directions_run

(10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดชุมพร


“ (10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร ”

บ้านห้วยตาอ่อน ตำบลสะพลี อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นายสะอาด ทาระการ

ชื่อโครงการ (10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

ที่อยู่ บ้านห้วยตาอ่อน ตำบลสะพลี อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"(10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านห้วยตาอ่อน ตำบลสะพลี อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดชุมพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " (10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านห้วยตาอ่อน ตำบลสะพลี อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 65-00240-0010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดชุมพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านห้วยตาอ่อน หมู่ที่ 9 ต.สะพลี มีประชากรจำนวน 156 ครัวเรือน จำนวนประชากร 468 คน ประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ และมีวัด 1 แห่ง คือ วัด สามัคคีชัย ตั้งอยู่หมู่ที่ 5  ประเพณีและวัฒนธรรมเป็นแบบผสมผสานระหว่างไทยและจีน ประเพณี ท้องถิ่นที่สำคัญ ได้แก่ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีทำบุญตักบาตรวันปีใหม่ ประเพณีสงกรานต์ และประเพณี แห่เทียนพรรษาประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลมีสุขภาพดี โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพลี ดูแลด้านสาธารณสุข มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 4 คน อสม. จำนวน 58 คน (เฉพาะเขตเทศบาลตำบลสะพลี) โดยทำการประสานกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ของเทศบาลตำบลสะพลี มีร้านขายยา จำนวน 3 แห่ง การสังคมสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม ผู้สูงอายุผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ ได้รับเงินสวัสดิการ เบี้ยยังชีพสงเคราะห์ผู้สูงอายุและเบี้ยยังชีพ ผู้พิการ ได้รับเงินสวัสดิการจากงบประมาณของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และเบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเขตเทศบาลตำบลสะพลี มีสถานีตำรวจ 1 แห่ง คือ สถานีตำรวจภูธรย่อยสะพลี ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำบลสะพลี มีอัตรากำลัง 4 นาย และมีกลุ่มสมาชิกอาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือนตำบลสะพลี จำนวน 45 คน และมีสมาชิก อสม.คอยดูแลเรื่องสุขภาพของประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง       ในส่วนของปัญหาจากการใช้สารเคมีในการปลูกผัก/การบริโภคผักที่มีสารเคมีตกค้างยังคงมีในชุมชนทำให้ ประชากรในชุมชนบางส่วนมีสุขภาพไม่ค่อยสมบูรณ์ แข็งแรงเท่าที่ควร มีโรคประจำตัว เช่น อัมพาต ความดัน อัมพฤกษ์  กระดูกเสื่อม ไขมัน เบาหวาน มะเร็ง ซึ่งเกิดจากสาเหตุหนึ่งของการบริโภคอาหารที่มีสารพิษตกค้างจึงทำให้เกิดโรคดังกล่าว       ที่ผ่านมา ชุมชนได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากนโยบายรัฐ เรื่องให้ครัวเรือนปลูกผักปลอดสารตามโครงการ บ้านสวยด้วยผัก ทำให้มีครัวเรือนชุมชนปลูกผักปลอดสาร ประมาณจำนวน 80 ครัวเรือน ปัจจุบันชุมชน มีมาตรการเกี่ยวกับการปลูก และบริโภคผักปลอดภัย โดย มีการทำการประชาคมหมู่บ้าน, รับสมัครสมาชิกครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ, สร้างข้อตกลงร่วมกัน และคณะกรรมการหมู่บ้าน คอยควบคุมดูแลให้ปฏิบัติตามข้อตกลงและติดตามประเมินผลการปลูกผักปลอดสารเคมีและบริโภคผักอย่างปลอดภัย สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่ม นำผลมารายงานต่อที่ประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาให้ดีขึ้น ซึ่งจากการดำเนินโครงการที่ผ่านมา พบว่า ชุมชนส่วนหนึ่งเริ่มเห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารทำให้มีครัวเรือนที่ดำเนินการปลูกผักปลอดสารจำนวน 80 ครัวเรือน และมีการทำการเกษตรปลอดสารหรือลดการใช้สารจำนวน 50 ครัวเรือนเนื่องจากชุมชนเริ่มมีความตระหนักในเรื่องการใช้สารเคมีทางการเกษตร ส่งผลให้กระทบกับสุขภาพทั้งผู้ใช้และครัวเรือนข้างเคียง
      ชุมชน ฯ จึงได้จัดทำโครงการ บ้านห้วยตาอ่อนสุขภาพดี ผลิตผักปลอดสารเคมี ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง    ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดภัยมากขึ้นจนเกิดวิถีการปลูกผักที่ไร้สารเคมี สามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน แลกเปลี่ยน หรือขายในชุมชน จนทำให้รายจ่ายของการซื้อผัก ของแต่ละครัวเรือนลดลง เป็นชุมชนชนบทส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร ทุกครัวเรือนจะมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นของตนเองและมีพื้นที่สาธารณะสำหรับให้กลุ่มใช้ปลูกร่วมกัน
    นอกจากนี้คณะทำงานโครงการยังมีการพัฒนาแหล่งน้ำในชุมชนโดยการสร้างฝายชะลอน้ำในพื้นที่ลำคลองห้วยตาอ่อน เมื่อปีที่ผ่านมา และจะสร้างเพิ่มในปีนี้อีก 1 ตัว เพื่อสร้างความสมบูรณ์ให้กับระบบน้ำ

