directions_run

(11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดชุมพร


“ (11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร ”

บ้านเกาะเสม็ด ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นายสุนทร ไผยา

ชื่อโครงการ (11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

ที่อยู่ บ้านเกาะเสม็ด ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0011 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"(11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านเกาะเสม็ด ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดชุมพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " (11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านเกาะเสม็ด ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 65-00240-0011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดชุมพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านเกาะเสม็ด หมู่ที่ 3 ต.บางสน อ.ปะทิว จ.ชุมพร ที่ตั้งของชุมชนส่วนหนึ่งติดกับถนนสายหลักทางหลวงแผ่นดินเส้น 3201 ปะทิว - ชุมพร อีกส่วนหนึ่งเป็นพื้นที่ดินของชุมชนที่ไม่ติดกับถนนสายหลัก แต่มีถนนสายรองเข้าไปในชุมชนที่ค่อนข้างสะดวก สภาพพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย ไม่มีพื้นที่ที่เป็นภูเขา อยู่ห่างจากทะเลอ่าวบางสนประมาณ 5 กิโลเมตร มีประชากรจำนวน 90 ครัวเรือน จำนวนประชากร 358 คน  ประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ อาณาเขตติดต่อกับหมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 5 ตำบลบางสน มีวัด 1 แห่งที่ใช้ร่วมกันในตำบลคือ คือ วัดดอนกุฎี ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต.บางสน อ.ปะทิว  ซึ่งชุมชนตำบลบางสนร่วมกันดูแล ทำให้วัดดังกล่าวเป็นศูนย์รวมของคนในชุมชนหลาย ๆ ชุมชนร่วมกัน และจะร่วมกันจัดงานบุญงานประเพณีและวัฒนธรรมร่วมกันในท้องถิ่น ประเพณีที่สำคัญ ได้แก่ วันพระ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีทำบุญตักบาตรวันปีใหม่ ประเพณีสงกรานต์ และประเพณี แห่เทียนพรรษาประชาชนทั้งสองพื้นที่จะร่วมด้วยช่วยกันตลอดมา ส่วนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสน จะอยู่ที่บ้านคอกม้าหมู่ที่ 6 คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านคอกม้า มีผู้อำนวยการ รพสต.คือ นายสำเริง นพชำนาญ ร่วมกับสมาชิก อสม.ตำบลบางสน ดูแลด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนโดยทั่วไป
      บ้านเกาะเสม็ด ที่ผ่านมาถือว่าเป็นชุมชนต้นแบบด้านการปลูกพืชผักปลอดสารพิษตามฤดูกาล อาทิ พืชผักสวนครัว ฟักทอง ข้าวเหลืองปะทิว และยังมีการแก้ปัญหาให้กับชุมชนเรื่องผลผลิตล้นตลาดโดยการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตร อาทิ ฟักทองกวน ขนมครก กล้วยฉาบ ขนมทองม้วน คุกกี้จากข้าวเหลืองปะทิว ที่สำคัญ คือ ขนมจีนเส้นสดจากแป้งข้าวเหลืองปะทิว ในส่วนของปัญหาจากการใช้สารเคมีในการปลูกผัก/การบริโภคผักที่มีสารเคมีตกค้างยังคงมีในชุมชนซึ่งเป็นสารเคมีจากสวนเกษตรเชิงเดี่ยว คือ ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ทำให้ประชากรในชุมชนบางส่วนได้รับผลกระทบจากสารเคมี ทำให้สุขภาพไม่ค่อยสมบูรณ์ แข็งแรงเท่าที่ควรส่วนใหญ่จะเป็นในผู้สูงอายุ และมีโรคประจำตัว เช่น อัมพาต ความดัน อัมพฤกษ์  กระดูกเสื่อม ไขมัน เบาหวาน มะเร็ง ซึ่งเกิดจากสาเหตุหนึ่งของการบริโภคอาหารที่มีสารพิษตกค้างจึงทำให้เกิดโรคดังกล่าว จากผลงานที่ผ่านมาของชุมชนบ้านเกาะเสม็ดทำให้ได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนโอทอปนวัตวิถีบ้านเกาะเสม็ด และจัดตั้งเป็น “ศูนย์เรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่บ้านเกาะเสม็ด” ตามศาสตร์พระราชา       สิ่งที่ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดต้องการพัฒนาต่อยอดที่ผ่านมา คือ ต้องการมีครัวเรือนชุมชนปลูกผักปลอดสารไว้บริโภคกันเองในชุมชน เพื่อเป็นการลดโรค และลดค่าใช้จ่าย ปัจจุบันชุมชน มีมาตรการเกี่ยวกับการปลูก และบริโภคผักปลอดภัย โดยผู้นำชุมชน คือ นายสุนทร ไผยา (ผู้ใหญ่บ้าน) คอยควบคุมดูแลให้ปฏิบัติตามข้อตกลงและติดตามการปลูกผักปลอดสารเคมีและบริโภคผักอย่างปลอดภัย ในครัวเรือนชุมชน และร่วมกันเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาให้ดีขึ้น

อาชีพและรายได้ บ้านเกาะเสม็ด ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ในอดีตมีการปลูก มะพร้าว พืชสวน พืชไร่ ทำนาข้าวเหลืองปะทิว นาข้าวไร่ และผลไม้เช่น มะม่วง ชมพู่ ละมุด น้อยหน่า เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ แต่หลังจากที่อำเภอปะทิว ประสบวาตภัย พายุไต้ฝุ่นเกย์ เมื่อปี 2532 ทำให้ทรัพยากรเช่น บ้านเรือน เรือกสวนไร่นา โดนทำลาย 100 เปอร์เซ็นต์ จึงทำให้ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดต้องมีการเปลี่ยนแปลงเรื่องการประกอบอาชีพเพื่อให้มีการฟื้นฟูรายได้ประชาชนให้เร็วที่สุดเพื่อความอยู่รอด จึงหันมาปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา เป็นอาชีพหลัก ทำให้วิถีชุมชนดั้งเดิมในชุมชนได้สูญหายไปกับพายุไต้ฝุ่นเกย์ในครั้งนั้นด้วย บางครั้งชาวบ้านต้องออกไปรับจ้างเลี้ยงชีพในต่างถิ่นบ้างก็มี ปัจจุบัน มีการส่งเสริมเกษตรผสมผสานในชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในหลวงรัชกาล ที่ 9 อีกทั้งยังเป็นการรื้อฟื้น อนุรักษ์วิถีชีวิตดั้งเดิมให้กลับคืนมา เนื่องจากชุมชนเห็นว่า อาชีพในอดีตไม่เคยทำให้ประชาชนยากจน มีกินมีใช้อย่างอุดมสมบูรณ์ เช่น การทำนา การปลูกพืชไร่ เช่น ฟักทอง แฟง และพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงปลา
ผู้นำคนปัจจุบัน คือ นายสุนทร ไผยา จึงคิดทำศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขึ้นในชุมชนเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนในชุมชน ให้ชุมชนได้มีอาชีพหลักและเสริมร่วมกัน นอกจากนี้ยังได้จัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อเป็นโมเดลให้สมาชิกในชุมชนได้เห็น โดยมีการจัดทำฐานการเรียนรู้รวมทั้งสิ้น 7 ฐาน เช่น ฐานทำขนมจีน ฐานเพาะพันธุ์ข้าวเหลืองปะทิว ฐานเพาะพันธุ์กล้าไม้มะพร้าว มะนาว ฐานเลี้ยงเป็ดเลี้ยงไก่ ฐานเลี้ยงปลา ฐานเตาเผาถ่าน และฐานกวนฟักทอง ซึ่งฐานทั้งหมดนี้ สมาชิกในชุมชนสามารถที่จะประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันของแต่ละครัวเรือนได้ เป็นการส่งเสริมอาชีพสร้างรายได้ให้กับครอบครัว และยังเป็นการสืบสานวิถีชีวิตทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชนอีกด้วย

ผลิตภัณฑ์ชุมชน 1) ข้าวเหลืองปะทิว 2) ขนมจีนเส้นสด (ผลิตจากข้าวเหลืองปะทิว) 3) ผลิตภัณฑ์ขนมไทย อาทิ ฟักทองกวน ฟักทองฉาบ กล้วยฉาบ ขนมทองม้วน ขนมครก ขนมดอกจอก
4) กะปิ (ทำจากกุ้งเคยแท้ปะทิว)
5) ปลาเค็ม
6) กล้าไม้มะพร้าว มะนาว ดาวเรือง และพันธุ์ไม้อื่น ๆ
7) ผักดอง

  ชุมชน ฯ จึงได้จัดทำโครงการ ชุมชนบ้านเกาะเสม็ด ส่งเสริมวิถีชุมชนต้นแบบเกษตรกรรมยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดภัยมากขึ้นจนเกิดวิถีการปลูกผักที่ไร้สารเคมี สามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน แลกเปลี่ยน หรือขายในชุมชน จนทำให้รายจ่ายของการซื้อผัก ของแต่ละครัวเรือนลดลง เป็นชุมชนชนบทส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร ทุกครัวเรือนจะมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นของตนเองและมีพื้นที่สาธารณะสำหรับให้กลุ่มใช้ปลูกร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  2. กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุน จาก สสส.
  3. ประชุมชี้แจงความสำคัญของการมีทีมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จของโครงการ
  4. ปฐมนิเทศโครงการ
  5. จัดทำป้าย
  6. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน
  7. ประชุมการบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ Happynetwork (คนใต้สร้างสุข)
  8. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินคุณค่าและมูลค่าของระบบนิเวศ ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน
  9. ร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่
  10. ค่าบันทึกข้อมูลรายงานเจ้าหน้าที่และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ
  11. ร่วมงานเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร
  12. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน
  13. อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
  14. การยกระดับการดำเนินงานโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร
  15. หักเงินสำรองเปิดบัญชี
  16. ติดตามประเมินผลลัพธ์ โครงการย่อย กับ Node flagship ชุมพร
  17. สรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและผลการดำเนินงาน
  18. ค่าบันทึกข้อมูลเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี
  19. จัดประชุมสังเคราะห์ข้อมูลชุมชน บ้านเกาะเสม็ดร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คณะทำงานมีศักยภาพในการทำงานแบบมีส่วนร่วม งานชุมชน งานสังคมโดยรวม และเกิดการพัฒนาบทบาทเครือข่ายภาคประชาชน ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ และการทำเกษตรกรรมยั่งยืน อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน โดยเฉพาะด้านการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีชุมชนท้องถิ่น ไม่ให้สูญหายไปจากหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงความสำคัญของการมีทีมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จของโครงการ

วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน และปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดำทำเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ จัดประชุมตามกำหนดการแผนงาน คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนงานที่มีความรู้ความสามารถ
มีคณะทำงานร่วมทำงานขับเคลื่อนโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความร่วมมือกันกับภาคีเครือข่ายด้านเกษตร
ชุมชนเกิดความตระหนักรู้ และรับรู้เรื่องเกษตรสุขภาพ

 

50 0

2. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยกับทีมจัดการวิชาการ Node flagship ชุมพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมวิชาการชี้แจงรายละเอียดของการจัดทำบัญชีการเงิน และการบริหารจัดการโครงการ

 

2 0

3. จัดทำป้าย

วันที่ 5 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายส่งให้ร้านค้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้าย สสส. และป้ายปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์ ใช้ติดในที่ประชุม

 

1 0

4. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานปรึกษาหารือ่ร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเดตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายด้านเกษตร ชุมชนเกิดความตระหนักรู้และรับรู้เรื่องเกษตรสุขภาพ ชุมชนมีความร่วมมือและมีกติการ่วมกัน มีข้อมูลและแผนการผลิตระดับครัวเรือน มีแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน เกิดความร่วมมือกับภาคเครือข่ายจำนวน 2 กิจกรรม

 

50 0

5. ประชุมการบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ Happynetwork (คนใต้สร้างสุข)

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ เพื่อนำมาบันทึกลงในเว็บไซต์ ฝึกลงข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้เรียนรู้การรายงานกิจกรรมผ่านเว็บไซต์ คนใต้สร้างสุข มีข้อมูลการรายงานและรายละเอียดของโครงการอยู่ในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข
พี่เลี้ยงสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลงรายละเอียดรายงานและกิจกรรม

 

1 0

6. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินคุณค่าและมูลค่าของระบบนิเวศ ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน

วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม จัดกิจกรรมตามแผนงาน คณะทำงานบันทึกรายงานการประชุมและการฝึกอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่่ายด้านการเกษตรในชุมชนร่วมกัน มีข้อมูลสารสนเทศและแผนงานด้านเกษตรปลอดภัย ชุมชนเกิดความตระหนักรู้ และรับรู้เรื่องเกษตรสุขภาพ มีแผนการผลิตในครัวเรือน

 

50 0

7. ร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่

วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นำบูชการทำขนมจีนเส้นสดจากข้าวเหลืองปะทิว ไปแสดงโชว์และนำเสนอภายในงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตโรคเรื้อรังแนวใหม่ ณ ชุมชนบ้านเขาน้อย อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนภายในงาน ได้เห็นขั้นตอนกระบวนการในการทำขนมจีนเส้นสด โดยใช้แป้งข้าวเหลืองปะทิว และการบีบเส้นขนมจีนแบบโบราณ ทุกขั้นตอน

 

3 0

8. ค่าบันทึกข้อมูลรายงานเจ้าหน้าที่และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี จัดทำเอกสารประกอบการเงิน ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากโครงการ และเจ้าหน้าที่ธุรการทำการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานประกอบการทำโครงการ ทั้งรายงานผ่านเว็บไซต์ และรายงานเอกสารประกอบการเงิน

 

2 0

9. ร่วมงานเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร

วันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในประเด็นเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมจากตำบลบางสน จำนวน 4 คน โดยเป็นคณะทำงานโครงการ 2 คน และสมาชิกในชุมชนบ้านเกาะเสม็ด จำนวน 2 คน ทำให้เกิดองค์ความรู้เรื่องการจัดการเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร และประเด็นการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

 

4 0

10. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 50 คน

 

50 0

11. อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร

วันที่ 29 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 10 คน
สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง
ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 50 -  80 คน

 

50 0

12. การยกระดับการดำเนินงานโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 10 คน
สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง
ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 80 คน

 

50 0

13. หักเงินสำรองเปิดบัญชี

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

 

0 0

14. ติดตามประเมินผลลัพธ์ โครงการย่อย กับ Node flagship ชุมพร

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานได้รับการประสานงานจากพี่เลี้ยง และทีมสนับสนุนวิชาการเพื่อเตรียมข้อมูลและเข้าร่วมประชุม ติดตามประเมินผลลัพธ์ โครงการย่อย กับ Node flagship ชุมพร ณ วัดพระบรมธาตุสวี อ.สวี จ.ชุมพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดข้อมูลสังเคราะห์โมเดลบ้านเกาะเสม็ด และการจัดการด้านเกษตรและความมั่นคงทางอาหารระดับหมู่บ้าน ในรูปแบบของ โมเดล

 

2 0

15. สรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและผลการดำเนินงาน

วันที่ 15 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โมเดลต้นแบบสำหรับการขยายผลการดำเนินงานเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพระดับหมู่บ้านหน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (Node Flagship) จังหวัดชุมพร

 

50 0

16. ค่าบันทึกข้อมูลเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่โครงการ ดำเนินการจัดทำรายงานการเงิน รายงานสรุปผลตามกิจกรรมโครงการ และบันทึกข้อมูลลงเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานผลการดำเนินงานโครงการทั้งรายงานการประชุม รายงานออนไลน์ ที่สามารถตรวจสอบได้

 

1 0

17. จัดประชุมสังเคราะห์ข้อมูลชุมชน บ้านเกาะเสม็ดร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดโมเดลต้นแบบบ้านเกาะเสม็ด เรื่องเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร ระดับหมู่บ้าน

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินงานตามแผนงานโครงการ (2) กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุน จาก สสส. (3) ประชุมชี้แจงความสำคัญของการมีทีมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จของโครงการ (4) ปฐมนิเทศโครงการ (5) จัดทำป้าย (6) การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและการทำเกษตรกรรมยั่งยืน (7) ประชุมการบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ Happynetwork (คนใต้สร้างสุข) (8) การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินคุณค่าและมูลค่าของระบบนิเวศ ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน (9) ร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ (10) ค่าบันทึกข้อมูลรายงานเจ้าหน้าที่และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ (11) ร่วมงานเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร (12) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน (13) อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร (14) การยกระดับการดำเนินงานโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร (15) หักเงินสำรองเปิดบัญชี (16) ติดตามประเมินผลลัพธ์ โครงการย่อย กับ Node flagship ชุมพร (17) สรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและผลการดำเนินงาน (18) ค่าบันทึกข้อมูลเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี (19) จัดประชุมสังเคราะห์ข้อมูลชุมชน บ้านเกาะเสม็ดร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ (11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

รหัสโครงการ 65-00240-0011 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

(11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0011

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุนทร ไผยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด