิจกรรมได้บันทึกครบถ้วนทุกกิจกรรมของโครงการที่ได้ตั้งไว้

นำเสนอผลงานและข้อเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง27 เมษายน 2566
27
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานจัดการประชุมเพื่อนำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย  สสอ.สวี รพ.สวี ผู้นำท้องที่-ผู้นำท้องถิ่น ต.นาสัก นายก อบต.นาสัก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดความร่วมมือจากระดับชุมชน ด้วยการผลักดันข้อตกลงสุขภาพชุมชน จำนวน 6 ข้อ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาโรคเรื้อรัง ในทุกหมู่บ้าน 2.เกิดแผนงานโครงการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลังการตรวจคัดกรอง เสนอเข้ากองทุน กปท.จำนวน 6 โครงการ โดยเป็นแผนงานโครงการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ. 2ส. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในหมู่บ้าน ประกอบด้วย
  1) แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 1   2) แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 6   3) แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 11   4) แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 13   5) แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 18   6) แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 19

จัดเวทีถอดบทเรียน อสม.ต้นแบบและคู่ซี้บัดดี้ และวางแผนให้แกนนำสุขภาพขยายเครือข่ายลงสู่ทุกครัวเรือนในหมู่บ้านพร้อมมอบเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ26 เมษายน 2566
26
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานจัดเตรียมสถานที่ จัดบูธนำเสนอเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 3 บูธ 2.วันที่ 26 เมษายน 2566 เปิดการการประชุม มอบเกียรติบัตร อสม.และคู่บัดี้ระดับหมู่บ้าน 3.ประธานในพิธี และผู้เข้าร่วมกิจกรรม ชมบูธ และรับฟัง แลกเปลี่ยนซักถามในเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 1.บูธของรพ.สวี เรื่องสาเหตุของโรคไต  2.บูธเกษตรกร สุขภาพดี ปลอดสารเคมีในเลือดของรพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง และหมู่บ้านต้นแบบเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ให้บริการการตรวจสารเคมีในเลือด และ 3.บูธนำเสนอกิจกรรมของโครงการตามหลัก  3อ. 2ส. 4.เวทีเสวนาเวทีเสวนาการถอดบทเรียน อสม.คู่บัดดี้ ต้นแบบ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ 2ส และแนวทางเพื่อการขยายผลการดำเนินงานการจัดการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยบทบาทของภาคีเครือข่ายสุขภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มอบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 120 คน 2.มอบเกียรติบัตรให้กับ อสม.และคู่บัดดี้ที่มีผลการปรับเปลี่ยนสุขภาพได้มากที่สุดโดยดูการเกณฑ์น้ำหนักตัวและค่ารอบเอว โดยคัดเลือกหมู่บ้านละ 2 คน รวม12 คน(6หมู่บ้าน) 3.มอบของรางวัลโดยได้รับสนับสนุนมาจำนวน 11,500 บาท โดยจัดสรรค์เป็นของรางวัลให้กับผู้ที่มีผลการปรับเปลี่ยน ดังนี้
  -ประเภทลดน้ำหนัดได้มากที่สุด ลำดับที่ 1-5 โดยแยกเป็น อสม.จำนวน 5 รางวัล คู่บัดดี้ จำนวน 5 รางวัล   -ประเภทรอบเอวลดมากที่สุด ลำดับที่ 1-5 โดยแยกเป็น อสม.จำนวน 5 รางวัล คู่บัดดี้ จำนวน 5 รางวัล   -ประเภทการลดค่าผลตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการได้ทุกตัว คือ 1.FPG  2.Total cholesterol  3.Triglyceride  และ 4.LDL จำนวน 2 รางวัล   -รางวัลพิเศษประเภทคู่บัดดี้ที่มีผลการปรับเปลี่ยนดีทั้งคู่ จำนวน 8 รางวัล   -รางวัลพิเศษประเภทการสื่อสารยอดเยี่ยมจำนวน 3 รางวัล ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 115 รางวัล (ในกิจกรรมล้วงไหลุ้นรางวัล) 4.เวทีเสวนาการถอดบทเรียน อสม.คู่บัดดี้ ต้นแบบ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ 2ส และแนวทางเพื่อการขยายผลการดำเนินงานการจัดการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยบทบาทของภาคีเครือข่ายสุขภาพ โดยมีผู้ร่วมเสวนา ดังนี้   (1) นายวัชรินทร์ แจ้งใจเย็น สาธารณสุขอำเภอสวี   (2) น.ส.กนกกาญน์ บุญยืน พยาบาลวิชาชีพ รพ.สวี   (3) นายณัฐวัตร เพชรโสม ผอ.รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง   (4) นายพินิจ นพชำนาญ ประธาน อสม.รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง   (5) นางรัตนา แสงอุส่าห์ คู่บัดดี้   (6) น.ส.อทิตยา นาคจินดา อสม. 5.นางเดือนเพ็ญ เคี่ยนบุ้น รองนพ.สสจ.ชุมพร และนายวิษณุ ทองแก้ว สรุปผลการดำเนินงานของโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2565 และปิดโครงการ

การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 619 เมษายน 2566
19
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.นัดหมายเพื่อประชุมคณะทำงานโครงการและคู่บัดดี้ หมู่ละ 2 คน เพื่อถอดบทเรียนของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งที่ประสบความสำเร็จ และไม่สำเร็จ วันที่ 7 เมย.2566 2.เตรียมการจัดเวทีนำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเวทีถอดบทเรียน อสม.และคู่บัดดี้ต้นแบบ เวทีเสวนาการถอดบทเรียน อสม.คู่บัดดี้ ต้นแบบ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  และแนวทางเพื่อการขยายผลการดำเนินงานการจัดการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แบ่งกลุ่มเพื่อวิเคราะห์/ถอดประเด็นร่วมกันเป็น 4 กลุ่ม โดยสรุปจากการนำเสนอได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่คิดว่าตนเองประสบความสำเร็จจากการเข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

การประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 ของ Node Flagship ชุมพร10 เมษายน 2566
10
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ผู้เข้าร่วมจาก 25 โครงการ โครงการละ 3 คน ของ รพ.สต.แก่งกระทั่ง มีดังนี้1.นายพินิจ นพชำนาญ 2.นางจริยา วัชรานนท์ 3.นางอารีรัตน์ มากคณา 4.นางวิรงค์รอง เอาไชย 2.นายทวีวัตร เครือสาย ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตามประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานโครงการย่อย ครั้งที่ 2
3.แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อประเมินผลลัพธ์ตามบันได และสังเคราะห์ภาพรวมเพื่อนำเสนอคัดเลือกโมเดลแต่ละระดับ ตามระดับหมู่บ้าน สะดับสถานบริการ และระดับตำบลของประเด็นการจัดการโรคเรื้อรัง
5.นำเสนอผลการประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การติดตามประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานโครงการย่อยของโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บ้านแก่งกระทั่ง ได้ดังนี้ 1)มีบทเรียนหรือข้อค้นพบสำคัญใดบ้าง   -การใช้กลยุทธ์คู่บัดดี้ ทำให้เิกดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการกระตุ้น การสร้างแรงบันดาลใจให้กันทำให้ไม่เบื่อหน่าย สร้างความอดทนได้ เพราะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้นเป็นสิ่งที่ยากมาก หากใจไม่เข้งแข็งพอ   -ความร่วมมือของกลไกเครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความสำคัญ สร้างความน่าเชื่อถือให้กับการทำงาน 2)โครงการย่อยมีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแล้ว มีตัวบ่งชี้ความสำเร็จอะไรบ้าง   - มีคณะทำงานที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพ การคิด วิเคราะห์ชุมชน การทำงานเป็นทีม การสำรวจศักยภาพของชุมชนที่มีผลต่อการหนุนเสริมในการทำงาน จำนวน 30 คนจาก 6 หมู่บ้านของเขตบริการ รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง
  - มีการทบทวนสถานการณ์ และพัฒนาระบบข้อมูลรายหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 17 มิย.2565 ครั้งที่ 2.วันที่ 21 กพ. 2566   - คณะทำงานกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ข้อมูลจากการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันของ อสม. โดยกำหนดกลุ่มเสี่ยง กลุ่มกลุ่ม โรคเรื้อรังมาเข้าร่วมโครงการ และกำหนดให้แต่ละหมู่มี อสม.จับคู่บัดดี้กับกลุ่มเป้าหมาย หมู่ละ 6-12 คู่(ตามขนาดของประชากรแต่ละหมู่)   - คณะทำงานมการกำหนดแผนงานการขับเคลื่อนงาน/กิจกรรมในระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่ 1พ.ค.65-30 เม.ย.66   -คณะทำงานมีการประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ มีการประสานงานแก้ไขปัญหาด้วยความร่วมมือกัน   -การอบรม อสม.และคู่บัดดี้ จำนวน 60 คู่ ให้เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยใช้กรอบคิด Health Literacy เข้าถึงแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เข้าใจมีความรู้ โต้ตอบซักถามแลกเปลี่ยน ตัดสินใจนำไปใช ปรับใช้ให้เหมาะสม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถบอกต่อหรือเป็นแบบอย่างที่ดีได้ โดยใช้หลัก 3อ 2สในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รวมถึงมีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการอาหารปลอดภัย ปลอดสารเคมีในครัวเรือนและชุมชน   -การติดตามผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อจัดเก็บข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 2 ครั้ง รอบ 3 เดือน วันที่ 29 พย.2565 รอบ 6 เดือน วันที่ 22 มีค.2566 ๒)ความสำเร็จนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร  ใครทำ ใครช่วยบ้าง เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพ ดังนี้
  -สสอ.สวี รพ.สวี และรพ.สต สนับสนุนความรู้ด้านวิชาการ การสร้างเครื่องเพื่อช่วยในการดำเนินงาน/การติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คือ สมุดบันทึกสุขภาพ สายวัดสกัดพุงในการติดตามภาวะอ้วนลงพุงของผู้เข้ารร่วมโครงการ   -สสอ.สวีและรพ.สวี สนับสนุนการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงได้ทราบสถานสุขภาพของตนเองก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ(การติดตามระยะเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน)
  -ผู้นำท้องที่-ท้องถิ่น การประสานพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมโครงการ รวมถึงการประสานใช้พื้นที่กลาง เช่น ศาลาหมู่บ้านหรือลานกีฬาในการออกกำลังกายหรือการพบปะทำกิจกรรมของคู่บัดดี้   -คณะทำงานโครงการในแต่ละหมู่บ้าน มีการติดตามประเมินผลกลุ่มย่อย คอยกระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจให้กับคู่บัดดี้ในการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยส่งเสริมการใช้พื้นที่ออกกำลังกายส่วนตัวและหมุนเวียนกันในคู่บัดดี้
๓)จะทำอย่างไรต่อไปให้บรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งไว้   -การกระตุ้นเตือน การสร้างแรงบันดาลใจในคู่บัดดี้ และเปลี่ยนกันเพื่อให้ไม่ท้อในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การจัดการเวลาให้ได้ร่วมทำกิจกรรมกัน   -การจัดกิจกรรมต่อเนื่องให้เกิดการพบปะกันระหว่างหมู่ เพื่อเสริมแรงบันดาลใจให้แก่กัน

การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 ติดตามประเมินผลโครงการ ARE27 มีนาคม 2566
27
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานนัดหมายการประชุมคณะทำงานโครงการ โดยมีทีมประเมินโครงการจาก สสส.ลงพื้นที่ ในวันที่ 27 มีค.2566 2.อาจารย์โปรดปราน คำอ่อน เป็นผู้ติดตามและสอบถามเพิ่มเติมตามบันไดผลลัพธ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวทีการติดตามผลลัพธ์ (ARE) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวิรงค์รอง  เอาไชย กระบวนการติดตามผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้ (ARE) เป็นการติดตามผลลัพธ์ โดยผ่านการให้ความสำคัญเรื่องข้อมูล ทั้งนี้ผลลัพธ์ตามบันไดมีผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้หรือไม่ นำผลสัมฤทธิ์นั้นมาพูดคุย และค้นหาหรือปรับแนวทางการทำงาน ให้ผลลัพธ์สัมฤทธิ์ 1. บันไดผลลัพธ์โครงการฯ











  1. รูปแบบการจัดทำเวที ARE
    การจัดทำเวที ARE ของ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้มีการกำหนดขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก่งกระทั่ง อำเภอสวี จังหวัดชุมพร โดยเป็นการจัดเวทีที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพูดคุยกันระหว่างทีมดำเนินโครงการ, ภาคียุทธศาสตร์, ภาคีปฏิบัติ, พี่เลี้ยงโครงการ, PM ของ NF ชุมพร และทีมประเมิน เพื่อค้นหาผลการดำเนินการของโครงการตามบันไดผลลัพธ์ รวมถึงปัญหา/อุปสรรคของการดำเนินโครงการ
  2. สรุปผลการจัดทำเวที ARE ของโครงการ บันไดผลลัพธ์/รายละเอียด ระดับความสำเร็จ ข้อค้นพบจากเวที ARE
  3. คณะทำงานหรือคณะกรรมการมีศักยภาพในการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ 5
    1. มีคณะทำงานที่มาจากทุกหมู่บ้านและภาคี รวม 30 คน 5 มีคณะทำงานครบถ้วน และทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี
    2. มีฐานข้อมูล คน ทรัพยากร ระดับหมู่บ้าน 5 มีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์สถาณการณ์แล้ว
    3. มีแผนการชับเคลื่อนงาน 5 มีการวางแผนการขับเคลื่อนโครงการอย่างต่อเนื่อง
    4. มีเพจ FB ประชาสัมพันธ์ 4 ยังไม่ได้มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
  4. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพ 5
    1. มีต้นแบบคู่บัดดี้ จำนวน 60 คู่ 5 มีจำนวนบัดดี้ครบ 60 คู่
    2. มีกติการร่วมในการดูแลสุขภาพจำนวน 5 ข้อ 5 มีการดูแลสุขภาพร่วมกันเป็นอย่างดี
    3. มีแผนงานโครงการเสนอเข้ากองทุนฯ จำนวน 6 โครงการ 5 ทางคณะทำงานมีข้อเสนอโครงการครบ
    4. มีภาคีความร่วมมือจำนวน 5 ภาคี 5 มีจำนวนภาคีร่วมงานกับโครงการครบ
  5. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ดีขึ้น 4
    1. มีข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่ตามหลัก 3อ 2ส 4 ยังไม่ได้มีการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. มีพื้นที่กลางในการทำกิจกรรมร่วม 3 มีพื้นที่กลางและพื้นที่อื่นๆ ในการออกกำลังกาย แต่ยังไม่ได้รวบรวมข้อมูลการใช้พื้นที่ที่ชัดเจน
  7. เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการลดอัตราเจ็บป่วยโรคเรื้อรังในหน่วยบริการ 3

    1. มี อสม. และประชาชนต้นแบบในการดูแลสุขภาพ จำนวน 12 คน 3 ยังไม่ได้มีการประชุมถอดบทเรียนและเลือก อสม.ต้นแบบ แต่ได้วางแผนการดำเนินการแล้ว
    2. กลุ่มผู้ป่วยสามารถควบคุมภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ลดลงร้อยละ 30 ผู้ป่วยรายใหม่ ลดลงร้อยละ 20 3 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล คณะทำงานได้กำหนดผู้รับผิดชอบไว้แล้ว
    3. มีชุดข้อมูลการดูแลสุขภาพชุมชน 3
      ระดับความสำเร็จโดยภาพรวมของโครงการฯ 4











  8. จุดเด่นของคณะกรรมการโครงการ

    1. เป็นโครงการที่แก้ปัญหาที่สำคัญของพื้นที่จริง เนื่องจากมีข้อมูลและพบว่าคนในพื้นที่โครงการมีปัญหาด้านสุขภาพ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน เป็นจำนวนมาก ดังนั้นเมื่อมีโครงการจึงทำให้คนในพื้นที่เข้าใจและยอมรับถึงแนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพได้ดี อีกทั้งการที่ในพื้นที่มีคณะทำงานด้านสุขภาพที่เข้มแข็งและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่าย เช่น ชมรม อสม., รพ.สต.แก่งกระทั่ง และผู้นำท้องถิ่น (ผู้ใหญ่บ้าน)
    2. มีภาคีเครือข่ายทุกระดับเข้าร่วมโครงการ พบว่าในโครงการมีทีมทำงานหรือกลุ่มคนร่วมงานที่หลากหลาย ประกอบด้วยคนในพื้นที่ (กลุ่มเป้าหมาย), ชมรม อสม., รพ.สต.แก่งกระทั่ง, สสอ.สวี สสจ.ชุมพร, พี่เลี้ยงโครงการ, พี่เลี้ยงประเด็น และทีม NF ชุมพร ที่เข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผน การปฏิบัติ และการติดตามตรวจสอบ ทำให้เกิดพลังการผลักดันกิจกรรมและโครงการได้อย่างเป็นรูปธรรมได้ชัดเจน
    3. รูปแบบการขับเคลื่อนโครงการมีความต่อเนื่อง พบว่า ทีมดำเนินงานโครงการมีการกระตุ้นและผลักดันกิจกรรมต่างๆ ตามบันไดผลลัพธ์อย่างต่อเนื่อง มีการหารูปแบบกิจกรรมตามความเหมาะสม และมีการร่วมกันคิดหาแนวทางการบันทึกข้อมูล การวัดความสำเร็จ เช่น สมุดบันทึกผลการตรวจสุขภาพ ที่มีข้อมูลการดูแลสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย, การใช้สายวัดรอบเอวจากการคำนวณ IBM ของแต่ละคน เพื่อเป็นการตั้งเป้าหมายของการลดรอบเอว รวมถึงมีการติดตามผลการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ อย่างชัดเจน
  9. ข้อสังเกตที่เกิดขึ้น
    1. เนื่องจากกิจกรรมและตัวชี้วัดของโครงการมีหลายรูปแบบ รวมถึงการต้องรวบรวมผลการดำเนินโครงการ ค่าสถิติการเปลี่ยนแปลงสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจต้องใช้เวลาในการรวบรวมและสังเคราะห์ ดังนั้นควรต้องรีบดำเนินการเพื่อให้สามารถสรุปผลลัพธ์ของโครงการได้
หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ23 มีนาคม 2566
23
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

ติดตามผลการปรับเปลี่ยพฤติกรรม ครั้งที่ 2 รอบ 6 เดือน -เยี่ยมเสริมพลัง ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และวางแผน22 มีนาคม 2566
22
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานแต่ละหมู่นัดหมายทุกคน ในการส่งตรวจเลือด เพื่อให้ทราบผลทางห้องปฏิบัติการในการติดตามระยะ 6 เดือน 2.ตรวจวัดความดัน น้ำหนัก ส่วนสูงและการติดตามรอบเอวของทุกคน 3.บันทึกผลลงในสมุดบันทึกสุขภาพของตนเอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ข้อมูลส่วนตัว อสม.ต้นแบบ+คู่บัดดี้ ข้อมูลสุขภาพเริ่มต้น ติดตาม 6 เดือน ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6 เดือน

            ชื่อ-สกุล   น้ำหนัก (kg.) ส่วนสูง(Cms.) BMI (kg/m2) รอบเอว(Cms.) "BP(mmHg)" FPG Total cholesterol Triglyceride HDL LDL 1.นายณัฐวัตร  เพชรโสม 105 175 34.29 115 128/82 99 190 314 30 97 101 175 32.98 110 135/74 107 196 134 42 128 -4 -1.31 -5 8 6 -180 12 31
  นายถิระ  กังวาลวรางกุล 90 172 30.42 92 125/75 75 216 128 48 142 90 172 30.42 91 120/73 93 218 135 49 141 0 0.00 -1 18 2 7 1 -1
2.นางสาวสุนิษา พลนาการ 57 166 20.69 70 100/62 74 232 78 48 168 58 166 21.05 77 116/70 74 208 49 54 144 1 0.36 7 0 -24 -29 6 -24   นางสาวพรนภา  เสือมาก 96 165 35.26 100 124/74 83 217 178 51 130 92 165 33.79 96 120/75 83 217 111 56 139 -4 -1.47 -4 0 0 -67 5 9
3.นางจริยา  วัชรานนท์ 58 156 23.83 80 128/86 83 196 94 73 104 55.6 156 22.85 82 123/85 75 216 95 87 110 -2.4 -0.99 2 -8 20 1 14 6
  นายกฤษณรักษ์  วัชรานนท์ 80 165 29.38 102 126/86 84 218 280 34 128 83 165 30.49 103 114/68 78 252 188 40 174 3 1.10 1 -6 34 -92 6 46
4.นางอารีรัตน์  มากคณา 80 167 28.69 102 116/85 92 213 870 27 113 77 167 27.61 98 128/74 96 218 484 39 105 -3 -1.08 -4 4 5 -386 12 -8
  นายกรกต  วัชรานนท์         76 165 27.92 91 126/80 96 187 305 34 92 73 165 26.81 88 124/68 98 217 280 36 126 -3 -1.10 -3 2 30 -25 2 34
5.นางจงกล  ยิ่งอนันต์         66 156 27.12 95 110/75 114 238 103 62 155 64.5 156 26.50 86 109/73 117 246 86 77 151 -1.5 -0.62 -9 3 8 -17 15 -4
  นางสาวจันจิรา  โชติกวานิชย์ 84 157 34.08 100 117/71 85 180 155 48 101 83.7 157 33.96 104 109/62 79 203 124 47 130 -0.3 -0.12 4 -6 23 -31 -1 29
6.นางจรีย์  เหมะ                 51.7 146 24.25 79 114/76 89 128 51 57 61 49.5 146 23.22 78 103/70 79 188 147 59 100 -2.2 -1.03 -1 -10 60 96 2 39
  นางสาวปพัชญา  แท่นจันทร์ 60 155 24.97 85 136/100 87 205 118 56 125 58 155 24.14 84 110/74 88 217 163 57 127 -2 -0.83 -1 1 12 45 1 2
7.นางชุลีพร  รัตนไชย         69.9 167 25.06 88 122/79 79 223 118 48 151 60.6 167 21.73 78 126/72 70 233 79 55 162 -9.3 -3.33 -10 -9 10 -39 7 11
  นางวิลาศ  บุญกวย         47.2 155 19.65 75 111/73 76 160 98 63 77 44 155 18.31 67 107/62 77 152 78 63 73 -3.2 -1.33 -8 1 -8 -20 0 -4
8.นางวิณา  แฉ่งฉลาด         66.6 166 24.17 84 126/70 96 191 158 41 118 61.8 166 22.43 76 101/74 97 234 92 57 159 -4.8 -1.74 -8 1 43 -66 16 41
  นายสิรวัชร์  แฉ่งฉลาด 96 175 31.35 110 153/120 74 191 329 40 85 94 175 30.69 107 145/92 84 229 325 42 122 -2 -0.65 -3 10 38 -4 2 37
9.นางเกษร  พันธ์ทอง         68.5 150 30.44 98 136/89 71 160 75 47 98 63.3 150 28.13 86 136/92 68 187 58 60 116 -5.2 -2.31 -12 -3 27 -17 13 18
  นางสาวธนยา  จินาก้วน 59 156 24.24 74 141/84 87 172 152 44 98 63 156 25.89 81 106/67 86 172 62 51 109 4 1.64 7 -1 0 -90 7 11
10.น.ส.นิภา  แดงละอุ่น         94 160 36.72 108 129/86 86 153 134 50 76 92.5 160 36.13 106 120/83 88 174 148 65 80 -1.5 -0.59 -2 2 21 14 15 4
    นางสาวจริยา  ภู่สุรัตน์ 74 165 27.18 92 120/95 81 167 90 56 93 73 165 26.81 90 115/87 80 167 90 56 93 -1 -0.37 -2 -1 0 0 0 0
11.นางจิรพันธ์  ผลสุข         90 162 34.29 108 115/86 91 234 190 42 154 79 162 30.10 103 115/80 84 227 212 55 130 -11 -4.19 -5 -7 -7 22 13 -24     นางสำอางค์  สอนสวัสดิ์ 70 155 29.14 92 145/100 96 228 204 56 131 70 155 29.14 88 140/100 101 263 165 56 174 0 0.00 -4 5 35 -39 0 43
12.นางปิยวรรณ  พรหมดำ 65 161 25.08 89 132/82 86 199 128 44 129 57.2 161 22.07 81 121/73 83 211 148 48 133 -7.8 -3.01 -8 -3 12 20 4 4
    นางสาวกมลเนตร  ทวีกุล 71 153 30.33 94 122/84 82 220 118 51 145 66 153 28.19 90 118/85 86 215 172 45 136 -5 -2.14 -4 4 -5 54 -6 -9
13.น.ส.เปรมา  แก้วเพชร 74.8 159 29.59 93 128/74 78 217 169 52 131 75.5 159 29.86 94 115/71 80 252 267 43 155 0.7 0.28 1 2 35 98 -9 24
    นางสาวปฏีรา  เขียวแก้ว 97 164 36.06 102 96/72 89 184 119 63 97 96 164 35.69 100 135/67 83 171 140 60 84 -1 -0.37 -2 -6 -13 21 -3 -13
14.นายพินิจ  นพชำนาญ 62 175 20.24 88 111/77 86 176 225 45 86 60 174 19.82 85 105/69 79 147 189 38 72 -2 -0.43 -3 -7 -29 -36 -7 -14     นางมาลัย  ศรีสินธุ์         63 153 26.91 84 119/86 68 197 142 56 113 64 153 27.34 82 125/79 78 202 75 65 122 1 0.43 -2 10 5 -67 9 9
15.นางสาวอัญชลี  ศรีสินธ์ 74 157 30.02 87 127/109 80 175 75 59 101 73.5 157 29.82 89 129/82 81 190 56 80 98 -0.5 -0.20 2 1 15 -19 21 -3
    นางเนาวรัตน์  ด้วงนาโพธิ์ 50.5 147 23.37 76 119/76 79 157 80 56 85 49 150 21.78 75 111/65 82 141 53 54 77 -1.5 -1.59 -1 3 -16 -27 -2 -8
16.นางจันทนา  ศรีสุวรรณ 84 150 37.33 103 124/84 166 257 143 46 182 81 150 36.00 101 139/83 155 277 276 43 178 -3 -1.33 -2 -11 20 133 -3 -4
    นางสาววันวิสา  ชนะ         102 170 35.29 90 120/80 75 205 110 52 131 95 170 32.87 84 115/75 77 201 176 49 117 -7 -2.42 -6 2 -4 66 -3 -14
17.นส.สุภาวดี  รอดนาโพธิ์      53.2 158 21.31 77 109/70 77 173 73 70 88 52 158 20.83 74 100/70 75 229 110 83 124 -1.2 -0.48 -3 -2 56 37 13 36
    นางศิริพร  ศรีสินธุ์         68 165 24.98 83 135/78 81 238 101 72 146 67 165 24.61 81 112/75 87 260 47 81 169 -1 -0.37 -2 6 22 -54 9 23
18.น.ส.อทิตยา  นาคจินดา 100.7 158 40.34 102 132/85 83 234 96 49 166 90 158 36.05 82 125/87 81 258 176 70 153 -10.7 -4.29 -20 -2 24 80 21 -13     น.ส.อัญชนา หญีตป้อม 123 165 45.18 125 114/70 96 241 129 43 172 117.1 165 43.01 122 139/73 100 217 147 42 146 -5.9 -2.17 -3 4 -24 18 -1 -26
19.นางวิไล  ทองมี         51.5 155 21.44 76 132/86 82 124 177 33 56 52.5 155 21.85 78 129/71 76 150 70 44 92 1 0.42 2 -6 26 -107 11 36
    นางกาญจนา  แสงเมือง 79.6 172 26.91 95 128/81 82 209 78 42 151 74 172 25.01 90 125/79 96 240 111 44 174 -5.6 -1.89 -5 14 31 33 2 23
20.นางฉัตรสรุดา  เมืองจันทร์ 75 165 27.55 92 118/64 84 181 96 49 114 70 165 25.71 87 129/70 73 213 52 59 143 -5 -1.84 -5 -11 32 -44 10 29
    นางสุจงจิตร  คงแสงแก้ว 71 155 29.55 91 118/71 65 164 252 48 66 71 155 29.55 88 124/75 68 156 242 49 187 0 0.00 -3 3 -8 -10 1 121
21.นางมยุรี  เกิดสุข         55 150 24.44 84 118/73 86 254 208 57 155 52 150 23.11 85 125/84 80 251 205 69 141 -3 -1.33 1 -6 -3 -3 12 -14     นางไพลิน  มากแก้ว         85 153 36.31 91 106/81 74 146 84 48 81 83 153 35.46 89 118/74 71 145 84 48 158 -2 -0.85 -2 -3 -1 0 0 77
22.นางวิภาวรรณ  มะเต         49.5 152 21.42 72 109/70 88 171 93 44 108 48.7 152 21.08 72 101/70 79 157 140 38 90 -0.8 -0.35 0 -9 -14 47 -6 -18     น.ส.มยุรา  นรพันธุ์พงศ์ 79 180 24.38 84 128/78 81 106 61 57 37 83 180 25.62 82 131/80 81 109 65 51 100 4 1.23 -2 0 3 4 -6 63
23.นางจีราพร  ล้วนเกษม 75.95 165 27.90 90 129/77 89 164 155 27 106 73 165 26.81 90 135/85 85 147 128 37 85 -2.95 -1.08 0 -4 -17 -27 10 -21     นางปรานอม  เพชรคง 79.8 156 32.79 104 137/93 75 248 241 49 151 75.4 156 30.98 92 131/91 85 256 249 49 156 -4.4 -1.81 -12 10 8 8 0 5
24.นางอารีย์    สุขจบ         78 160 30.47 94 132/72 99 304 160 60 212 76 160 29.69 89 134/82 87 196 90 52 126 -2 -0.78 -5 -12 -108 -70 -8 -86     นางจตุพร  นาคมุสิก         65 154 27.41 83 123/80 82 199 72 91 94 64 153 27.34 71 137/69 84 188 109 82 85 -1 -0.07 -12 2 -11 37 -9 -9
25.นางสุรางค์  สุวรรณเพชร 69 147 31.93 92 145/84 82 235 118 73 138 70 147 32.39 90 149/85 86 214 173 62 118 1 0.46 -2 4 -21 55 -11 -20     นางจิตรา  บุญมี         62 150 27.56 91 143/84 91 169 157 50 88 60.5 152 26.19 89 128/69 95 179 118 45 110 -1.5 -1.37 -2 4 10 -39 -5 22
26.นางอนงค์  สกุลแพทย์ 62.5 160 24.41 88 110/67 85 284 174 53 196 61.2 160 23.91 82 116/77 83 282 154 60 171 -1.3 -0.51 -6 -2 -2 -20 7 -25     นางชำนาญ  มั่งประเสริฐ 72 156 29.59 98 174/78 85 187 179 43 108 73 156 30.00 98 156/75 85 184 179 42 101 1 0.41 0 0 -3 0 -1 -7
27.นางจารี นินมาลา         66.6 156 27.37 82 131/79 87 162 53 62 89 64.5 156 26.50 80 113/61 76 139 58 66 62 -2.1 -0.86 -2 -11 -23 5 4 -27     นางวันดี  นาคแก้ว         69.06 155 28.75 86 136/82 101 274 168 72 168 67 155 27.89 90 135/75 107 264 177 65 164 -2.06 -0.86 4 6 -10 9 -7 -4
28.นางอรีวรรณ  นัทธี         48 150 21.33 71 111/86 80 225 156 58 136 48.6 150 21.60 76 117/84 82 268 136 70 171 0.6 0.27 5 2 43 -20 12 35
    นางประนอม  สินทรัพย์ 57 155 23.73 85 152/80 80 289 121 52 213 57 155 23.73 86 145/75 90 342 121 55 263 0 0.00 1 10 53 0 3 50
29.นางสุวรรณา  นัทธี         51.9 162 19.78 72 125/88 98 255 175 67 152 51.7 162 19.70 72 125/75 87 247 147 85 133 -0.2 -0.08 0 -11 -8 -28 18 -19     นางยุพิน  นัทธี         61 158 24.44 86 158/99 83 170 74 43 112 62 158 24.84 76 155/76 92 226 106 44 161 1 0.40 -10 9 56 32 1 49
30.นางประอร  กวยระคาน 85.6 165 31.44 108 165/112 140 134 154 47 56 87 165 31.96 107 130/90 154 155 213 54 58 1.4 0.51 -1 14 21 59 7 2
    นางศิมาภรณ์  รัตนะ         90 155 37.46 108 151/90 99 146 121 52 70 87 155 36.21 105 115/75 98 142 125 52 100 -3 -1.25 -3 -1 -4 4 0 30
31.นางษุภัชญา เหมะ         59 145 28.06 85 130/88 88 160 90 52 90 57 145 27.11 80 132/79 100 179 47 67 103 -2 -0.95 -5 12 19 -43 15 13
    นส.พรรณทิภา  พรหมมุณี 61.3 151 26.88 85 96/64 67 189 137 41 121 64 151 28.07 87 103/60 71 192 78 46 130 2.7 1.18 2 4 3 -59 5 9
32.นางอุไร  มั่งประเสริฐ 84 168 29.76 110 180/117 99 252 175 58 159 81 168 28.70 110 131/85 108 195 143 39 127 -3 -1.06 0 9 -57 -32 -19 -32     นส.จริยา  มั่งประเสริฐ 90 172 30.42 100 124/73 97 190 235 42 96 86 172 29.07 94 107/75 97 190 234 46 102 -4 -1.35 -6 0 0 -1 4 6
33.น.ส.นงนุช ชังช่างเรือ 63 156 25.89 84 107/63 78 222 148 56 136 59 156 24.24 75 110/75 71 170 217 49 77 -4 -1.64 -9 -7 -52 69 -7 -59 นางสาวนงลักษณ์  ชังช่างเรือ 85 165 31.22 100 128/83 79 179 101 41 118 83 165 30.49 96 111/85 79 179 108 45 105 -2 -0.73 -4 0 0 7 4 -13
34.นางโสภา  เรืองมณี         54 145 25.68 77 102/78 80 242 199 52 150 52 145 24.73 76 108/64 76 269 132 61 182 -2 -0.95 -1 -4 27 -67 9 32
    นางมุดชะลิน  ดำอุดม 68 162 25.91 88 132/88 76 174 88 47 109 67 162 25.53 84 115/75 70 174 66 53 107 -1 -0.38 -4 -6 0 -22 6 -2
35.นายเชาวนิตย์  ปิ่นทอง 52.8 161 20.37 76 150/101 80 196 100 49 127 51 161 19.68 74 127/79 82 177 79 44 118 -1.8 -0.69 -2 2 -19 -21 -5 -9
    นางบุญหลง  ปิ่นทอง 48 143 23.47 87 129/87 79 240 123 49 166 44.5 143 21.76 77 124/71 79 212 164 39 140 -3.5 -1.71 -10 0 -28 41 -10 -26
36.นางเดือนพันธ์  ทองนาโพธิ์ 64.7 155 26.93 92 117/97 83 208 108 58 128 62.5 155 26.01 87.01 112/82 83 239 83 64 158 -2.2 -0.92 -4.99 0 31 -25 6 30
    นายประสิทธิ์  ปาณี         80 170 27.68 101 130/70 135 124 149 40 54 80 170 27.68 101 140/90 114 124 149 40 54 0 0.00 0 -21 0 0 0 0
37.นางยุพิน  หนูม่วง         64 162 24.39 84 121/72 91 201 127 58 118 57.9 162 22.06 79 103/62 81 197 73 68 114 -6.1 -2.32 -5 -10 -4 -54 10 -4
    นางโอภาส  สุขหลังสวน 61.6 158 24.68 78 123/74 79 190 144 46 115 61 158 24.44 79 122/76 95 203 119 56 124 -0.6 -0.24 1 16 13 -25 10 9
38.นางพยอม สุขหลังสวน 80 160 31.25 101 120/81 84 179 147 46 104 71 160 27.73 98 121/75 81 197 73 68 114 -9 -3.52 -3 -3 18 -74 22 10
    นายวิมล เกิดเขาทะลุ 78 175 25.47 90 135/78 97 258 344 41 148 77 175 25.14 90 154/84 96 258 344 41 109 -1 -0.33 0 -1 0 0 0 -39
39.นางประนอม  กุญแจทอง 58.8 156 24.16 78 154/96 109 197 367 43 81 59.5 156 24.45 76 164/92 172 217 209 53 122 0.7 0.29 -2 63 20 -158 10 41
    นายปัญญา  ภู่สุรัตน์         99 185 28.93 97 147/86 110 219 156 42 157 97 185 28.34 98 134/74 100 215 133 48 141 -2 -0.58 1 -10 -4 -23 6 -16
40.นางสุนิภา  พรหมสวัสดิ์ 73.5 156 30.20 94 120/83 105 187 247 59 79 73 156 30.00 89 128/77 116 183 164 72 79 -0.5 -0.21 -5 11 -4 -83 13 0
    นางสลักจิตร  จินาอู         65.4 145 31.11 92 130/76 79 172 132 51 95 63 145 29.96 88 140/75 78 174 130 51 100 -2.4 -1.14 -4 -1 2 -2 0 5
41.นางสังวร  เกตุสุวรรณ 68 165 24.98 78 133/78 87 184 134 39 118 67 165 24.61 77 125/72 78 187 114 50 115 -1 -0.37 -1 -9 3 -20 11 -3
    นายสุชาติ  เกตุสุวรรณ 69.5 165 25.53 93 143/84 62 160 110 80 58 67 165 24.61 86 125/75 62 159 111 78 99 -2.5 -0.92 -7 0 -1 1 -2 41
42.นายวิศาล  เพชรจร         70.5 161 27.20 86 145/81 79 144 158 35 77 72.2 161 27.85 91 135/82 98 230 262 44 134 1.7 0.66 5 19 86 104 9 57
    นางปราณี  ปานสกุล         58 155 24.14 83 161/108 76 177 138 52 97 59 155 24.56 83 138/111 74 192 157 51 110 1 0.42 0 -2 15 19 -1 13
43.นายพนม  นพชำนาญ 64.35 160 25.14 87 126/86 74 319 222 48 227 62.2 160 24.30 84 128/89 75 333 188 56 240 -2.15 -0.84 -3 1 14 -34 8 13
    นางอำนวย  ชนะ         68 155 28.30 88 142/78 84 172 136 49 96 66 155 27.47 84 155/91 97 159 132 46 87 -2 -0.83 -4 13 -13 -4 -3 -9
44.นางวิรงค์รอง  เอาไชย 60.4 157 24.50 84 116/78 85 176 96 50 107 58 157 23.53 82 114/71 87 175 68 68 93 -2.4 -0.97 -2 2 -1 -28 18 -14     นางรัตนา  แสงอุส่าห์ 86.1 165 31.63 109 118/70 79 139 198 38 61 75.5 165 27.73 87 132/79 81 169 104 51 97 -10.6 -3.89 -22 2 30 -94 13 36
45.นางสาวประภาภรณ์  นุ้ยสุข 52.75 162 20.10 77 119/80 86 229 138 57 144 51 162 19.43 76 114/75 83 173 155 61 80 -1.75 -0.67 -1 -3 -56 17 4 -64     นางวารุณี  บุญสิทธิ์         83.5 159 33.03 111 118/91 83 212 124 56 131 83 159 32.83 107 118/75 101 225 91 55 151 -0.5 -0.20 -4 18 13 -33 -1 20
46.นางมุกดา  แย้มศรี         57 150 25.33 84 120/82 88 205 147 60 116 57 150 25.33 79 129/80 88 215 189 62 116 0 0.00 -5 0 10 42 2 0
    นางเสาวนี  อินหอม         81 165 29.75 102 153/100 99 224 139 45 151 80 165 29.38 99 145/94 98 240 130 50 164 -1 -0.37 -3 -1 16 -9 5 13
47.นายสุธิศักดิ์  บุญสิทธิ์ 64 159 25.32 84 109/71 78 212 119 55 133 62 159 24.52 84 125/75 76 211 109 58 132 -2 -0.79 0 -2 -1 -10 3 -1
    นายธีรวัฒน์  ศิริพงษ์        116.2 183 34.70 122 122/76 68 204 163 51 120 113 183 33.74 122 129/86 91 192 125 41 126 -3.2 -0.96 0 23 -12 -38 -10 6
48.นางรุ่งกานต์  เกิดสุข         60 155 24.97 80 113/71 81 216 72 72 130 60 155 24.97 80 112/62 84 260 128 60 174 0 0.00 0 3 44 56 -12 44
    นางสุขศรี  นกมณี         62 167 22.23 82 131/73 81 177 108 74 81 62 165 22.77 84 137/72 87 294 135 70 197 0 0.54 2 6 117 27 -4 116
49.นางสาวมลิวัลย์  หีดนาคราม 58 155 24.14 80 111/76 80 213 90 52 143 56 155 23.31 76 117/85 74 210 82 55 139 -2 -0.83 -4 -6 -3 -8 3 -4
    นายวิรัช  รัตนภักดี         70 168 24.80 87 136/91 82 256 161 47 177 67 168 23.74 86 122/89 107 256 161 48 124 -3 -1.06 -1 25 0 0 1 -53
50.นางสาววันทนีย์  บุญอยู่ 60 155 24.97 80 127/86 76 244 115 52 169 56 155 23.31 73 110/72 72 222 95 53 150 -4 -1.66 -7 -4 -22 -20 1 -19     นางสาวกันทิมาย  บุญอยู่ 70 165 25.71 85 143/75 76 201 128 58 117 67 165 24.61 73 115/75 75 204 125 58 100 -3 -1.10 -12 -1 3 -3 0 -17
51.นางสาวสถาพร  ดำทุ่งหงษ์ 63.5 165 23.32 86 113/79 82 228 83 73 138 63 165 23.14 86 105/67 73 218 81 74 128 -0.5 -0.18 0 -9 -10 -2 1 -10     นายทนง  บุญอยู่         75 170 25.95 90 138/90 85 205 144 50 126 69 170 23.88 82 125/86 84 205 142 52 97 -6 -2.08 -8 -1 0 -2 2 -29
52.นางมาลี  ปรีชาเดช         76 157 30.83 92 134/87 95 124 112 40 62 76.2 157 30.91 92 140/86 112 143 133 44 72 0.2 0.08 0 17 19 21 4 10
    นายเสน่  ปรีชาเดช         84 170 29.07 95 135/75 85 197 239 38 111 82 176 26.47 92 141/87 85 186 235 40 105 -2 -2.59 -3 0 -11 -4 2 -6
53.น.ส.อุษา  นาคศิริ         59 150 26.22 84 128/90 112 182 136 50 105 57.5 150 25.56 84 134/83 105 198 167 54 111 -1.5 -0.67 0 -7 16 31 4 6
    นางอุไรภร  นาคศิริ         67.5 160 26.37 88 135/83 75 214 155 59 124 64 160 25.00 85 115/74 73 215 276 45 115 -3.5 -1.37 -3 -2 1 121 -14 -9
54.นางปราณี  คำนวน         61 153 26.06 83 119/85 74 203 206 81 81 61 153 26.06 80 135/75 73 200 175 83 82 0 0.00 -3 -1 -3 -31 2 1
    นางพรนภา  บุญล้ำ         79 165 29.02 87 135/67 85 170 76 45 110 79 165 29.02 93 110/57 85 166 74 41 110 0 0.00 6 0 -4 -2 -4 0
55.นายนิวัตร  ใจเย็น         62.5 171 21.37 83 128/77 91 121 108 34 65 63.5 171 21.72 84 125/75 83 200 149 70 110 1 0.34 1 -8 79 41 36 45
    นางกิตติวรรณ  ใจเย็น 60.1 158 24.07 87 137/80 89 219 156 74 114 55 158 22.03 75 115/68 84 200 152 74 111 -5.1 -2.04 -12 -5 -19 -4 0 -3
56.นางจันทร์แรม  บุญจร 58 150 25.78 79 122/81 97 126 81 43 67 58 150 25.78 79 115/75 74 233 165 45 122 0 0.00 0 -23 107 84 2 55
    นางรัตนา  ทองนาโพธิ์ 67 165 24.61 88 135/74 85 254 167 46 157 67 165 24.61 83 110/75 72 213 144 48 137 0 0.00 -5 -13 -41 -23 2 -20
57.นางขนิษฐา  แก้วยาว         58.5 145 27.82 89 130/78 88 171 224 44 82 58 145 27.59 87 135/82 96 206 150 54 122 -0.5 -0.24 -2 8 35 -74 10 40
    นางจรุณี  ล่องหลง         55 152 23.81 87 127/84 92 169 69 55 100 55 152 23.81 85 125/75 95 165 68 54 121 0 0.00 -2 3 -4 -1 -1 21
58.นางสุนิษา  ผลสุข         60 150 26.67 87 107/75 89 196 89 47 131 57 150 25.33 82 115/74 79 154 185 57 157 -3 -1.33 -5 -10 -42 96 10 26
    นายโสภณ  ผลสุข         70 160 27.34 95 135/75 84 169 197 52 78 70 160 27.34 91 120/74 75 156 123 54 77 0 0.00 -4 -9 -13 -74 2 -1
59.นางโสภา  สำลีร่วง         54.4 158 21.79 80 129/88 120 168 278 34 78 52.5 158 21.03 82 124/58 85 256 137 59 168 -1.9 -0.76 2 -35 88 -141 25 90
    นางกาญจนา  คงแสงแก้ว 65 165 23.88 84 129/70 86 267 136 56 184 66 165 24.24 86 145/84 94 235 164 54 149 1 0.37 2 8 -32 28 -2 -35
60.นางสุภาพร  นินมาลา 45 150 20.00 70 122/81 66 179 88 70 91 44.6 150 19.82 74 115/72 75 220 97 79 122 -0.4 -0.18 4 9 41 9 9 31
    นางเรณู  นาคแก้ว         52 159 20.57 79 146/88 78 250 86 66 167 52.3 159 20.69 72 148/80 78 236 91 61 157 0.3 0.12 -7 0 -14 5 -5 -10

จัดเก็บข้อมูลสถานการณ์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาสุขภาพชุมชนพัฒนาระบบฐานข้อมูลรายหมู่บ้าน ครั้งที่ 221 กุมภาพันธ์ 2566
21
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่ในหมู่บ้านเพื่อจัดทำข้อมูลกลุมเสี่ยงป่วย กลุ่มป่วยและกลุ่มสงสัยป่วย ที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 6 หมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ข้อมูลสถานการณ์การประเมินผลการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน หมู่ที่ 1,6,11,13,18, และหมู่ที่ 19  และพบปัญหาจากการลงพื้นที่ที่คาดว่าจะเป็นอุปสรรคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาเป็นฐานข้อมูลของผู้เข้าร่วมโครงการดังนี้ หมู่ที่ 1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 22 คน หญิง 19 คน ชาย 3 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
  2. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 1 ราย
  3. ไขมันในเลือด 2 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 13 คน
  4. ความดันและ BMI 1 คน
  5. รอบเอวเกิน 15 คน
  6. ปกติ 4 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  7. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  8. กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  9. ไม่ออกกำลังกาย
  10. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  11. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักและรอบเอวลดลง
  12. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ
  13. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน
  14. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม
  15. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  16. ยังคงมีบางคู่ที่ยังไม่มีการปรับเปลี่ยน คณะทำงานได้คอยติดตามและให้กำลังใจในการร่วมกิจกรรมกับคู่บัดดี้
  17. เวลาว่างจากการทำงานไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันกับคู่บัดดี้ได้
  18. มีโรคประจำตัว หรืออาการบาดเจ็บไม่สามารถทำกิจกรรมได้ สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่นศาลาหมู่บ้าน ม.1 ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) หมู่ที่ 6 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน หญิง 25 คน ชาย 2 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 6 ราย
  19. โรคหัวใจและหลอดเลือด 1 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน
  20. รอบเอวเกิน 7 คน
  21. ไขมันเลว 2 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  22. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  23. ไม่ออกกำลังกาย
  24. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  25. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน
  26. มีการกระตุ้นกันคู่บัดดี้อย่างสม่ำเสมอ
  27. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน
  28. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม
    สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่น ศาลาหมู่บ้าน ม.6 และที่ รพ.สต. ในการเต้นบาสโลบ และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ หมู่ที่ 11 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 21 คน หญิง 20 คน ชาย 1 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. โรคประจำตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 6 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน
  29. รอบเอวเกิน 8 คน
  30. ไขมันรวม 6 คน
  31. ไขมันเลว 3 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  32. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  33. ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
  34. ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  35. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักลดลงจำนวน 10 คน คงที่ 4 คน
  36. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นเตือน ชักชวนกันอย่างสม่ำเสมอ
  37. มีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิค ฮูลาฮุบ
  38. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง โดยการชักชวนของ อสม. มีการแลกเปลี่ยนผักที่ปลูกกันในหมู่บ้าน
  39. อสม.แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องปรุงรส ลด ละ เลิก
    ปัญหาอุปสรรค
  40. ยังคงมีบางคู่ที่ยังเฉยชา  อสม.ได้คอยติดตาม ให้กำลังใจ สร้างแรงบันดาลใจในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยใช้กลยุทธ์ร่วมกิจกรรมกับคู่บัดดี้ของตน สถานที่ออกกำลังกาย ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) รวมถึงการใช้พื้นที่วิ่งบนถนนในหมู่บ้าน หมู่ที่ 13 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 16 คน หญิง 10 คน ชาย 6 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วยจำนวน 4 ราย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
    1. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 3 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน และรอบเอวเกิน 9 คน
    2. เบาหวาน 1 คน
    3. ปกติ 2 คน
      การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  41. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  42. ไม่ออกกำลังกาย
  43. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  44. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามี น้ำหนักลด 2-3 กก. รอบเอวลด 2-5 ซม.จำนวน 2 ราย ลดน้ำหนักได้เยอะสุด ลด 6 กก. จำนวน 1 คน และลดได้ 4.5 กก. จำนวน 1 คน
  45. ควบคุมการรับประทานอาหาร ทานน้อยลง ปรับเปลี่ยนรูปแบบอาหารเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ(กินคลีน) ลดอาหารไขมันสูง
  46. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง
  47. มีการทำกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน แรงบันดาลใจจากในกลุ่ม
  48. อสม.พยอม สุขหลังสวน จากที่ก่อนเข้าร่วมโครงการ น้ำหนักตัว 80 กก. มีรอบเอว 109 ซม. จากการติดตาม 3 เดือน พบว่า ลดน้ำหนักลงไป 6 กก. รอบเอวลดลง 8 ซม. สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬา อบต.นาสัก และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) หมู่ที่ 18 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 12 คน หญิง 9 คน ชาย 3 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือด 5 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 12 คน
  49. รอบเอวเกิน 10 คน วิเคราะห์จากผลเลือด 1. ไขมันในเลือดสูง 8 คน
    1. ไขมันเลว 8 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  50. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  51. กินเหล้า สูบบุหรี่ มีความเสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
  52. ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย ทำงานหนัก มีความเครียด
  53. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนัก และรอบเอวลดลง 5 คน
  54. อสม.และคู่บัดดี้ คอยกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ
  55. มีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน เช่น วิ่ง เต้นคาดิโอ ฮูลาฮุบ บางคู่ยังเฉยชาต่อการชักชวนของบัดดี้ อสม.ได้คอยช่วยเหลือสร้างแรงบันดาลใจ
  56. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม อสม.เป็นแบบอย่างในการไม่ใช้เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ชักชวนให้คู่บัดดี้ ลดการใช้ไปด้วย
  57. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  58. เวลาว่างจากการทำงานไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันกับคู่บัดดี้ได้
  59. ยังไม่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพ ไม่ยอมรับการปรับเปลี่ยน ไม่เกิดแรงบันดาลใจ สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่น ศาลาหมู่บ้าน ม.18 ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้สลับกัน หมู่ที่ 19 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 22 คน หญิง 17 คน ชาย 5 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
  60. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 1 ราย
  61. ความดันโลหิตสูง 1 ราย
  62. ไขมันในเลือด 1 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน
  63. ความดันและ BMI 3 คน
  64. รอบเอวเกิน 15 คน
  65. ปกติ 4 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  66. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  67. การดื่มเหล้า สูบบุหรี่
  68. มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
  69. ไม่ออกกำลังกาย/ไม่เพียงพอ
  70. มีความเครียด ทำงานหนัก
  71. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักและรอบเอวลดลง จากการติดตามจำนวน 20 คน
  72. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ ให้การช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม
  73. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่นการปั่นจักรยาน
  74. ปรับการรับประทานอาหาร เช่นทาน 2 มื้อ เน้นทานผักมากๆ
  75. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  76. อสม.และคู่บัดดี้ไม่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เพราะไม่มีเวลา(บางคู่) สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬา อบต.นาสัก และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน)
ประสานความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องและกำหนดกติการ่วม7 ธันวาคม 2565
7
ธันวาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานผู้รับผิดชอบแต่ละหมู่บ้าน ได้เข้าร่วมประชุมประชาคมหมู่บ้านเพื่อเสนอร่างข้อตกลงสุขภาพชุมชนทั้ง 6 หมู่บ้าน คือหมู่ที่ 1,6,11,13,18 และหมู่ที่ 19

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานผู้รับผิดชอบแต่ละหมู่บ้าน ได้เข้าร่วมประชุมประชาคมหมู่บ้านเพื่อเสนอร่างข้อตกลงสุขภาพชุมชนทั้ง 6 หมู่บ้าน คือหมู่ที่ 1,6,11,13,18 และหมู่ที่ 19 เรื่องประสานขอความร่วมมือภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องและการกำหนดกติการ่วม โดยกำหนดให้มีการตั้งกติการ่วมกันในการดูแลสุขภาพจำนวน 6 ข้อ (ข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้าน...) โดยใช้ร่างข้อตกลงที่คณะทำงานได้ร่วมเสนอมา ดังนี้ 1. ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน ต้องตรวจสุขภาพประจำปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. การตระหนักรู้ และสามารถวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง รู้สภาวะสุขภาพของตนเอง (ผลกระทบสุขภาพ) 3. มีเป้าหมายร่วมกันในการดูแลสุขภาพของตนเอง   -การปลูกผักไว้รับประทานในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด   -การไม่รับประทานอาหาร รสหวาน มัน เค็มจัด -การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ -การไม่ดื่มสุราและไม่สูบบุหรี่ 4. ต้องมีการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพอย่างน้อย 80 % ของกลุ่มเป้าหมาย 5. มีการติดตามประเมินผลจากคณะทำงาน ทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน 6. การสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพ(ของรางวัล การชื่นชม) โดยข้อตกลงนี้ ให้อสม.จะต้องนำไปเสนอต่อที่ประชุมของแต่ละหมู่บ้าน และสามารถปรับได้ตามความต้องการของแต่ละหมู่บ้าน มติที่ประชุม เห็นชอบตามร่างข้อตกลงสุขภาพชุมชน และใช้ชื่อว่า “ข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้านนาสัก” ,ข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้านแก่งกระทั่ง ,ข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้านห้วยใหญ่ ,ข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้านทุ่งม่วง ,ข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้านน้ำลอดใหญ่ และข้อตกลงสุขภาพชุมชนบ้านตาหลัด

ติดตามผลการปรับเปลี่ยพฤติกรรมครั้งที่ 1 รอบ 3 เดือน -เยี่ยมเสริมพลัง ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และวางแผน29 พฤศจิกายน 2565
29
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานแต่ละหมู่นัดหมายทุกคน ในการส่งตรวจเลือด เพื่อให้ทราบผลทางห้องปฏิบัติการในการติดตามระยะ 3 เดือน 2.ตรวจวัดความดัน น้ำหนัก ส่วนสูงและการติดตามรอบเอวของทุกคน 3.บันทึกผลลงในสมุดบันทึกสุขภาพของตนเอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ข้อมูลส่วนตัว อสม.ต้นแบบ ข้อมูลสุขภาพเริ่มต้น ติดตาม 3 เดือน ผลการปรับเปลี่ยน 3 เดือน
ข้อมูลส่วนตัวคู่บัดดี้ ข้อมูลสุขภาพเริ่มต้น ติดตาม 3 เดือน    ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในรอบ 3 เดือน
ชื่อ-สกุล                                             น้ำหนัก ส่วนสูง(Cms.) BMI (kg/m2) รอบเอว(Cms.) "BP(mmHg)" FPG Total cholesterol Triglyceride HDL LDL 1.นายณัฐวัตร  เพชรโสม                082-2546159 105 175 34.29 115 128/82 99 190 314 30 97 101 175 32.98 111 128/85 93 -4 -1.31 -4 -6
  นายถิระ  กังวาลวรางกุล 084-1344680 90 172 30.42 92 125/75 75 216 128 48 142 90 172 30.42 91 122/85 73 0 0.00 -1 -2
2.นางสาวสุนิษา พลนาการ         081-797-0254 57 166 20.69 70 100/62 74 232 78 48 168 56 166 20.32 79 109/62 73 -1 -0.36 9 -1
  นางสาวพรนภา  เสือมาก 090-1691511 96 165 35.26 100 124/74 83 217 178 51 130 97 165 35.63 98 125/76 81 1 0.37 -2 -2
3.นางจริยา  วัชรานนท์         082-802-2424 58 156 23.83 80 128/86 83 196 94 73 104 54.6 156 22.44 77 156/86 88 -3.4 -1.40 -3 5
  นายกฤษณรักษ์  วัชรานนท์ 085-7954413 80 165 29.38 102 126/86 84 218 280 34 128 84 165 30.85 100 127/90 95 4 1.47 -2 11
4.นางอารีรัตน์  มากคณา 095-413-4894 80 167 28.69 102 116/85 92 213 870 27 113 78 167 27.97 98 126/82 93 -2 -0.72 -4 1
  นายกรกต  วัชรานนท์         086-0957365 76 165 27.92 91 126/80 96 187 305 34 92 72 165 26.45 89 115/96 118 -4 -1.47 -2 22
5.นางจงกล  ยิ่งอนันต์         095-413-4894 66 156 27.12 95 110/75 114 238 103 62 155 64 156 26.30 86 110/65 101 -2 -0.82 -9 -13   นางสาวจันจิรา  โชติกวานิชย์ 098-0477454 84 157 34.08 100 117/71 85 180 155 48 101 86.6 157 35.13 104 104/87 94 2.6 1.05 4 9
6.นางจรีย์  เหมะ                 087-892-7380 51.7 146 24.25 79 114/76 89 128 51 57 61 48.8 146 22.89 76 120/75 87 -2.9 -1.36 -3 -2
  นางสาวปพัชญา  แท่นจันทร์ 096-1484415 60 155 24.97 85 136/100 87 205 118 56 125 58.9 155 24.52 84 137/106 85 -1.1 -0.46 -1 -2
7.นางชุลีพร  รัตนไชย         099-3634897 69.9 167 25.06 88 122/79 79 223 118 48 151 61.1 167 21.91 79 128/80 72 -8.8 -3.16 -9 -7
  นางวิลาศ  บุญกวย         087-6274302 47.2 155 19.65 75 111/73 76 160 98 63 77 45.2 155 18.81 67 124/74 73 -2 -0.83 -8 -3
8.นางวิณา  แฉ่งฉลาด         062-691-8249 66.6 166 24.17 84 126/70 96 191 158 41 118 61.9 166 22.46 77 121/75 85 -4.7 -1.71 -7 -11   นายสิรวัชร์  แฉ่งฉลาด   085-1641621 96 175 31.35 110 153/120 74 191 329 40 85 95.7 175 31.25 108 155/121 102 -0.3 -0.10 -2 28
9.นางเกษร  พันธ์ทอง         062-156-5147 68.5 150 30.44 98 136/89 71 160 75 47 98 63.6 150 28.27 77 138/89 69 -4.9 -2.18 -21 -2
  นางสาวธนยา  จินาก้วน 084-5492769 59 156 24.24 74 141/84 87 172 152 44 98 62 156 25.48 81 113/75 89 3 1.23 7 2
10.น.ส.นิภา  แดงละอุ่น         093-3613994 94 160 36.72 108 129/86 86 153 134 50 76 92.5 160 36.13 106 125/76 85 -1.5 -0.59 -2 -1
    นางสาวจริยา  ภู่สุรัตน์ 093-6042423 74 165 27.18 92 120/95 81 167 90 56 93 73.2 165 26.89 91 123/97 81 -0.8 -0.29 -1 0
11.นางจิรพันธ์  ผลสุข         093-5936729 90 162 34.29 108 115/86 91 234 190 42 154 80 162 30.48 101 131/79 83 -10 -3.81 -7 -8
    นางสำอางค์  สอนสวัสดิ์ 086-0353808 70 155 29.14 92 145/100 96 228 204 56 131 70.8 155 29.47 89 148/102 112 0.8 0.33 -3 16
12.นางปิยวรรณ  พรหมดำ 082-8639939 65 161 25.08 89 132/82 86 199 128 44 129 61 161 23.53 81 130/68 80 -4 -1.54 -8 -6
    นางสาวกมลเนตร  ทวีกุล 081-0887286 71 153 30.33 94 122/84 82 220 118 51 145 66 153 28.19 90 130/92 88 -5 -2.14 -4 6
13.น.ส.เปรมา  แก้วเพชร 095-9453633 74.8 159 29.59 93 128/74 78 217 169 52 131 74 159 29.27 95 141/70 78 -0.8 -0.32 2 0
    นางสาวปฏีรา  เขียวแก้ว 095-8311529 97 164 36.06 102 96/72 89 184 119 63 97 96 164 35.69 100 134/76 87 -1 -0.37 -2 -2
14.นายพินิจ  นพชำนาญ 090-172-7166 62 175 20.24 88 111/77 86 176 225 45 86 60 174 19.82 85 98/65 78 -2 -0.43 -3 -8
    นางมาลัย  ศรีสินธุ์         093-6609734 63 153 26.91 84 119/86 68 197 142 56 113 64 153 27.34 82 131/86 96 1 0.43 -2 28
15.นางสาวอัญชลี  ศรีสินธ์ 098-723-6686 74 157 30.02 87 127/109 80 175 75 59 101 73 157 29.62 86 130/84 84 -1 -0.41 -1 4
    นางเนาวรัตน์  ด้วงนาโพธิ์ 087-2837226 50.5 147 23.37 76 119/76 79 157 80 56 85 51 147 23.60 74 122/77 87 0.5 0.23 -2 8
16.นางจันทนา  ศรีสุวรรณ 095-427-1427 84 150 37.33 103 124/84 166 257 143 46 182 82 150 36.44 102 140/85 179 -2 -0.89 -1 13
    นางสาววันวิสา  ชนะ         093-6611294 102 170 35.29 90 120/80 75 205 110 52 131 96 170 33.22 84 118/78 87 -6 -2.08 -6 12
17.นางสาวสุภาวดี  รอดนาโพธิ์ 091-206-3640 53.2 158 21.31 77 109/70 77 173 73 70 88 52.7 158 21.11 75 98/63 73 -0.5 -0.20 -2 -4
    นางศิริพร  ศรีสินธุ์         065-0548723 68 165 24.98 83 135/78 81 238 101 72 146 67 165 24.61 81 115/79 82 -1 -0.37 -2 1
18.นางสาวอทิตยา  นาคจินดา 087-168-8207 100.7 158 40.34 102 132/85 83 234 96 49 166 90 158 36.05 83 120/75 76 -10.7 -4.29 -19 -7
    นางสาวอัญชนา หญีตป้อม 065-3622853 123 165 45.18 125 114/70 96 241 129 43 172 117 165 42.98 121 125/73 101 -6 -2.20 -4 5
19.นางวิไล  ทองมี         089-292-3200 51.5 155 21.44 76 132/86 82 124 177 33 56 50.9 155 21.19 78 128/70 77 -0.6 -0.25 2 -5
    นางกาญจนา  แสงเมือง 087-8970499 79.6 172 26.91 95 128/81 82 209 78 42 151 78 172 26.37 90 117/73 92 -1.6 -0.54 -5 10
20.นางฉัตรสรุดา  เมืองจันทร์ 080-546-6668 75 165 27.55 92 118/64 84 181 96 49 114 72 165 26.45 88 107/64 79 -3 -1.10 -4 -5
    นางสุจงจิตร  คงแสงแก้ว 084-8578191 71 155 29.55 91 118/71 65 164 252 48 66 71 155 29.55 89 125/78 96 0 0.00 -2 31
21.นางมยุรี  เกิดสุข         084-858-4577 55 150 24.44 84 118/73 86 254 208 57 155 52 150 23.11 85 112/62 85 -3 -1.33 1 -1
    นางไพลิน  มากแก้ว         062-5068587 85 153 36.31 91 106/81 74 146 84 48 81 83 153 35.46 89 117/85 71 -2 -0.85 -2 -3
22.นางวิภาวรรณ  มะเต         098-072-0615 49.5 152 21.42 72 109/70 88 171 93 44 108 50.5 152 21.86 71 94/59 79 1 0.43 -1 -9
    นางสาวมยุรา  นรพันธุ์พงศ์ 080-6905692 79 180 24.38 84 128/78 81 106 61 57 37 83 180 25.62 82 131/80 83 4 1.23 -2 2
23.นางจีราพร  ล้วนเกษม 082-284-8589 75.95 165 27.90 90 129/77 89 164 155 27 106 73.8 165 27.11 90 126/84 81 -2.15 -0.79 0 -8
    นางปรานอม  เพชรคง 086-2712782 79.8 156 32.79 104 137/93 75 248 241 49 151 76 156 31.23 90 109/79 93 -3.8 -1.56 -14 18
24.นางอารีย์    สุขจบ         090-3199876 78 160 30.47 94 132/72 99 304 160 60 212 76 160 29.69 89 135/75 102 -2 -0.78 -5 3
    นางจตุพร  นาคมุสิก         080-6473289 65 154 27.41 83 123/80 82 199 72 91 94 64 154 26.99 82 94/70 83 -1 -0.42 -1 1
25.นางสุรางค์  สุวรรณเพชร 093-6522318 69 147 31.93 92 145/84 82 235 118 73 138 70 147 32.39 90 155/84 80 1 0.46 -2 -2
    นางจิตรา  บุญมี         098-7373102 62 150 27.56 91 143/84 91 169 157 50 88 63 150 28.00 91 122/70 100 1 0.44 0 9
26.นางอนงค์  สกุลแพทย์ 094-108-3081 62.5 160 24.41 88 110/67 85 284 174 53 196 61 160 23.83 82 110/73 83 -1.5 -0.59 -6 -2
    นางชำนาญ  มั่งประเสริฐ 080-1433650 72 156 29.59 98 174/78 85 187 179 43 108 73 156 30.00 98 162/89 101 1 0.41 0 16
27.นางจารี นินมาลา         096-958-9964 66.6 156 27.37 82 131/79 87 162 53 62 89 65.6 156 26.96 81 132/74 52 -1 -0.41 -1 -35     นางวันดี  นาคแก้ว         096-9096674 69.06 155 28.75 86 136/82 101 274 168 72 168 67.07 155 27.92 90 139/87 98 -1.99 -0.83 4 -3
28.นางอรีวรรณ  นัทธี         084-744-7347 48 150 21.33 71 111/86 80 225 156 58 136 48 150 21.33 70 129/93 89 0 0.00 -1 9
    นางประนอม  สินทรัพย์ 093-7595619 57 155 23.73 85 152/80 80 289 121 52 213 57 155 23.73 86 145/86 88 0 0.00 1 8
29.นางสุวรรณา  นัทธี         084-744-7347 51.9 162 19.78 72 125/88 98 255 175 67 152 51.1 162 19.47 72 123/86 85 -0.8 -0.30 0 -13     นางยุพิน  นัทธี         089-3595649 61 158 24.44 86 158/99 83 170 74 43 112 62.08 158 24.87 76 156/96 102 1.08 0.43 -10 19
30.นางประอร  กวยระคาน 084-7072432 85.6 165 31.44 108 165/112 140 134 154 47 56 84.2 165 30.93 104 137/97 121 -1.4 -0.51 -4 -19     นางศิมาภรณ์  รัตนะ         084-9714727 90 155 37.46 108 151/90 99 146 121 52 70 88 155 36.63 106 116/86 95 -2 -0.83 -2 -4
31.นางษุภัชญา เหมะ         062-2253459 59 145 28.06 85 130/88 88 160 90 52 90 57 145 27.11 80 139/88 93 -2 -0.95 -5 5
    นางสาวพรรณทิภา  พรหมมุณี 065-3970508 61.3 151 26.88 85 96/64 67 189 137 41 121 61 151 26.75 84 99/68 97 -0.3 -0.13 -1 30
32.นางอุไร  มั่งประเสริฐ         064-0145268 84 168 29.76 110 180/117 99 252 175 58 159 83 168 29.41 110 148/78 99 -1 -0.35 0 0
    นางสาวจริยา  มั่งประเสริฐ 098-0711052 90 172 30.42 100 124/73 97 190 235 42 96 86 172 29.07 94 105/74 148 -4 -1.35 -6 51
33.น.ส.นงนุช ชังช่างเรือ 098-0532714 63 156 25.89 84 107/63 78 222 148 56 136 59 156 24.24 75 104/71 65 -4 -1.64 -9 -13     นางสาวนงลักษณ์  ชังช่างเรือ 084-7441662 85 165 31.22 100 128/83 79 179 101 41 118 83 165 30.49 96 101/81 101 -2 -0.73 -4 22
34.นางโสภา  เรืองมณี         093-7202378 54 145 25.68 77 102/78 80 242 199 52 150 52.8 145 25.11 76 106/68 75 -1.2 -0.57 -1 -5
    นางมุดชะลิน  ดำอุดม 063-0603236 68 162 25.91 88 132/88 76 174 88 47 109 67 162 25.53 84 118/84 73 -1 -0.38 -4 -3
35.นายเชาวนิตย์  ปิ่นทอง 087-887-4430 52.8 161 20.37 76 150/101 80 196 100 49 127 50.9 161 19.64 72 123/80 84 -1.9 -0.73 -4 4
    นางบุญหลง  ปิ่นทอง 063-1732792 48 143 23.47 87 129/87 79 240 123 49 166 45.5 143 22.25 78 128/82 83 -2.5 -1.22 -9 4
36.นางเดือนพันธ์  ทองนาโพธิ์ 088-444-8678 64.7 155 26.93 92 117/97 83 208 108 58 128 60.7 155 25.27 87 107/75 79 -4 -1.66 -5 -4
    นายประสิทธิ์  ปาณี         081-0805240 80 170 27.68 101 156/96 135 125 149 40 54 80 170 27.68 101 140/90 114 0 0.00 0 -21
37.นางยุพิน  หนูม่วง         093-4717714 64 162 24.39 84 121/72 91 201 127 58 118 58.6 162 22.33 79 117/71 85 -5.4 -2.06 -5 -6
    นางโอภาส  สุขหลังสวน 098-0434762 61.6 158 24.68 78 123/74 79 190 144 46 115 60 158 24.03 79 138/76 89 -1.6 -0.64 1 10
38.นางพยอม สุขหลังสวน 065-3680563 80 160 31.25 101 120/81 84 179 147 46 104 72.3 160 28.24 99 121/77 79 -7.7 -3.01 -2 -5
    นายวิมล เกิดเขาทะลุ 087-4722450 78 175 25.47 90 135/78 97 258 344 41 148 78 175 25.47 90 154/85 96 0 0.00 0 -1
39.นางประนอม  กุญแจทอง 093-4717714 58.8 156 24.16 78 154/96 109 197 367 43 81 58.9 156 24.20 75 154/96 88 0.1 0.04 -3 -21     นายปัญญา  ภู่สุรัตน์         080-6926229 99 185 28.93 97 147/86 110 219 156 42 157 94.2 185 27.52 95 140/82 105 -4.8 -1.40 -2 -5
40.นางสุนิภา  พรหมสวัสดิ์ 087-8979652 73.5 156 30.20 94 120/83 105 187 247 59 79 72.5 156 29.79 89 123/83 98 -1 -0.41 -5 -7
    นางสลักจิตร  จินาอู                 086-2770755 65.4 145 31.11 92 130/76 79 172 132 51 95 63.9 145 30.39 89 117/82 107 -1.5 -0.71 -3 28
41.นางสังวร  เกตุสุวรรณ 064-3983711 68 165 24.98 78 133/78 87 184 134 39 118 67.2 165 24.68 78 129/79 82 -0.8 -0.29 0 -5
    นายสุชาติ  เกตุสุวรรณ 084-3095054 69.5 165 25.53 93 143/84 62 160 110 80 58 68.7 165 25.23 88 130/85 81 -0.8 -0.29 -5 19
42.นายวิศาล  เพชรจร         093-7941186 70.5 161 27.20 86 145/81 79 144 158 35 77 69 161 26.62 86 137/84 88 -1.5 -0.58 0 9
    นางปราณี  ปานสกุล         085-4759014 58 155 24.14 83 161/108 76 177 138 52 97 57.5 155 23.93 82 148/106 99 -0.5 -0.21 -1 23
43.นายพนม  นพชำนาญ 082-277-0386 64.35 160 25.14 87 126/86 74 319 222 48 227 62.5 160 24.41 83 130/85 72 -1.85 -4 -2
    นางอำนวย  ชนะ         080-2751903 68 155 28.30 88 142/78 84 172 136 49 96 67 155 27.89 87 149/53 84 -1 -0.42 -1 0
44.นางวิรงค์รอง  เอาไชย 082-812-2928 60.4 157 24.50 84 116/78 85 176 96 50 107 58.5 157 23.73 82 108/65 88 -1.9 -0.77 -2 3
    นางรัตนา  แสงอุส่าห์ 064-0533303 86.1 165 31.63 109 118/70 79 139 198 38 61 77 165 28.28 88 135/81 80 -9.1 -3.34 -21 1
45.นางสาวประภาภรณ์  นุ้ยสุข 082-817-7599 52.75 162 20.10 77 119/80 86 229 138 57 144 52.4 162 19.97 77 129/85 75 -0.35 -0.13 0 -11     นางวารุณี  บุญสิทธิ์         092-6258020 83.5 159 33.03 111 118/91 83 212 124 56 131 83 159 32.83 108 118/90 85 -0.5 -0.20 -3 2
46.นางมุกดา  แย้มศรี         061-216-2254 57 150 25.33 84 120/82 88 205 147 60 116 56 150 24.89 80 126/85 82 -1 -0.44 -4 -6
    นางเสาวนี  อินหอม         080-6948992 81 165 29.75 102 153/100 99 224 139 45 151 80 165 29.38 100 153/100 90 -1 -0.37 -2 -9
47.นายสุธิศักดิ์  บุญสิทธิ์ 061-2329737 64 159 25.32 84 109/71 78 212 119 55 133 62 159 24.52 84 125/75 76 -2 -0.79 0 -2
    นายธีรวัฒน์  ศิริพงษ์         087-2697475 116.2 183 34.70 122 122/76 68 204 163 51 120 114 183 34.04 122 122/85 70 -2.2 -0.66 0 2
48.นางรุ่งกานต์  เกิดสุข         098-0397937 60 155 24.97 80 113/71 81 216 72 72 130 60 155 24.97 80 115/72 71 0 0.00 0 -10     นางสุขศรี  นกมณี         063-0277353 62 167 22.23 82 131/73 81 177 108 74 81 62 167 22.23 82 130/73 80 0 0.00 0 -1
49.นางสาวมลิวัลย์  หีดนาคราม  080-247-2341 58 155 24.14 80 111/76 80 213 90 52 143 56 155 23.31 76 114/64 77 -2 -0.83 -4 -3
    นายวิรัช  รัตนภักดี         062-2387657 70 168 24.80 87 136/91 82 256 161 47 177 67 168 23.74 86 112/89 105 -3 -1.06 -1 23
50.นางสาววันทนีย์  บุญอยู่ 088-180-5655 60 155 24.97 80 127/86 76 244 115 52 169 57 155 23.73 74 121/75 72 -3 -1.25 -6 -4
    นางสาวกันทิมาย  บุญอยู่ 094-5809832 70 165 25.71 85 143/75 76 201 128 58 117 67 165 24.61 73 118/83 81 -3 -1.10 -12 5
51.นางสาวสถาพร  ดำทุ่งหงษ์ 088-442-8453 63.5 165 23.32 86 113/79 82 228 83 73 138 61.2 165 22.48 84 128/78 79 -2.3 -0.84 -2 -3
    นายทนง  บุญอยู่         095-9378685 75 170 25.95 90 138/90 85 205 144 50 126 69 170 23.88 82 126/92 89 -6 -2.08 -8 4
52.นางมาลี  ปรีชาเดช         081-3673957 76 157 30.83 92 134/87 95 124 112 40 62 75 157 30.43 90 138/89 145 -1 -0.41 -2 50
    นายเสน่  ปรีชาเดช         082-2820723 84 170 29.07 95 135/75 85 197 239 38 111 82 170 28.37 93 140/89 84 -2 -0.69 -2 -1
53.น.ส.อุษา  นาคศิริ         096-2137136 59 150 26.22 84 128/90 112 182 136 50 105 57.1 150 25.38 82 132/91 108 -1.9 -0.84 -2 -4
    นางอุไรภร  นาคศิริ         089-5896407 67.5 160 26.37 88 135/83 75 214 155 59 124 64 160 25.00 85 116/76 65 -3.5 -1.37 -3 -10
54.นางปราณี  คำนวน         085-7980538 61 153 26.06 83 119/85 74 203 206 81 81 61 153 26.06 80 133/80 72 0 0.00 -3 -2
    นางพรนภา  บุญล้ำ         093-5828838 79 165 29.02 87 135/67 85 170 76 45 110 79 165 29.02 93 114/66 108 0 0.00 6 23
55.นายนิวัตร  ใจเย็น         093-7574599 62.5 171 21.37 83 128/77 91 121 108 34 65 63.5 171 21.72 84 132/81 85 1 0.34 1 -6
    นางกิตติวรรณ  ใจเย็น 093-7574599 60.1 158 24.07 87 137/80 89 219 156 74 114 55 158 22.03 76 117/75 78 -5.1 -2.04 -11 -11
56.นางจันทร์แรม  บุญจร 089-5926568 58 150 25.78 79 122/81 97 126 81 43 67 58.2 150 25.87 79 127/74 105 0.2 0.09 0 8
    นางรัตนา  ทองนาโพธิ์ 098-6720554 67 165 24.61 88 135/74 85 254 167 46 157 67 165 24.61 83 99/72 85 0 0.00 -5 0
57.นางขนิษฐา  แก้วยาว         088-6495328 58.5 145 27.82 89 130/78 88 171 224 44 82 57 145 27.11 86 129/78 89 -1.5 -0.71 -3 1
    นางจรุณี  ล่องหลง         061-4565615 55 152 23.81 87 127/84 92 169 69 55 100 55 152 23.81 85 135/75 91 0 0.00 -2 -1
58.นางสุนิษา  ผลสุข         098-0212945 60 150 26.67 87 107/75 89 196 89 47 131 58.7 150 26.09 83 111/72 84 -1.3 -0.58 -4 -5
    นายโสภณ  ผลสุข         098-0212945 70 160 27.34 95 135/75 84 169 197 52 78 70 160 27.34 91 125/79 100 0 0.00 -4 16
59.นางโสภา  สำลีร่วง         093-7806960 54.4 158 21.79 80 129/88 120 168 278 34 78 52.4 158 20.99 80 119/54 120 -2 -0.80 0 0
    นางกาญจนา  คงแสงแก้ว         081-8918594 65 165 23.88 84 129/70 86 267 136 56 184 66 165 24.24 86 132/87 80 1 0.37 2 -6
60.นางสุภาพร  นินมาลา 089-393-6635 45 150 20.00 70 122/81 66 179 88 70 91 44.6 150 19.82 74 117/80 71 -0.4 -0.18 4 5
    นางเรณู  นาคแก้ว         085-7874462 52 159 20.57 79 146/88 78 250 86 66 167 52.05 159 20.59 80 133/91 71 0.05 0.02 1 -7

การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 421 พฤศจิกายน 2565
21
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.นัดหมายคณะทำงานโครงการ จำนวน 30 คน 2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุม 3.ผู้รับผิดชอบแต่ละหมู่บ้านนำเสนอการดำเนินและการติดตามในกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ 3.เสนอร่างข้อตกลงชุมชนจำนวน 6 ข้อ 4.การเสนอแผนงานโครงการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลังการตรวจคัดกรอง เสนอเข้า กองทุน กปท.จำนวน 6 โครงการ 5.สรุปการประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีข้อมูลรายหมู่บ้าน (จำนวนผู้เข้าร่วม การวิเคราะห์ปัจจัย-พฤติกรรมเสี่ยง ปัญหา-อุปสรรคระหว่างการดำเนินการ)   -การติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯของผู้เข้าร่วมโครงการ ในระยะเดือนที่ 3 (ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และวางแผนการ) โดยการนำเสนอกิจกรรมการปรับเปลี่ยนในภาพรวมของคู่บัดดี้รายหมู่บ้าน (ระบุผู้เข้าร่วมโครงการ วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงภาพรวม การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะแรก และปัญหาอุปสรรค) สรุปได้ดังนี้ หมู่ที่ 1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 22 คน หญิง 19 คน ชาย 3 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย
1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย 2. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 1 ราย 3. ไขมันในเลือด 2 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 13 คน 2. ความดันและ BMI 1 คน 3. รอบเอวเกิน 15 คน 4. ปกติ 4 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง 1. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม 2. กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน 3. ไม่ออกกำลังกาย 4. พักผ่อนน้อย มีความเครียด 5. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักและรอบเอวลดลง 1. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ 2. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน 3. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม
4. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค 1. ยังคงมีบางคู่ที่ยังไม่มีการปรับเปลี่ยน คณะทำงานได้คอยติดตามและให้กำลังใจในการร่วมกิจกรรมกับคู่บัดดี้ 2. เวลาว่างจากการทำงานไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันกับคู่บัดดี้ได้ 3. มีโรคประจำตัว หรืออาการบาดเจ็บไม่สามารถทำกิจกรรมได้ สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่นศาลาหมู่บ้าน ม.1 ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) หมู่ที่ 6 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน หญิง 25 คน ชาย 2 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย
1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 6 ราย 2. โรคหัวใจและหลอดเลือด 1 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน 2. รอบเอวเกิน 7 คน 3. ไขมันเลว 2 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง 1. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม 2. ไม่ออกกำลังกาย 3. พักผ่อนน้อย มีความเครียด 4. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน
1. มีการกระตุ้นกันคู่บัดดี้อย่างสม่ำเสมอ 2. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน 3. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม
สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่น ศาลาหมู่บ้าน ม.6 และที่ รพ.สต. ในการเต้นบาสโลบ และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ หมู่ที่ 11 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 21 คน หญิง 20 คน ชาย 1 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย
1. โรคประจำตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 6 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน 2. รอบเอวเกิน 8 คน 3. ไขมันรวม 6 คน 4. ไขมันเลว 3 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง 1. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม 2. ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 3. ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย มีความเครียด 4. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักลดลงจำนวน 10 คน คงที่ 4 คน 1. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นเตือน ชักชวนกันอย่างสม่ำเสมอ
2. มีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิค ฮูลาฮุบ
3. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง โดยการชักชวนของ อสม. มีการแลกเปลี่ยนผักที่ปลูกกันในหมู่บ้าน 4. อสม.แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องปรุงรส ลด ละ เลิก
ปัญหาอุปสรรค 1. ยังคงมีบางคู่ที่ยังเฉยชา  อสม.ได้คอยติดตาม ให้กำลังใจ สร้างแรงบันดาลใจในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยใช้กลยุทธ์ร่วมกิจกรรมกับคู่บัดดี้ของตน สถานที่ออกกำลังกาย ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) รวมถึงการใช้พื้นที่วิ่งบนถนนในหมู่บ้าน หมู่ที่ 13 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 16 คน หญิง 10 คน ชาย 6 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วยจำนวน 4 ราย
1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย 2. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 3 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง
1. BMI เกิน และรอบเอวเกิน 9 คน

  1. เบาหวาน 1 คน

  2. ปกติ 2 คน
    การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง

  3. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  4. ไม่ออกกำลังกาย
  5. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  6. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามี น้ำหนักลด 2-3 กก. รอบเอวลด 2-5 ซม.จำนวน 2 ราย ลดน้ำหนักได้เยอะสุด ลด 6 กก. จำนวน 1 คน และลดได้ 4.5 กก. จำนวน 1 คน
  7. ควบคุมการรับประทานอาหาร ทานน้อยลง ปรับเปลี่ยนรูปแบบอาหารเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ(กินคลีน) ลดอาหารไขมันสูง
  8. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง
  9. มีการทำกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน แรงบันดาลใจจากในกลุ่ม
  10. อสม.พยอม สุขหลังสวน จากที่ก่อนเข้าร่วมโครงการ น้ำหนักตัว 80 กก. มีรอบเอว 109 ซม. จากการติดตาม 3 เดือน พบว่า ลดน้ำหนักลงไป 6 กก. รอบเอวลดลง 8 ซม. สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬา อบต.นาสัก และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) หมู่ที่ 18 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 12 คน หญิง 9 คน ชาย 3 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือด 5 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง
  11. BMI เกิน 12 คน
  12. รอบเอวเกิน 10 คน วิเคราะห์จากผลเลือด
  13. ไขมันในเลือดสูง 8 คน

  14. ไขมันเลว 8 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง

  15. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  16. กินเหล้า สูบบุหรี่ มีความเสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
  17. ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย ทำงานหนัก มีความเครียด
  18. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนัก และรอบเอวลดลง 5 คน
  19. อสม.และคู่บัดดี้ คอยกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ
  20. มีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน เช่น วิ่ง เต้นคาดิโอ ฮูลาฮุบ บางคู่ยังเฉยชาต่อการชักชวนของบัดดี้ อสม.ได้คอยช่วยเหลือสร้างแรงบันดาลใจ
  21. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม อสม.เป็นแบบอย่างในการไม่ใช้เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ชักชวนให้คู่บัดดี้ ลดการใช้ไปด้วย
  22. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  23. เวลาว่างจากการทำงานไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันกับคู่บัดดี้ได้
  24. ยังไม่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพ ไม่ยอมรับการปรับเปลี่ยน ไม่เกิดแรงบันดาลใจ สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่น ศาลาหมู่บ้าน ม.18 ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้สลับกัน หมู่ที่ 19 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 22 คน หญิง 17 คน ชาย 5 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย
  25. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
  26. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 1 ราย
  27. ความดันโลหิตสูง 1 ราย
  28. ไขมันในเลือด 1 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง
  29. BMI เกิน 9 คน
  30. ความดันและ BMI 3 คน
  31. รอบเอวเกิน 15 คน
  32. ปกติ 4 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  33. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  34. การดื่มเหล้า สูบบุหรี่
  35. มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
  36. ไม่ออกกำลังกาย/ไม่เพียงพอ
  37. มีความเครียด ทำงานหนัก
  38. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักและรอบเอวลดลง จากการติดตามจำนวน 20 คน
  39. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ ให้การช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม
  40. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่นการปั่นจักรยาน
  41. ปรับการรับประทานอาหาร เช่นทาน 2 มื้อ เน้นทานผักมากๆ
  42. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  43. อสม.และคู่บัดดี้ไม่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เพราะไม่มีเวลา(บางคู่) สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬา อบต.นาสัก และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน)

2.มีร่างข้อตงลงสุขภาพชุมชนจำนวน 6 ข้อ         1. ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน ต้องตรวจสุขภาพประจำปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. การตระหนักรู้ และสามารถวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง รู้สภาวะสุขภาพของตนเอง (ผลกระทบสุขภาพ) 3. มีเป้าหมายร่วมกันในการดูแลสุขภาพของตนเอง   -การปลูกผักไว้รับประทานในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด   -การไม่รับประทานอาหาร รสหวาน มัน เค็มจัด -การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ -การไม่ดื่มสุราและไม่สูบบุหรี่ 4. ต้องมีการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพอย่างน้อย 80 % ของกลุ่มเป้าหมาย 5. มีการติดตามประเมินผลจากคณะทำงาน ทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน 6. การสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพ(ของรางวัล การชื่นชม) โดยข้อตกลงนี้ ให้อสม.จะต้องนำไปเสนอต่อที่ประชุมของแต่ละหมู่บ้าน และสามารถปรับได้ตามความต้องการของแต่ละหมู่บ้าน 3.การเสนอแผนงานโครงการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลังการตรวจคัดกรอง เสนอเข้า กองทุน กปท.จำนวน 6 โครงการ โดยเป็นแผนงานโครงการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ. 2ส. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในหมู่บ้าน ประกอบด้วย
1. แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 1 2. แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 6 3. แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 11 4. แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 13 5. แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 18 6.แผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส. หมู่ที่ 19 มติที่ประชุม เห็นชอบกับร่างแผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ตามหลัก 3อ. 2ส.ของทุกหมู่บ้าน

การประเมินผล ARE ครั้งที่ 1 ของ Node Flagship ชุมพร31 ตุลาคม 2565
31
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ผู้เข้าร่วมจาก 25 โครงการ โครงการละ 3 คน ของ รพ.สต.แก่งกระทั่ง มีดังนี้1.นายพินิจ นพชำนาญ 2.นางจริยา วัชรานนท์ 3.นางอารีรัตน์ มากคณา 2.นายทวีวัตร เครือสาย ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตามประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานโครงการย่อย 3.รายงานการจัดเก็บ การนำใช้ข้อมูลสารสนเทศในระบบประเด็นสุขภาวะโครงการ Node Flagship  ได้แก่เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ  การจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่
4.แบ่งกลุ่มย่อยติดตามประเมินผลลัพธ์ 4 กลุ่ม สังเคราะห์ภาพรวม
5.นำเสนอผลการประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การติดตามประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานโครงการย่อยของโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บ้านแก่งกระทั่ง ได้ดังนี้ 1)มีบทเรียนหรือข้อค้นพบสำคัญใดบ้าง   -การใช้กลยุทธ์คู่บัดดี้ ทำให้เิกดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการกระตุ้น การสร้างแรงบันดาลใจให้กันทำให้ไม่เบื่อหน่าย สร้างความอดทนได้ เพราะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้นเป็นสิ่งที่ยากมาก หากใจไม่เข้งแข็งพอ 2)โครงการย่อยมีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแล้ว มีตัวบ่งชี้ความสำเร็จอะไรบ้าง   - มีคณะทำงานที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพ การคิด วิเคราะห์ชุมชน การทำงานเป็นทีม การสำรวจศักยภาพของชุมชนที่มีผลต่อการหนุนเสริมในการทำงาน จำนวน 30 คนจาก 6 หมู่บ้านของเขตบริการ รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง
  - มีการทบทวนสถานการณ์ และพัฒนาระบบข้อมูลรายหมู่บ้าน   - คณะทำงานกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ข้อมูลจากการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันของ อสม. โดยกำหนดกลุ่มเสี่ยง กลุ่มกลุ่ม โรคเรื้อรังมาเข้าร่วมโครงการ และกำหนดให้แต่ละหมู่มี อสม.จับคู่บัดดี้กับกลุ่มเป้าหมา หมู่ละ 6-12 คู่(ตามขนาดของประชากรแต่ละหมู่)   - คณะทำงานมการกำหนดแผนงานการขับเคลื่อนงาน/กิจกรรมในระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่ 1พ.ค.65-30 เม.ย.66   -การอบรม อสม.และคู่บัดดี้ จำนวน 60 คู่ ให้เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยใช้กรอบคิด Health Literacy เข้าถึงแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เข้าใจมีความรู้ โต้ตอบซักถามแลกเปลี่ยน ตัดสินใจนำไปใช ปรับใช้ให้เหมาะสม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถบอกต่อหรือเป็นแบบอย่างที่ดีได้ โดยใช้หลัก 3อ 2สในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รวมถึงมีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการอาหารปลอดภัย ปลอดสารเคมีในครัวเรือนและชุมชน ๒)ความสำเร็จนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร  ใครทำ ใครช่วยบ้าง เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพ ดังนี้
  -สสอ.สวี รพ.สวี และรพ.สต สนับสนุนความรู้ด้านวิชาการ การสร้างเครื่องเพื่อช่วยในการดำเนินงาน/การติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คือ สมุดบันทึกสุขภาพ สายวัดสกัดพุงในการติดตามภาวะอ้วนลงพุงของผู้เข้ารร่วมโครงการ   -สสอ.สวีและรพ.สวี สนับสนุนการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงได้ทราบสถานสุขภาพของตนเองก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ(การติดตามระยะเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน)
  -ผู้นำท้องที่-ท้องถิ่น การประสานพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมโครงการ รวมถึงการประสานใช้พื้นที่กลาง เช่น ศาลาหมู่บ้านหรือลานกีฬาในการออกกำลังกายหรือการพบปะทำกิจกรรมของคู่บัดดี้
๓)จะทำอย่างไรต่อไปให้บรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งไว้   -การกระตุ้นเตือน การสร้างแรงบันดาลใจในคู่บัดดี้ และเปลี่ยนกันเพื่อให้ไม่ท้อในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การจัดการเวลาให้ได้ร่วมทำกิจกรรมกัน

การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 39 กันยายน 2565
9
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการเตรียมความพร้อม วัสดุ อุปกรณ์ในการเรียนรู้เรื่องการปลูกผักในแปลงสาธิต 1.การสาธิตการทำปุ๋ยหมักพืชสด ใช้วัสดุคือ อ้อย หญ้าเนเปียร์ ขี้ไก่ น้ำหมักปลา กากน้ำตาล สารพด. หมักทุกอย่างไว้เป็นเวลา 2 เดือนหรือวัสดุย่อยสลายดีจึงใช้ได้ เป็นปุ๋ยสำหรับแปลงผักในครัวเรือน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี 2.การสาธิตการทำน้ำหมักกำจัดศัตรูพืช ใชวัสดุ ยาเส้น น้ำส้มสายชู เหล้าขาว หมักไว้ ใช้ได้เลย 3.สาธิตการปลูกผักสลัดและแปลงผักสวนครัว ที่รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าอบรมและอสม.ต้นแบบสามารถนำความรู้ไปใช้ในการปลูกผักรับประทานในครัวเรือน
  2. ขยายต่อให้กับบุคคลอื่นในชุมชนเพื่อให้ลดค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี
  3. มีความปลอดภัยต่อสุขภาพขึ้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพในระยะยาว
การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคและปัจจัยเสี่ยง อาหาร/โภชนาการ การปลูกผักกินเอง การออกกำลังกายเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพให้แก่กลุ่มเสี่ยง9 กันยายน 2565
9
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ผู้เข้าร่วมอบรมบันทึกข้อมูลสุขภาพของตนเองลงในสมุดบันทึกประจำตัว 2.วิทยากร นางสาวหฤทัย ไทยวงษ์ ให้ความรู้เรื่องโรคและปัจจัยเสี่ยง โภชนาการ การปลูกผักกินเองและการออกกำลังกาย 3.เรียนรู้กิจกรรมการปลูกผักกินเองและการใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ปลอดภัยจากแปลงผักสาธิตร่วมกับ อสม.ต้นแบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รูปแบบการจัดกิจกรรม (เล่าลักษณะกิจกรรมที่จัดขึ้นจริง) 1.ผู้เข้าร่วมอบรมบันทึกข้อมูลสุขภาพของตนเองลงในสมุดบันทึกประจำตัว 2.วิทยากร นางสาวหฤทัย ไทยวงษ์ ให้ความรู้เรื่องโรคและปัจจัยเสี่ยง โภชนาการ การปลูกผักกินเองและการออกกำลังกาย 3.เรียนรู้กิจกรรมการปลูกผักกินเองและการใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ปลอดภัยจากแปลงผักสาธิตร่วมกับ
อสม.ต้นแบบ ผลหรือสิ่งที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม
1. ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับทราบผลการตรวจสุขภาพในระยะก่อนเข้าร่วมโครงการ 2. ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้จากวิทยากรในเรื่องความรู้เรื่องโรคและปัจจัยเสี่ยงสามารถประเมินผลการตรวจสุขภาพของตน ตลอดจนได้รับความรู้เรื่องโภชนาการ การออกกำลังกาย เพื่อนำไปปฎิบัติสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3. ผู้เข้าร่วมอบรมและอสม.ต้นแบบได้เรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักกินเองภายในครัวเรือน การทำน้ำหมักกำจัดศัตรูพืชและการทำปุ๋ยหมักพืชสดใช้เอง

ปัญหา/อุปสรรค และ แนวทางการแก้ไข

ประสานพื้นที่กลางเพื่อจัดทำกิจกรรมร่วมกันของชุมชน25 สิงหาคม 2565
25
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประธานอสม.แต่ละหมู่จัดหาสถานที่เพื่อทำกิจกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน และใช้ลานกีฬา อบต.นาสักเป็นสถานที่ขนาดใหญ่ที่สามารถไปทำกิจกรรมร่วมกันได้หลายคน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีสถานที่ออกกำลังกายร่วมกัน เช่นสนามกีฬา อบต.นาสัก มีผู้ไปออกกำลังกายประมาณ 15 คน ในหมู่บ้านมีสถานที่ เช่นศาลาหมู่บ้าน รพ.สต.ใช้บริเวณห้องประชุมชมรม อสม.ในการเต้นแอโรบิค

การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 219 สิงหาคม 2565
19
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะทำงานโครงการตามแผนงานกิจกรรมจำนวน 30 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประเมินผลกิจกรรมโครงการที่ดำเนินการไปแล้ว 2.เตรียมการอบรมคู่บัดดี้ในวันที่ 9 กย.65

การอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.เป็นต้นแบบด้านความรอบรู้สุขภาพ และจับคู่ซี้บัดดี้ในกลุ่มเป้าหมายเพื่อร่วมกันทำกิจกรรมปรับเปลี่ยน18 สิงหาคม 2565
18
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.แกนนำ อสม.หมู่บ้านละ 10 คน จำนวน 60 คน 2.คัดกรองสุขภาพผู้เข้าอบรมและบันทึกสมุดสุขภาพของตนเอง 3.อบรมพัฒนาศักยภาพทักษะความรู้ ทักษะการสื่อสารให้เป็น อสม.ต้นแบบด้านความรอบรู้สุขภาพ(รู้ตัวตน ค้นหาความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำผลลัพธ์สู่ชุมชน) เป็นเวลา 1 วัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้แกนนำ อสม.หมู่บ้านละ  10 คน จำนวน 60 คน เป็น อสม.ต้นแบบทักษะความรู้ ทักษะการสื่อสารให้เป็น อสม.ต้นแบบด้านความรอบรู้สุขภาพ(รู้ตัวตน ค้นหาความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำผลลัพธ์สู่ชุมชน) 2.ได้สภาวะสุขภาพของตนเองจากการคัดกรองสุขภาพ และเรียนรู้เรื่องสภาวะโรคของแต่ละคน

ประชุมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์30 กรกฎาคม 2565
30
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เรียนรู้ระบบขั้นตอน/เครื่องมือและสิ่งสำคัญในการบันทึกข้อมูลโครงการย่อยเข้าระบบออนไลน์ 2.ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้จัดเก็บมีความรู้และสามารถบันทึกเข้าระบบได้ 2.ได้ข้อมูลรายงานความก้าวหน้าของโครงการย่อย

ประชุมชี้แจงคณะทำงานกลุ่มเป้าหมายระดับหมู่บ้านและจัดทำแผนการขับเคลื่อน18 กรกฎาคม 2565
18
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดประชุมชี้แจงคณะทำงานกลุ่มเป้าหมายพื้นที่เพื่อรับรู้และร่วมจัดทำแผนการขับเคลื่อนงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้แผนงานกิจโครงการตลอดระยะเวลาโครงการ

อบรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน18 กรกฎาคม 2565
18
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การนำเสนอสภาพของปัญหาในพื้นที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับพื้น ต.เขาทะลุ ต.ช่องไม้แก้ว
  2. การวิเคราะห์แผนที่ชุมชน เพื่อให้เกิดข้อมูล ทุน ศักยภาพชุมชน คน สิ่งแวดล้อม
  3. การนำเสนอข้อมูลจากแผนที่ชุมชนทั้ง 6 หมู่บ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเก็บรวบรวมเป็นฐานข้อมูลของ รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง
  4. ประชุมชี้แจงคณะทำงานกลุ่มเป้าหมายระดับหมู่บ้านและจัดทำแผนการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างความรับรู้และร่วมจัดทำแผนการขับเคลื่อนงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้คณะทำงานที่มีศักยภาพในการ คิด วิเคราะห์ข้อมูลชุมชน
  2. ได้ข้อมูลแผนที่ชุมชน เป็นฐานข้อมูลที่จะต้องนำมาวิเคราะห์เพื่อหนุนเสริมการทำงานในพื้นที่ต่อไป
  3. คณะทำงานกลุ่มเป้าหมายระดับหมู่บ้านวางแผนการขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างความรับรู้ กลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรมอบรมเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทบทวนสถานการณ์ปัญหาสุขภาพชุมชนพัฒนาระบบฐานข้อมูลรายหมู่บ้าน24 มิถุนายน 2565
24
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่ในบ้านกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำข้อมูลกลุมเสี่ยงป่วย กลุ่มป่วยและกลุ่มสงสัยป่วย ในทุกหมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน หมู่ที่ 1,6,11,13,18, และหมู่ที่ 19 ต.นาสัก อ.สวี จ.ชุมพร มาเป็นฐานข้อมูลในระดับสถานบริการ
  2. พบปัญหาจากการลงพื้นที่ที่คาดว่าจะเป็นอุปสรรคในการดำเนินการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 124 มิถุนายน 2565
24
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเป็นกลไกการขับเคลื่อนงานโครงการจากแกนนำ อสม.ทุกหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และทีมสนับสนุนด้านวิชาการจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสวี
  2. การนำเสนอสถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนทั้ง 6 หมู่บ้าน และรวบรวมเป็นฐานข้อมูลสถานการณ์ของ รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่ง
  3. การคลี่บันไดผลลัพธ์ เพื่อกำหนดแผนงานโครงการตามบันไดที่ตั้งไว้ ให้เหมาะสมกับห้วงระยะเวลาในการทำกิจกรรม 1 ปี
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้คณะทำงานเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 30 คน และกำหนดบทบาทความรับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละบุคคล
  2. ได้ข้อมูลสถานการณ์ของชุมชนเพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะต้องนำมาวิเคราะห์เพื่อจัดการปัญหาต่อไป
  3. ได้แผนงานการปฏิบัติงานในการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อให้โครงการบรรลุสู่จุดหมายที่ตั้งไว้
จัดทำป้ายไวนิลและตรายาง20 มิถุนายน 2565
20
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จ้างร้านเจริญการพิมพ์ในการจัดทำป้ายไวนิลป้ายชื่อโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ป้ายจำนวน 3 ป้าย

การประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อย(Node Flagship Chumphon)4 มิถุนายน 2565
4
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่ 4 มิถุนายน 2565
1.การเรียนรู้ร่วมกันเชื่อมพลังผู้นำการเปลี่ยนแปลง การทำงานการวิเคราะห์ หรือการใช้มุมมองต่างมุมแต่สามารถเชื่อมโยงกระบวนการทำงาน เชื่อมพลังไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ให้สำเร็จ โดยดร.ฉันทวรรณ เอ่งฉ้วน จากมหาลัยแม่โจ้ ชุมพร 2.พิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัตการปฐมนิเทศโครงการย่อย ปี 2565 (Node Flagship Chumphon) ของสำนักสร้างสรรค์โอกาส(สสส.สน.6) เพื่อสนับสนุนเป้าหมายและการดำเนินงานโครงการการสร้างสุขชุมพร และโครงการย่อยระดับพื้นที่ โดยผู้แทน สสส.สน.6 และคุณทวีวัตร เครือสาย 3.การปฏิบัติการกลุ่มร่วมกันเพื่อคลี่เคลื่อนบันไดผลลัพธ์ เรียนรู้แผนงานโครงการย่อยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของชมรม อสม.รพ.สต.บ้านแก่งกระทั่งและชมรมผู้สูงอายุตำบลเขาทะลุ โดย คุณวิษณุ ทองแก้ว พี่เลี้ยงโครงการ วันที่ 5 มิถุนายน 2565
4.เรียนรู้การบริหารจัดการด้านการเงิน เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้อง รัดกุมโปร่งใสและตรวจสอบได้ รวมทั้งเตรียมพร้อมในการบันทึกกิจกรรมรายงานระบบออนไลน์ในครั้งถัดไป โดย
คุณพัลลภา ระสุโส๊ะ
5.เวทีเสวนาการขับเคลื่อนงานประเด็นเกษตรการปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัยเชื่อมประเด็นงานการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ เพื่อผลลัพธ์สู่การมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์จังหวัดชุมพร โดย ดร.ชุมพล อังคณานนท์ ปลัดธีรนันต์ ปราบปราย และคุณวิโรจน์ แสงบางกา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มุมมองจากการเรียนรู้เสริมกระบวนการทำงานร่วมกับทีมเพื่อไปสู่จุดหมายที่ตั้งไว้ร่วมกัน 2.การสนับสนุนและความคาดหวังจาก สสส.สน.6 เพื่อให้การดำเนินงานในโครงการระดับพื้นที่ ต้องเกิดประโยชน์มากที่สุด ทำให้คณะทำงานโครงการเกิดแรงบันดาลใจพร้อมที่จะขับเคลื่อนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณมานั้น บรรลุสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ตามบันไดผลลัพธ์ของโครงการ 3.การเตรียมการในการขับเคลื่อนงานโครงการเริ่มตั้งแต่กลไกคณะทำงาน ทุน ศักยภาพ ภาคีเครือข่ายจุดแข็ง-จุดอ่อน ที่มีอยู่เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง นำไปสู่ความสำเร็จร่วมกัน 4.เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการการเน และการจัดการด้านเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบรายงานโครงการในทุกกิจกรรม เพื่อให้ถูกต้อง รัดกุมโปร่งใสและตรวจสอบได้ จะทำให้ไม่เกิดปัญหาตามมาในช่วงปิดโครงการ