directions_run

(10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

แบบติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation)

ชื่อโครงการ (10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

รหัสโครงการ 65-00240-0010 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2022 - 30 เมษายน 2023

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้

1. ข้อมูลชุมชนใดบ้างที่มีและที่ใช้ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะกาย

มีข้อมูลด้านสุขภาวะทางการของประชาชนในชุมชน เช่น โรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดัน และการตรวจหาสารเคมีในเลือด

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะจิต

มีข้อมูลการวิเคราะห์สุขภาวะทางจิตของประชาชนในชุมชน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะสังคม

มีการวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาวะสังคมของประชาชนในชุมชนบ้านห้วยตาอ่อน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัญญา

มีการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาวะทางปัญญาของประชาชนในชุมชน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
5. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัจเจก

มีข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนรายบุคคลในชุมชนที่ตรวจวัดสุขภาพโดยองค์กรด้านสาธารณสุข เช่น อสม.หรือ เจ้าหน้าที่ รพสต.

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
6. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะครอบครัว

มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาโดยรวมของสถานการณ์สุขภาวะครอบครัว

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
7. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะชุมชน

มีการบันทึกผลการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะชุมชน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. อื่นๆ

 

 

2. การดำเนินโครงการนี้สอดคล้องกับแผนเดิมหรือมีการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิมต่อไปนี้อย่างไร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. แผนชุมชน

มีแผนที่ชุมชนร่วมกันทำกันเองภายใต้โครงการ

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. แผนของท้องถิ่น

มีแผนของท้องถิ่นที่ใช้เป็นต้นแบบของการดำเนินโครงการ

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. แผนของหน่วยงานราชการ

มีแผนจากเทศบาล พัฒนาชุมชน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. แผนอื่นๆ

มีแผนการทำโคกหนองนาโมเดลในพื้นที่ต้นแบบโดยปลอดสารเคมี

 

3. ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน

มีทรัพยากรป่าไม้ แหล่งน้ำ พื้นที่สาธารณะในชุมชน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. วัฒนธรรม วิถีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชน

มีวัฒนธรรมการปลูกผักพื้นบ้าน ตามนโยบายของปกครองอำเภอ การทำประมงชายฝั่ง การแปรรูปอาหารทะเล

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน

เครื่องจักรสาน แปรรูปอาหารทะเล อาหารพื้นบ้าน เช่น ห่อหมกทะเล

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. เศรษฐกิจของชุมชน

มีการนำผักปลอดสารพิษในครัวเรือนไปจำหน่ายในชุมชน หรือ่ตลาดนัดชุมชน

 

4. คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคีหลัก (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ปฏิบัติการของโครงการ)

กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มประมงชายฝั่ง อสม ทสม

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคียุทธศาสตร์ (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ผลักดัน หรือมีอิทธิพลต่อความสำเร็จของโครงการ)

กลุ่ม อสม. กองทุนท้องถิ่น ของ อปท.

 

5. งบประมาณและทรัพยากร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. งบประมาณ

มีการหางบประมาณจากหน่วยงานภายนอกมาเสริมหนุน เช่น กองทุนสิ่งแวดล้อม ทำเรื่องทฤษฎีใหม่ และโคกหนองนา โมเดล

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ทรัพยากรอื่นๆ

มีการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนเพื่อสร้างระบบนิเวศด้านการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร