directions_run

(14)ยกระดับการจัดการตลาดสินค้าและอาหารเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืนตำบลปากทรง

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการยกระดับการจัดการตลาดสินค้าและอาหารเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน ตำบลปากทรง มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อเพิ่มศักยภาพเครือข่ายให้มีความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรท้องถิ่น 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าและอาหารปลอดภัยในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายให้มีความสามารถในการบริหารจัดการ (2) กิจกรรมที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าและอาหารปลอดภัยในพื้นที่ (3) ส่วนที่ สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม (4) การจัดทำป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ (5) การปฐมนิเทศโครงการย่อย (6) ประชุมคณะทำงาน (7) การอบรมเสริมทักษะในด้านจัดทำเอกสารออนไลน์ (8) อบรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล (9) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรายหมู่บ้าน (10) เวทีความร่วมมือพัฒนาการตลาดสินค้าและอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีในพื้นที่ (11) ประชุมคณะทำงาน (12) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (13) การติดตามประเมินผลโครงการระยะที่ 1 (14) การดำเนินกิจกรรมสนับสนุนโครงการ (15) กิจกรรมที่ 10 ประสานเชื่อมโยงการจัดการตลาดสินค้า อาหารและการท่องเที่ยวโดยชุมชน (16) กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนการผลิตระดับครัวเรือน/ระดับองค์กร(แผนธุรกิจ) (17) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (18) เวทีความร่วมมือพัฒนาการตลาดสินค้าและอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีในพื้นที่ (19) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (20) อบรมปฏิบัติการจัดการตลาด (21) ติดตามประเมินผลลัพธ์ (สินค้าและอาหารปลอดภัย การท่องเที่ยวโดยชุมชน การเพิ่มพื้นที่การผลิต) (22) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (23) จัดเวทีนำเสนอผลงานและข้อเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การหนุนเสริมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยบรรจุเป็นข้อบัญญัติงบประมาณ       (2) การบูรณาการร่วมระหว่างหน่วยงานของรัฐกับภาคประชาชน       (3) การเคลื่อนด้านคุณภาพชีวิตในระดับตำบลและหมู่บ้าน ควรดำเนินการแบบเอาจริงเอาจัง (พชต,พชม)

คำสำคัญ

 

บทนำ

โครงการยกระดับการจัดการตลาดสินค้าและอาหารเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน ตำบลปากทรง เป็นโครงการที่มุ่งเน้นให้ชุมชนนำศักยภาพที่มีในชุมชนหรือจุดแข็ง มาจัดการให้ชุมชนน่าอยู่ ครอบครัวอบอุ่น สุขภาพดีด้วยอาหารที่ปลอดภัย และได้เผื่อแผ่ความสุขนี้แก่ประชาชนทั่วไป หรือนักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาในชุมชน นับเป็นรายได้เสริมและการกระจายรายได้ที่คุ้มค่า นอกเหนือจากการทำเกษตรแต่เพียงอย่างเดียว โดยการนำเอาการท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือ ซึ่งตำบลปากทรงมีทั้งหมด 9 หมู่บ้าน มีศักยภาพ ดังนี้ 1. หมู่ที่ 1 บ้านต่อตั้ง เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มีกลุ่มอาชีพที่สามารถศึกษาดูงานได้ มีการล่องแพ เดินป่าพิชิตเขาครา (จุดชมทะเลหมอก) 2. หมู่ที่ 2 บ้านห้างแก มีกลุ่มกาแฟวังทองคอฟฟี่ มีกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มมังคุดคุณภาพ มีกลุ่มธนาคารต้นไม้ สามารถใช้เป็นสถานที่ศุกษาดูงานได้ 3. หมู่ที่ 3 บ้านบกไฟ เป็นหมู่บ้านที่ได้รับรางวัล บ้านสวย เมืองสุข จากกรมการปกครอง มีน้ำตกเหวโหลม มีวังมัจฉาเฉลิมพระเกียรติฯ มีป่าชุมชน ที่พักโฮมสเตย์ และลานกางเต็นท์ เหมาะแก่การทำการท่องเที่ยวเพื่อเสริมรายได้ 4. หมู่ที่ 4 บ้านปากทรง เป็นหมู่บ้านที่ได้รับรางวัลป่าชุมชนดีเด่นระดับภาคใต้ ปี พ.ศ. 2565 มีจุดชมวิวเขาครา มีสายน้ำที่เป็นเก่งหินกว่า 700 เมตร เรียกว่า พ่อตาหินช้าง 5. หมู่ที่ 5 บ้านทับขอน มีน้ำตกทับขอนที่สวยงามมาก มีพื้นที่ผลิตข้าวไร่ มีสวนเกษตรอินทรีย์ 6. หมู่ที่ 6 บ้านสะพานสอง มีจุดชมวิว 4 ทะเลเขานมสาว (ค่ำทะเลดาว เช้าทะเลหมอก แดดออกทะเลป่า ย่ำสนธยาทะเลอันดามัน) มีน้ำตกเหวเตย 7. หมู่ที่ 7 บ้านตะแบกงาม มีโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีอ่างเก็บน้ำธรรมชาตบางนาว อ่างเก็บน้ำกรมชลประทาน 8. หมู่ที่ 8 บ้านในแจะ มีถ้ำค้างคาว มีการทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง 9. หมู่ที่ 9 บ้านคลองเรือ เป็นหมู่บ้านที่ได้รับโล่ห์การจัดการน้ำยอดเยี่ยมจากในหลวงรัชกาลที่ 9 มีโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานน้ำ ที่ผลิตใช้ได้ทั้งหมู่บ้าน มีโฮมสเตย์ มีธนาคารต้นไม้ และเป็นหมู่บ้านที่เน้นเกษตรแบบผสมผสาน ด้วยปัจจัยต่างๆที่กล่าวมานั้น จะเห็นว่า การจัดการด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนของตำบลปากทรง มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง เมื่อนักท่องเที่ยวเข้ามา ไม่ว่าจะเป็นการพักผ่อน หรือเพื่อการศึกษาดูงาน ก็จะมีการพักและกินอาหาร ทั้งยังซื้อกลับเป็นของฝากได้อีก การจัดการตลาดและอาหารปลอดภัย ก็จะกระทำได้โดยเฉพาะตลาดหน้าฟาร์ม ที่สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายทั้งตำบล อีกทั้งควรหนุนเสริมองค์ความรู้ด้านการจัดการตลาดออนไลน์ ให้เท่าทันกัลยุคดิจิทัล ในลำดับต่อไป

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

check_circle

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

จากกระแสทุเรียนและมังคุดราคาแพง ทำให้การขยายสมาชิกที่ผลิตอาหารปลอดภัยได้ยาก และเวลาในการประชุมกลุ่มก็จะไม่ค่อยมีเวลาตรงกัน การลด ละ เลิกการใช้สารเคมี ก็กระทำได้ไม่เต็มที่

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