อาชีพและรายได้ บ้านห้วยตาอ่อน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ในอดีตมีการปลูก มะพร้าว พืชสวน พืชไร่ และผลไม้เช่น มะม่วง ชมพู่ ละมุด น้อยหน่า เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ แต่หลังจากที่อำเภอปะทิว ประสบวาตภัย พายุไต้ฝุ่นเกย์ เมื่อปี 2532 ทำให้ทรัพยากรเช่น บ้านเรือน เรือกสวนไร่นา โดนทำลาย 100 เปอร์เซ็นต์ จึงทำให้ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดต้องมีการเปลี่ยนแปลงเรื่องการประกอบอาชีพเพื่อให้มีการฟื้นฟูรายได้ประชาชนให้เร็วที่สุดเพื่อความอยู่รอด จึงหันมาปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา เป็นอาชีพหลัก ทำให้วิถีชุมชนดั้งเดิมในชุมชนได้สูญหายไปกับพายุไต้ฝุ่นเกย์ในครั้งนั้นด้วย บางครั้งชาวบ้านต้องออกไปรับจ้างเลี้ยงชีพในต่างถิ่นบ้างก็มี
ชุมชน ฯ จึงได้จัดทำโครงการ บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหารเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดภัยมากขึ้นจนเกิดวิถีการปลูกผักที่ไร้สารเคมี สามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน แลกเปลี่ยน หรือขายในชุมชน จนทำให้รายจ่ายของการซื้อผัก ของแต่ละครัวเรือนลดลง เป็นชุมชนชนบทส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร ทุกครัวเรือนจะมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นของตนเองและมีพื้นที่สาธารณะสำหรับให้กลุ่มใช้ปลูกร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  2. กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส.
  3. ประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อยระดับพื้นที่ในจังหวัดชุมพร ร่วมกับ node flagship ชุมพร
  4. การจัดทำป้าย
  5. ประชุมชี้แจงโครงการ จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการให้เกิดประสิทธิภาพ
  6. ร่วมประชุมการบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมโครงการลงในเว็บไซต์ "คนใต้สร้างสุข"
  7. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ และการทำเกษตรกรรมยั่งยืน
  8. เข้ารับการฝึกอบรมและถ่ายทำรายการสื่อสร้างสรรค์ สังคมสุขภาวะ กับ Node flagship ชุมพร
  9. การอบรมให้ความรู้เรื่อง เกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหารที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน
  10. ร่วมประชุมเวทีสมัชชาพลเมืองชุมพร (สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร)
  11. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และทำเอกสารการเงินโครงการ
  12. อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน
  13. การสนับสนุนการปรับปรุงระบบน้ำในแปลง
  14. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ
  15. ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์เพื่อยกระดับการทำการเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร
  16. สรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและผลการดำเนินงาน
  17. ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อยฯ ร่วมกับทีมวิชาการและพี่เลี้ยง
  18. ถอดบทเรียนโมเดลการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบ ประเด็นเกษตรและความมั่นคงทางอาหารระดับหมู่บ้าน
  19. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และทำเอกสารโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คณะทำงานมีศักยภาพในการทำงานแบบมีส่วนร่วม งานชุมชน งานสังคมโดยรวม และเกิดการพัฒนาบทบาทเครือข่ายภาคประชาชน ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ และการทำเกษตรกรรมยั่งยืน อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน โดยเฉพาะด้านการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีชุมชนท้องถิ่น ไม่ให้สูญหายไปจากหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อยระดับพื้นที่ในจังหวัดชุมพร ร่วมกับ node flagship ชุมพร

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดทำเอกสารประกอบการประชุม ใบลงทะเบียน จัดประชุมตามกำหนดการและแผนงาน คณะทำงานทำบันทึกรายงานกิจกรรม และจัดทำเอกสารการเงินที่เบิกจ่ายตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีข้อมูลและแผนการผลิตระดับครัวเรือน มีแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน เกิดความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในชุมชน ตำบล มีกติการ่วมหรือแผนงานร่วมกับชุมชน

