directions_run

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ ตำบลท่าแซะ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

assignment
บันทึกกิจกรรม
สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลการจัดการโรคเรื้อรังให้กับชุมชน28 เมษายน 2566
28
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสารการเงินโครงการ28 เมษายน 2566
28
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานจัดทำรายงานการประชุม และบันทึกข้อมูลรายกิจกรรม ตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดรายงานการประชุม สรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรม ภาพถ่าย เอกสารการเงินโครงการ และบันทึกข้อมูลลงในคนใต้สร้างสุข

ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินผลลัพธ์โครงการย่อยร่วมกับพี่เลี้ยงประเด็นโรคเรื้อรังแนวใหม่ตำบลท่าแซะ15 เมษายน 2566
15
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีข้อมูลโมเดลต้นแบบชุมชนบ้านเขาน้อย ตำบลท่าแซะ  อำเภอท่าแซะ  จังหวัดชุมพร ประเด็นโรคเรื้อรังแนวใหม่

ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ร่วมกับ Node flagship ฯ10 เมษายน 2566
10
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ร่วมกับ Node flagship Chumphon  ณ วัดบรมธาติสวี อ.สวี จ.ชุมพร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สังเคราะห์บทเรียนโมเดล โรคเรื้อรังแนวให่ ร่วมกบโครงการย่อย

ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ สุขภาพดี15 มีนาคม 2566
15
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน

อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรังให้กับกลุ่มเสี่ยง12 มีนาคม 2566
12
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม ุ6) เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ เพื่อลดโรคเรื้อรังแนวใหม่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การปรุงอาหารรับประทานเอง การผลิดผักปลอดภัยบริโภคในครัวเรือนและชุมชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน10 มีนาคม 2566
10
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ24 กุมภาพันธ์ 2566
24
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรังให้กับกลุ่มเสี่ยง8 กุมภาพันธ์ 2566
8
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานจัดประชุมเตรียมงาน เตร่ียมแผนงานการจัดอบรมให้ความรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยหน่วยงานภาคีให้มีส่วนร่วม
            1) ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง การจัดการอาหารสุขภาพ การปลูกผักปลอดสาร ให้กับกลุ่มเสี่ยง
            2) การตลาดการปลูกผักปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ             3) การออกกำลังกาย
            4) การดูแลสุขภาพจิต

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1  มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร 2 เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน 3 มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น 4 มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน 5 กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน 6 กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน10 มกราคม 2566
10
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

มหกรรม "ปีใหม่สุขภาพดีวิถีคนบ้านเรา5 มกราคม 2566
5
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 คณะทำงานตำบลท่าแซะเกิดความตระหนักรู้ ร่วมคิดจัดการโรคเรื้อรังในพื้นที่ 2.เกิดกลไกพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาสภาพแวดล้อมทางสังคม 3. ลดปัจจัยเสี่ยงเพิ่มปัจจัยเสริมต่อสุขภาพของประชาชนภายในชุมชน

ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน10 ธันวาคม 2565
10
ธันวาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 5) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน5 พฤศจิกายน 2565
5
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1) คณะทำงาน ะปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม
และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม  เช่น  การออกกำลังกาย และอาหาร เกิดความร่วมมือจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุกของคณะทำงาน มีกลุ่มชมรมดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมายวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม 3อ 2ส อย่างต่อเนื่อง

อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพการบำบัดความเครียด การดูแลสุขภาพจิต18 กันยายน 2565
18
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานกลุ่มเป้าหมาย และวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ จัดประชุมเตรียมงาน ดำเนินการอบรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมจำนวน 85 คน ผู้เข้าร่วมเกิดการปรับพฤติกรรม 3 อ.2ส.ดีขึ้น แกนนำได้สำรวจความเครียดในตนเอง และเรียนรู้วิธีคลายความเครียด นำเทคนิคการเข้ารับการอบรมไปขยายผลต่อได้ พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่กลายเป็นนโยบายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส. ประกอบด้วยการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์การสูบบุหรี่ และการบริโภคสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งได้รับอิทธิพล จากปัจจัยต่างๆ ดังแผนภาพที่ 2 ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงที่ฝังรากอยู่ในชุมชน ในมิติของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อค่านิยม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพของชุมชน จากผลกระทบของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ระบบทุนนิยมโลกาภิวัตน์ และสังคมบริโภคนิยม มีส่วนเร่งให้ประชาชนเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงสุขภาพโดยง่าย มีพฤติกรรมตัดสินใจเลือก บริโภคที่เสี่ยงต่อสุขภาพมากขึ้น

อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง ให้กับกลุ่มเสี่ยง4 กันยายน 2565
4
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดประชุมเตรียมงาน การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง การจัดการอาหารสุขภาพ การปลูกผักปลอดสารให้กับกลุ่มเสี่ยง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-เป้าหมายในการเข้าร่วมจำนวน 85 คน -มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงและเพิ่มปัจจัยเสริม -เกิดความร่วมมือการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่หรือเชิงรุก
พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่กลายเป็นนโยบายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส. ประกอบด้วยการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ การสูบบุหรี่ และการบริโภคสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยต่างๆ ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงที่ฝังรากอยู่ในชุมชน ในมิติของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อค่านิยม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพของชุมชน จากผลกระทบของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ระบบทุนนิยมโลกาภิวัตน์ และสังคมบริโภคนิยม มีส่วนเร่งให้ประชาชนเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงสุขภาพโดยง่าย มีพฤติกรรมตัดสินใจเลือกบริโภคที่เสี่ยงต่อสุขภาพมากขึ้น

ประชุมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่หน่วยงานภาคีร่วม และคณะทำงาน14 สิงหาคม 2565
14
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมกับคณะทำงานครั้งที่2 เพื่อวางแผนการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยง และวางแผนการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการกำหนดกติกา ร่วมกันกับกลุ่มผู้นำในพื้นที่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีคณะทำงานผู้เข้าร่วมประชุม 25 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงโครงการ คณะทำงาน ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ -มีฐานข้อมูลและแนวทางการจัดการโรคเรื้อรัง NCD ที่จับต้องได้ -ทบทวนบันไดผลลัพธ์ และติดตามความก้าวหน้าของโครงการ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของชุมชน จำเป็นตเองมีการกำหนดกติกาของชุมชน มีการสื่อสารให้ทราบ และมีกลไกหรือมาตรการส่งเสริมให้ทุกคนได้ปฏิบัติ รวมทั้งมีกิจกรรมสร้างความตระหนัก การสร้างแรงจูงใจให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ดีด้านสุขภาพ

จัดทำป้ายโครงการ และป้ายปลอดบุหรี่และสุรา6 สิงหาคม 2565
6
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำป้ายโครงการ และป้ายปลอดบุหรี่และสุรา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำป้ายจำนวน 2 ป้าย

สำรวจฐานข้อมูล กลุ่มเสี่ยงและจำแนกผลการคัดกรอง16 กรกฎาคม 2565
16
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานประชุมชี้แจงให้ อาสาสมัครทั้ง 18 หมู่บ้าน ลงสำรวจข้อมูลพฤติกรรมทางสุขภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป้าหมายที่สำรวจ 100 คน ทำให้มีข้อมูลในการแก้ปัญหา NCD แนวใหม่

สนับสนุนการทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ15 กรกฎาคม 2565
15
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงานเพื่อคัดเลือกพื้นที่ทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์และอุปกรณ์การปลูกผักปลอดสารพิษ ติดตามความก้าวหน้า

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีแหล่งอาหารปลอดภัยขยายในชุมชน 4 แหล่งเรียนรู้ ขยายจากพื้นที่ต้นแบบ 1.นายคมกฤษณ์  ไกรมาก 62 ม.15  ต. ท่าแซะ อ. ท่าแซะ จ. ชุมพร 2.นายรสชรินทร์  พุ่มพัว  63 ม.1 ต. ท่าแซะ อ. ท่าแซะ จ. ชุมพร 3.นางสาวอัมพร  เผือกแดง 144 ม.12 ต. ท่าแซะ อ. ท่าแซะ จ. ชุมพร
4.นางสาววิไลวรรณ พลสิงห์ 141 ม.15 ต. ท่าแซะ อ. ท่าแซะ จ. ชุมพร ส่งผลให้ครัวเรือนลดต้นทุนการผลิตด้านค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ช่วยให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพทำให้สามารถขายผลผลิต ผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภคผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ

Node FlagshipChumphon จัดปฐมนิเทศก์โครงการผู้รับทุนจาก สสส.จำนวน 25 โครงการ4 มิถุนายน 2565
4
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

Node FlagshipChumphon จัดปฐมนิเทศก์โครงการผู้รับทุนจาก สสส.จำนวน 25 โครงการแบ่งเป็น โรคเรื้อรังแนวใหม่ (NCD) และเกษตรปลอดภัย โดยมีทีมสนับสนุนวิชาการ และทีมพี่เลี้ยง ทีมที่ปรึกษาโครงการชี้แจงและแนะนำการดำเนินงานตามกรอบโครงการเพื่อให้เกิดประสิทธิผลตามตัวชี้วัดกลางและของโครงการที่ตั้งเป้าหมายไว้ พร้อมชี้แนะแนวทางพื้นที่เรื่องการบริหารจัดการไม่ให้เกิดความเสี่ยง ตอบโจทย์แหล่งทุนได้เมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 4 มิ.ย 65 - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 3 คน ได้แก่ นายอรุณ ประทับกอง  นายรสชรินทร์ พุ่มพัว นางสาวศุภิศรา ศุภการ
- เรียนรู้ร่วมกันเชื่อมพลังผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อชุมพรน่าอยู่ โดย ดร.ฉันทวรรณ เอ่งฉ้วน ม.แม่โจ้ - การแบ่งกลุ่มย่อยเพื่อคลี่บันไดผลลัพธ์โครงการย่อย โดยทีมสนันสนุนวิชาการ ทั้งหมด 7 กลุ่มย่อย โดยมีพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบแต่ละประเด็นเข้าประจำกลุ่มย่อยเพื่อทำหน้าที่ทำความเข้าใจการคลี่บรรไดผลลัพธ์ของแต่ละโครงการ 1. เกษตรและอาหารระดับหมู่บ้าน 2. เกษตรและอาหารระดับตำบล 3. เกษตรและอาหารระดับสมาพันธ์เกษตรอำเภอ 4. เกษตรและอาหารระดับเครือข่าย 5. จัดการโรคเรื้อรังระดับชุมชน / หมู่บ้าน 6. จัดการโรคเรื้อรังระดับหน่วยบริการ 7. จัดการโรคเรื้อรังระดับดำบล - ผู้ประสานงาน Node จากสมาคมประชาสังคมชุมพร ชี้แจงการบริหารโครงการ และเอกสารประกอบการจัดทำ โครงการ เช่น ใบสำคัญรับเงิน ใบลงทะเบียน แบบฟอร์มการรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เช่น ส.1 ,ง.1 เพื่อให้พื้นที่สามารถทำเอกสารด้านการเงินได้อย่างถูกต้อง - กลุ่มย่อยลงมือปฏิบัติจัดทำเอกสารด้านการเงิน เพื่อจะได้เรียนรู้ที่ถูกวิธี - แลกเปลี่ยนซักถามข้อสงสัยในเรื่องการจัดทำเอกสารด้านการเงิน พร้อมทั้ง ผู้ประสานงาน node ตอบข้อสงสัย เพื่อจะได้เข้าใจตรงกัน - ล้อมวง อภิปราย “ผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย” เป้าหมายที่ตั้งไว้เราจะเชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่าของ ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ กับการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ ด้วยกลไกการจัดการและกระบวนการอย่างไร โดย ดร.ชุมพล อังคณานนท์ นายธีรนันท์ ปราบราย นายวิโรจน์ แสงบางการ - ปิดการประชุม โดย นายวิโรจน์ แสงบางการ  ประธานคณะกรรมการโครงการ

2.ประชุมทำความเข้าใจในการขับเคลื่อนบันไดผลลัพธ์ครั้งที่1 และกำหนด แหล่งเรียนรู้ 2 พื้นที่ วันที่ 4 พฤษภาคม 25654 พฤษภาคม 2565
4
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0003
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเป็นกลไกการขับเคลื่อนงานโครงการจากแกนนำ อสม.ทุกหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ภาคีเครือข่าย เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และทีมสนับสนุนด้านวิชาการจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอท่าแซะ โรงพยาบาลท่าแซะ และ เกษตรอำเภอท่าแซะ
  2. การนำเสนอสถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนทั้ง 18 หมู่บ้าน และรวบรวมเป็นฐานข้อมูลสถานการณ์ของ รพ.สต.บ้านท่าแซะ
  3. การคลี่บันไดผลลัพธ์ เพื่อกำหนดแผนงานโครงการตามบันไดที่ตั้งไว้ ให้เหมาะสมกับห้วงระยะเวลาในการทำกิจกรรม 1 ปี
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานแกนนำของหมู่บ้านจำนวน 25 คน ทราบแนวทางในการขับเคลื่อนพื้นที่    และกำหนดบทบาทความรับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละบุคคล
ได้ข้อมูลสถานการณ์ของชุมชนเพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะต้องนำมาวิเคราะห์เพื่อจัดการปัญหาต่อไป ได้แผนงานการปฏิบัติงานในการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อให้โครงการบรรลุสู่จุดหมายที่ตั้งไว้