 

2 0

2. การจัดทำป้าย

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกแบบป้ายตามที่ทางสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)กำหนด นำส่งให้ร้านทำป้าย ดำเนินการผลิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์ พร้อมกับ โลโก้ สสส.ติดบริเวณสถานที่จัดประชุมในหมู่บ้าน

 

1 0

3. ประชุมชี้แจงโครงการ จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการให้เกิดประสิทธิภาพ

วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดทำเอกสารประกอบการประชุม ใบลงทะเบียน จัดประชุมตามกำหนดการและแผนงาน คณะทำงานทำบันทึกรายงานกิจกรรม และจัดทำเอกสารการเงินที่เบิกจ่ายตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผลิตภัณฑ์เกษตรที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการเชื่อมโยงและจัดการการตลาดในชุมชน มีแผนจัดการระบบอาหารเพื่อสุขภาพในชุมชน

 

50 0

4. ร่วมประชุมการบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมโครงการลงในเว็บไซต์ "คนใต้สร้างสุข"

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมประชุมกับทีมสนับสนุนวิขาการ สมาคมประชาสังคมชุมพร เพื่อเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการลงรายงานผ่านเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข และลงบันทึกเป็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานกิจกรรมตามโครงการในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

 

2 0

5. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ และการทำเกษตรกรรมยั่งยืน

วันที่ 16 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมสถานที่ประชุมและกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม จัดประชุมตามกำหนดการ และแผนงาน คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานร่วมกันขับเคลื่อนงานตามแผนงานโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ มีข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัย ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้เรื่องการทำเกษตรยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร เกิดความร่วมมือกับเครือข่ายเกษตรในชุมชน และหน่วยงาน องค์กร ชุมชนเกิดความตระหนักรู้ และรับรู้เรื่องเกษตรสุขภาพ

 

50 0

6. เข้ารับการฝึกอบรมและถ่ายทำรายการสื่อสร้างสรรค์ สังคมสุขภาวะ กับ Node flagship ชุมพร

วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรม และฝึกถ่ายทำรายการสื่อสร้างสรรค์ สังคมสุขภาวะ และสร้างความร่วมมือของสื่อสมัครเล่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารท้องถิ่นในพื้นที่ชุมพร - ระนอง ให้มีขีดความสามารถในการสื่อสารสาธารณะ เกิดความร่วมมือของเครือข่ายสื่อทั้งในระดับพื้นที่ จังหวัดและองค์กรหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีการผลิตสื่ออย่างต่อเนื่อง และเท่าทันสถานการณ์

 

1 0

7. การอบรมให้ความรู้เรื่อง เกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหารที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน

วันที่ 25 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดทำเอกสารประกอบการประชุม ใบลงทะเบียน จัดประชุมตามกำหนดการและแผนงาน คณะทำงานทำบันทึกรายงานกิจกรรม และจัดทำเอกสารการเงินที่เบิกจ่ายตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กร หน่วยงาน ภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน เกิดกติกาชุมชนด้านการปลูกผักปลอดภัย ไร้สารเคมี

 

50 0

8. ร่วมประชุมเวทีสมัชชาพลเมืองชุมพร (สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร)

วันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายระดับตำบล อำเภอ จังหวัดชุมพร ในประเด็นเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร และเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และมีแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนานโยบายสาธารณะจังหวัดชุมพร ต่อไปในอนาคต

 

2 0

9. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และทำเอกสารการเงินโครงการ

วันที่ 30 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงินโครงกร ซึ่งเป็นคณะทำงาน จัดเตรียมเอกสารประกอบการรายงาน และตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารการเงิน เพื่อเตรียมนำส่งให้สมาคมประชาสังคมชุมพร ซึ่งเป็นทีมสนับสนุนวิชาการโครงการ Node Flagship ชุมพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเอกสารการเงินประกอบโครงการ และมีรายงานผ่านเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

 

1 0

10. อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ 1 คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร การปลูกพืชบำรุงดิน และการปลูกพืชท้องถิ่น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่ 1.1 เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 10 คน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่ 1.2 สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ได้แก่ เครือข่าย ทสม. ต.สะพลี่  เครือข่าย อสม ต.สะพลี  พัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรอำเภอปะทิว ผลลัพธ์ที่ 2 ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง  ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้บ้านห้วยตาอ่อน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 50 คน

 

50 0

11. การสนับสนุนการปรับปรุงระบบน้ำในแปลง

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) คณะทำงานวางแผนการวางระบบน้ำภายในแปลง 3) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ประกอบแผนงานกิจกรรมตามโครงการ 4) จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชนในการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและเกษตรทฤษฎีใหม่ในชุมชน มีการพัฒนาฐานการเรียนรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ และการเพิ่มมูลค่าโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร เชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชน จำนวน 1 พื้นที่ มีการส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสานกับความรู้เทคนิคใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและยกระดับชุมชน

 

5 0

12. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการจำนวน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีหารคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

 

0 0

13. ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์เพื่อยกระดับการทำการเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน การส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสานกับความรู้เทคนิคใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและยกระดับชุมชน จำนวน 50 ครัวเรือน

 

50 0

14. สรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและผลการดำเนินงาน

วันที่ 5 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน เกิดการรวมกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชนในการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและเกษตรทฤษฎีใหม่ในชุมชน พัฒนาฐานการเรียนรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ และการเพิ่มมูลค่าโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร เชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชน จำนวน 1 พื้นที่ ส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสานกับความรู้เทคนิคใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและยกระดับชุมชน จำนวน 50 ครัวเรือน

 

50 0

15. ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อยฯ ร่วมกับทีมวิชาการและพี่เลี้ยง

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมกิจกรรมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ร่วมกับทีมวิชาการและพี่เลี้ยง โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกับโครงการย่อย ประเด็นเกษตรและความมั่นคงทางอาหารระดับหมู่บ้าน ถอดบทเรียนและสังเคราะห์โมเดลร่วมกับโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่โครงการ เพื่อสังเคราะห์ข้อมูล ออกมาเป็นโมเดลการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร ระดับหมู่บ้าน

 

2 0

16. ถอดบทเรียนโมเดลการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบ ประเด็นเกษตรและความมั่นคงทางอาหารระดับหมู่บ้าน

วันที่ 16 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมกิจกรรมกับพี่เลี้ยงเวทีถอดบทเรียนโมเดลและสังเคราะห์ข้อมูลด้านเกษตรและความมั่่นคงทางอาหาร สังเคราะห์บทเรียนโมเดลต้นแบบ ของหลายพื้นที่ที่มีบริบทและลักษณะร่วมกันที่อยู่ภายใต้โมเดลเดียวกัน เพื่อการขยายผลสู่พื้นที่อื่นที่มีบริบทใกล้เคียงกัน ซึ่งจะนำเสนอให้เห็นแนวทางการดำเนินงาน ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการสังเคราะห์บทเรียนโมเดลต้นแบบ ภายใต้หัวข้อ  ข้อมูลทั่วไป  สภาพบริบทของพื้นที่โมเดล กลไกการดำเนินงาน ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน  ปัจจัยความสำเร็จ และไม่สำเร็จ

 

4 0

17. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และทำเอกสารโครงการ

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการ จัดเตรียมข้อมูลเอกสารการรายงานกิจกรรมโครงการ เพื่อบันทึกข้อมูลลงรายงานผ่านเว็บไซต์ คนใต้สร้างสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน รายละเอียดค่าใช้จ่าย และรูปภาพกิจกรรม รูปภาพใบเสร็จรับเงิน

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการได้ดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาการดำเนินงาน และจัดกิจกรรมครบถ้วนตามแผนงานเรียบร้อยแล้ว

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินงานตามแผนงานโครงการ (2) กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส. (3) ประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อยระดับพื้นที่ในจังหวัดชุมพร ร่วมกับ node flagship ชุมพร (4) การจัดทำป้าย (5) ประชุมชี้แจงโครงการ จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการให้เกิดประสิทธิภาพ (6) ร่วมประชุมการบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมโครงการลงในเว็บไซต์ "คนใต้สร้างสุข" (7) การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ และการทำเกษตรกรรมยั่งยืน (8) เข้ารับการฝึกอบรมและถ่ายทำรายการสื่อสร้างสรรค์ สังคมสุขภาวะ กับ Node flagship ชุมพร (9) การอบรมให้ความรู้เรื่อง เกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหารที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน (10) ร่วมประชุมเวทีสมัชชาพลเมืองชุมพร (สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร) (11) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และทำเอกสารการเงินโครงการ (12) อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน (13) การสนับสนุนการปรับปรุงระบบน้ำในแปลง (14) หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ (15) ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์เพื่อยกระดับการทำการเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร (16) สรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและผลการดำเนินงาน (17) ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อยฯ ร่วมกับทีมวิชาการและพี่เลี้ยง (18) ถอดบทเรียนโมเดลการดำเนินงานของพื้นที่ต้นแบบ ประเด็นเกษตรและความมั่นคงทางอาหารระดับหมู่บ้าน (19) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และทำเอกสารโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ (10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

รหัสโครงการ 65-00240-0010 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

(10)บ้านห้วยตาอ่อน ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะอาด ทาระการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด