directions_run

(15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดชุมพร


“ (15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง ”

ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวคมขำ องอาจ

ชื่อโครงการ (15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง

ที่อยู่ ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0015 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"(15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดชุมพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง



บทคัดย่อ

โครงการ " (15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 65-00240-0015 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 130,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดชุมพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เดิมทีนั้นตำบลนาชะอังเป็นหมู่บ้านหนึ่งของตำบลนาทุ่ง อยู่ในเขตหมู่ที่ ๖ ซึ่งเป็นเขตปกครองของตำบลนาทุ่ง โดยมีนายพรหมลาศ พรหมน้อย เป็นผู้ใหญ่บ้าน โดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๖ ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๗ ก่อนต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็นกำนันคนแรกของตำบลนาชะอัง เมื่อวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๖ ซึ่งในขณะนั้นตำบลนาชะอัง มีเพียง ๕ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๑ บ้านขุนแสน หมู่ที่ ๒ บ้านนาชะอัง หมู่ที่ ๓ บ้านหูรอ หมู่ที่ ๔ บ้านดอนนาว หมู่ที่ ๕ บ้านหนองจระเข้ (หรือบ้านสามเสียม) ตำบลนาชะอัง จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลนาชะอัง เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๐ และยกฐานะเป็นเทศบาลตำบลนาชะอัง เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒ โดยแบ่งการปกครองออกเป็น ๙ หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ ๑ บ้านขุนแสน หมู่ที่ ๒ บ้านนาชะอัง หมู่ที่ ๓ บ้านหูรอ หมู่ที่ ๔ บ้านดอนนาว หมู่ที่ ๕ บ้านสามเสียม หมู่ที่ ๖ บ้านทรายทอง หมู่ที่ ๗ บ้านเนินคีรี หมู่ที่ ๘ บ้านหนองจระเข้ หมู่ที่ ๙ บ้านทับตะเคียน
เทศบาลตำบลนาชะอัง ตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองชุมพรมาทางทิศเหนือประมาณ 13 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 41.32 ตารางกิโลเมตร และมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆได้แก่ ทิศเหนือติดต่อกับตำบลสะพลี อำเภอปะทิว ทิศใต้ติดต่อกับเขตเทศบาลเมืองชุมพร ตำบลนาทุ่ง อำเภอเมืองชุมพร ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทย ทิศตะวันตกติดต่อกับตำบลบางลึก อำเภอเมืองชุมพร ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ของตำบลนาชะอังประกอบด้วยภูเขา ที่ราบค่อนข้างสูงแบบลูกคลื่นลาด และที่ราบชายฝั่งทะเล โดยทอดตัวจากทิศเหนือสู่ทิศใต้ และทิศตะวันออกของตำบล ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ที่ราบสูงจากระดับน้ำทะเล 50-200 เมตร มีพื้นที่ร้อยละ 30 ของพื้นที่ทั้งตำบลซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือ และตะวันตกเฉียงใต้ของตำบล ได้แก่ พื้นที่ในหมู่ที่ 5, 6 และ 8 ที่ราบสูงจากระดับน้ำทะเล 20-49 เมตร มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งตำบล จะอยู่ในพื้นที่ตอนกลางของตำบล ได้แก่ หมู่ที่ 2,3,7,9 และหมู่ที่ 5 บางส่วน ที่ราบต่ำ สูงจากระดับน้ำทะเลระหว่าง 3-19 เมตร มีประมาณร้อยละ 30 ของพื้นที่ทั้งตำบล และจะอยู่ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ของตำบล ได้แก่พื้นที่ หมู่ที่1, 4 และ3, 9 บางส่วน การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยทั่วไปมีการปลูกยางพาราในพื้นที่ราบค่อนข้างสูง เพาะปลูกมะพร้าว เพาะปลูกปาล์ม ในพื้นที่ราบสูงแบบลูกคลื่นลอนลาด และมีการทำนากุ้งในพื้นที่ราบลุ่มตามลำดับ ลักษณะภูมิอากาศ โดยทั่วไปจัดอยู่ในภูมิอากาศที่ค่อนข้างร้อนชื้น จะมี 2 ฤดู คือฤดูร้อน และฤดูฝนอากาศจะร้อนจัดมาก ประมาณ 2 เดือน คือเดือนมีนาคม - เดือนเมษายนของทุกปี ปริมาณฝนโดยเฉลี่ยปานกลาง ถึงตกมาก มีน้ำมากในฤดูฝน ส่วนฤดูแล้ง น้ำในห้วย หนองคลองต่าง ๆ มีปริมาณน้อยไม่เพียงพอในการทำการเกษตรฤดูแล้ง ตำบลนาชะอังมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งสภาพดิน ฟ้า อากาศ ที่เอื้ออำนวยต่อการทำการเกษตร ทั้งนี้จากข้อมูลการสำรวจของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (สจล.ชุมพร) เมื่อปี พ.ศ.2563 พบว่าตำบลนาชะอังมีพื้นที่เหมาะแก่การปลูกข้าว 14.47 ไร่ (ปัจจุบันไม่ได้ปลูก) ในจำนวนประชากร 6,953 คน มีผู้ปลูกข้าวประมาณ 90 คน โดยเป็นผู้ปลูกเดิม 40 ราย และมีผู้ปลูกรายใหม่จำนวน 50 ราย โดย สจล.ชุมพร ให้การสนับสนุนพันธุ์ข้าว ตำบลนาชะอังบริโภคข้าวจากการคำนวณ 737,018 กิโลกรัมข้าวสาร (49,735 ถังข้าวสาร) คิดเป็นมูลค่าประมาณ 27,023,993 ล้านบาทต่อปี ต้องซื้อข้าวบริโภค (ราคาข้าวสารเฉลี่ยถังละ 550 บาท) แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ของตำบลนาชะอังขาดการพึ่งตนเองด้านอาหาร (ข้าว) และขาดการรวมกลุ่มเนื่องจากไม่มีกลไกในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับการผลิต จึงไม่มีการเชื่อมโยงการผลิตกับการตลาด จึงเป็นปัญหาของการจัดการผลผลิต บางช่วงข้าวมีราคาตกต่ำ แต่บางช่วงข้าวมีราคาสูงขึ้นซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด แต่เกษตรกรผู้มีรายได้น้อยอาจไม่มีเงินมากพอที่จะเข้าถึงอาหาร (ข้าว) ที่มีคุณภาพได้ ในช่วงที่เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด 19) ประชาชนเกิดการตื่นตัวในการป้องกันตนเองให้รอดพ้นจากการติดเชื้อ โดยการปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ ที่หน่วยงานราชการกำหนด ทั้งการเรียนรู้หาวิธีป้องกันตนเองจากสื่อต่าง ๆรวมไปถึงการปลูกพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยารักษาโรค เช่น ฟ้าทลายโจร หัวไพล ขมิ้นอ้อย ขมิ้นชัน ว่านประเภทต่าง ๆ โดยมีการปลูกอยู่ก่อนแล้วที่วัดสุนทรธรรมาราม (วัดถ้ำนาชะอัง) เปรียบเสมือนคลังยาของพื้นที่ ซึ่งมีพระสงฆ์ในวัดเป็นผู้ริเริ่มปลูก และด้วยจำนวนสมุนไพรที่มีมากและหลากชนิด ประกอบกับประชาชนมีความจำเป็นและต้องการใช้สมุนไพรนำมาทำยาในช่วงโควิดระบาด ซึ่งเป็นสมุนไพรที่ประชาชนเชื่อว่าที่มีฤทธิ์ยับยั้งหรือลดความรุนแรงของเชื้อโควิด 19 ไม่ว่าจะเป็น กระชาย มะนาว ฟ้าทลายโจร ฯลฯ จึงมีแนวคิดที่จะเพิ่มปริมาณในการปลูกและแปรรูป ซึ่งที่วัดสุนทรธรรมารามได้ผลิตเวชภัณฑ์ใช้ในวงจำกัด เช่น น้ำมันสมุนไพรชนิดต่างๆ น้ำมันมะพร้าว ยาทาแก้แมลงสัตว์กัดต่อย เป็นต้น ฉะนั้นหากได้รับการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรชนิดต่าง ๆ เหล่านี้ จะเกิดการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ จะเป็นการหนุนเสริมให้คนในพื้นที่มียาสามัญประจำบ้านที่ผลิตเอง หาได้ง่าย และอาจสร้างรายได้ให้คนในพื้นที่ต่อไปในอนาคตได้ด้วย นอกจากนั้นตำบลนาชะอัง ยังมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจากอาหารทะเล เช่น ปลากหมึก กุ้งแห้ง ปลาสายไหม ปลาจิ๊งจั๊ง ปลาอินทรีย์เค็ม ปลากุเลา ปลาอกแร้หวาน ปลาแดดเดียว กะปิ เคย เป็นต้น ที่ผลิตในรูปแบบครัวเรือน และบางส่วนจำหน่ายในตลาดนัดวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ แต่ยังขาดการส่งเสริมให้เกิดการผลิตอย่างเป็นระบบและไม่มีตลาดรองรับที่ชัดเจน หลังจากโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล (U2T) ที่ สจล.ชุมพร ดำเนินมามาถึงช่วงท้ายโครงการและใกล้ปิดตัวลง จึงเกิดการรวมตัวของสมาชิก U2T ร่วมกับผู้สนใจดำเนินการต่อจึงสร้างกลุ่มเพื่อยกระดับการผลิต การตลาด คลังอาหารและยา ของตำบลนาชะอังขึ้น โดยมีสมาชิก 6 คน จะเป็นคณะที่ประสานและเชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เทศบาลตำบลนาชะอัง สจล.ชุมพร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ชุมพร สมาคมประชาสังคมชุมพร เกษตรจังหวัดชุมพร ฯลฯ โดยจัดตั้งเป็นกลุ่มคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง ซึ่งได้เล็งเห็นทรัพยากรที่เป็นแหล่งอาหารแหล่งผลิตยาสมุนไพรในพื้นที่ว่าหากได้มีกลไกต่างๆ เข้ามาขับเคลื่อนหรือสนับสนุนให้เกิดการผลิตที่เป็นระบบอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว จะทำให้เกิดการยกระดับการผลิต การตลาด คลังอาหารและยาของตำบลนาชะอังได้ด้วย ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน จำนวนประชากรผู้ปลูกข้าวมีจำนวน 40 ราย และมีผู้สนใจเพิ่มอีก 50 ราย ในตำบลนาชะอังส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การเกษตร ดังนั้น สมาคมประชาสังคมชุมพร เทศบาลตำบลนาชะอัง โครงการ U2T จากสจล.ชุมพร ในฐานะที่ปรึกษา และคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการได้ประชุมหารือและตกลงที่จะดำเนินการ โครงการยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง โดยมีแนวทางที่สำคัญ คือ 1. ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง 2. การจัดการสินค้าและการตลาดของพื้นที่ 3. การเพิ่มพื้นที่การปลูกผักปลอดสารและเพิ่มรายได้ เพื่อให้เกิดการบรรลุเป้าหมายหนึ่งปี ช่วยลดรายจ่ายภายในครัวเรือนเพิ่มรายได้จากการผลิตและสินค้าแปรรูปในตำบล ให้มีเพิ่มมากขึ้น จากการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ผลกระทบ ทุน และศักยภาพของชุมชน ในพื้นที่ตำบลนาชะอัง ดังนี้ 1) ด้านสุขภาพ เกิดการเจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีที่ตกค้างในร่างกาย ขาดสารอาหาร และมีปริมาณผักที่ไม่เพียงพอ สินค้าที่ขายตามตลาดชุมชนเป็นสินค้าที่ปลอดสารเคมี ร้อยละ 100 ของเกษตรกรปลูกข้าวไร่ปลอดสารเคมี 2) ด้านเศรษฐกิจเป็นหนี้สินในครัวเรือน มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการใช้สารเคมี มีค่าใช้จ่ายในการรักษาตัว อีกทั้งในชุมชนตำบลนาชะอังยังมีป่าต้นน้ำ สถานที่ท่องเที่ยว เช่น เขา ทะเล มีงานประเพณีแข่งเรือขึ้นโขนชิงธง ณ คลองหัววังพนังตัก รายได้จากประมงเฉลี่ยปี 2564 เพิ่มขึ้นจากปี 2563 ร้อยละ 10 สินค้าแปรรูปจากข้าวไร่และอาหารทะเล มีความหลากหลายอย่างน้อย 10 ชนิด 3) ด้านสังคม ไม่มีเครือข่ายสังคม มีการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร มีแหล่งเรียนรู้เป็นต้นแบบในการส่งเสริมกิจกรรมเกี่ยวกับข้าวไร่อย่างต่อเนื่อง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการรวมกลุ่มกัน 4) ด้านสิ่งแวดล้อม สารเคมีกระจายสู่ชุมชน ดินเสื่อมสภาพจากการปนเปื้อนสารเคมีเกิดการปนเปื้อนสารพิษในน้ำ ดิน อากาศ พื้นที่ปลูกข้าวไร่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ข้าวไร่ที่ทำการอนุรักษ์มีการส่งเสริมให้ปลูกอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ60 มีแหล่งอาหารเพื่อการบริโภคตลอดทั้งปีสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่มีอยู่ แม้สถานการณ์ในภาพรวมจะมีปัญหาซึ่งเป็นจุดอ่อนหลายประการ แต่ก็ยังมีจุดแข็งที่มีกลุ่มรวมตัวกันของกลุ่มคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง และสมาชิกมีความพร้อมที่จะปรับปรุง เรียนรู้และส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ สมาชิกมีความตั้งใจที่จะพัฒนาองค์กร และผลิตสินค้าแปรรูป มีพื้นที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติชุมชน มีปราชญ์ชาวบ้านที่ทำยาสมุนไพร มีภูมิปัญญาท้องถิ่น มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการปลูกพืชสมุนไพรในการรักษาเบื้องต้น ทั้งนี้ในตำบลยังมีจุดอ่อนที่ต้องปรับปรุงแก้ไข เช่น ชาวบ้านไม่ให้ความสำคัญ ชุมชนส่วนใหญ่นิยมทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ชาวบ้านยังขาดความมั่นใจในการประกอบอาชีพเสริม ขาดการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ชาวบ้านขาดความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรเบื้องต้น ผลตอบแทนจากผลผลิตไม่คุ้มกับการลงทุน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเกษตรกรภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) ในตำบลนาชะอัง ปัญหาที่เกิดขึ้นในตำบลนาชะอังสรุปได้ดังนี้ 1) พฤติกรรม ไม่ตระหนักในการใช้สารเคมี ไม่นิยมทานผัก และยังมีการปลูกผักกันน้อย ชาวบ้านไม่นิยมใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ส่วนใหญ่แม่ค้าจะไปรับผักจากที่อื่นมาจำหน่าย 2) กลไก ไม่มีคณะกรรมการในการขับเคลื่อน ไม่มีองค์กร/หน่วยงานขับเคลื่อน ไม่มีผู้ดูแลรับผิดชอบ ขาดแคลนแรงงาน 3) สภาพแวดล้อมทางสังคม ขาดการเชื่อมโยงเครือข่ายในระดับตำบล คนขาดความศรัทธาในการรวมกลุ่ม ขาดความเชื่อมั่น ตลาดชุมชนมีน้อย 4) สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ยังมีการใช้สารเคมีในชุมชน สภาพถนนยังมีหลุมมีบ่อ และมีฝุ่นละออง สภาพอากาศผิดฤดูทำให้มี ปัญหาเรื่องการเพาะปลูก เนื่องด้วยในตำบลนาชะอัง มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการจัดการตนองของประชากรในตำบลนาชะอัง ผ่านกลไกความร่วมมือของทุกภาคส่วนโดยได้สร้างกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อร่วมกันพัฒนาให้สอดคล้องกับทุกปัญหาและความต้องการของประชากรในตำบลอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนการยกระดับ การผลิตการตลาดคลังอาหารและยาทีได้รับความร่วมมือจากชุมชน
  2. เพื่อให้เกิดกระบวนการจัดการสินค้า การตลาด และการเพิ่มพื้นที่การผลิตในตำบลนาชะอัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บริหารจัดการ(สสส สนับสนุน)
  2. จัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ
  3. จัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา
  4. จัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน แผนธุรกิจ แผน BCG
  5. ศึกษาดูงานและเรียนรู้เรื่องการผลิตยาสมุนไพร
  6. ติดตามประเมินผลการผลิต การตลาด และผลลัพธ์โครงการ
  7. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการผลิตและการแปรรูป
  8. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline
  9. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่
  10. จัดเวทีคืนข้อมูลระดับตำบล และนำเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  11. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  12. ศึกษาดูงานและเรียนรู้เรื่องการผลิตยาสมุนไพร
  13. การประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศน์โครงการย่อย
  14. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
  15. การสำรวจจัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา ครั้งที่ 1
  16. ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ (ขาตั้งและเก็บพับ) ป้ายม้วนพร้อมขาเหล็ก
  17. ARE ครั้งที่1
  18. ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  19. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแปรรูปอาหารทะเล
  20. ประชุมการบันทึกข้อมูล ออนไลน์
  21. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 1
  22. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตยาจากพืชสมุนไพร (การทำยาดมสมุนไพร)
  23. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
  24. จัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน แผนธุรกิจ แผน BCG
  25. ค่าจ้างบันทึกข้อมูลรายงาน ลงระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1
  26. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
  27. AREครั้งที่2
  28. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 2
  29. พบพี่เลี้ยง พร้อมเจ้าหน้าที่การเงิน สสส.เรียนรู้การลงข้อมูลในระบบเพิ่มเติม
  30. การประชุมสมัชชาสุขภาพ จ.ชุมพร
  31. พบพี่เลี้ยงเพื่อการตรวจสอบการเงินและรายงาน online
  32. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 3
  33. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
  34. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 1
  35. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5
  36. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 2
  37. ARE ครั้งที่3
  38. การสำรวจจัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา ครั้งที่ 2
  39. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ
  40. ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการ ของ สสส.
  41. ร่วมจัดเวทีคืนข้อมูลระดับตำบลและนำเสนอผลการประเมิน บทเรียนและข้อเสนอเพื่อการพัฒนาการผลิตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  42. ค่าตอบแทนจัดบูธ และผู้ผ้าประดับโต๊ะวางสินค้า ในงาน กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ปี 2566
  43. ค่าจ้างบันทึกข้อมูล รายงาน และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ ครั้งที่ 2
  44. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6
  45. ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย
  46. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7
  47. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
จำนวนผู้ปลูกข้าวไร่ ผักปลอดสาร และ การผลิตยาสมุนไ 90

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการผลิต การตลาด คลังอาหารและยาของตำบลนาชะอังที่เป็นระบบ เป็นรูปธรรมและมีศักยภาพ 2.เพิ่มพื้นที่การผลิตการเกษตร (การปลูกข้าว การปลูกผักปลอดสาร) 3.เกิดสินค้าแปรรูปจากการเกษตรและจากทะเล 4.เกิดผู้ประกอบการผลิตสินค้าแปรรูปและสินค้ามีช่องทางการจำหน่าย 5.เพิ่มสินค้าชุมชนที่ทำให้เกิดรายได้ในกลุ่มผู้ประกอบการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการยกระดับการผลิตคลังอาหารและยา ตำบลนาชะอัง ที่มาจากหน่วยงานหรือองค์กรที่อยู่ในตำบลนาชะอัง จำนวน15 คน 2.นายกชี้แจงรายละเอียดโดยเกริ่นนำเล็กน้อย หัวหน้าโครงการอธิบายความเป็นมาของโครงการ ให้กับคณะทำงาน 3.คณะทำงานเสนอแนะแนวทาง และวิธีการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้คณะทำงานจากหน่วยงาน องค์กร จำนวน15คน 2.คณะทำงานทราบความเป็นมาของโครงการ และระยะเวลาในการดำเนินงานโครงการ

 

15 0

2. ศึกษาดูงานและเรียนรู้เรื่องการผลิตยาสมุนไพร

วันที่ 16 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พื่อเทราบถึงคุณประโยชน์ของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆ เพื่อศึกษาขั้นตอนการผลิตยาสมุนไพร เพื่อฝึกปฏิบัติการผลิตยาสมุนไพร เพื่อทราบกระบวนการทางการตลาด เพื่อเป็นประสบการณ์และสร้างศักยภาพแก่คณะทำงาน เพื่อนำความรู้ที่ได้มาขยายผลในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การไปดูงานที่วัดได้รับความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพร 1.พืชสมุนไพรแต่ละชนิดเช่น ตะไคร้ กระชาย กระท่อม ว่าน เป็นต้น 2.พืชแต่ละชนิดนำมาทำยาสมุนไพร เช่น ตะไคร้นำมาทำยากันยุง มะกรูดนำมาทำยาแก้ความดัน  ฟักเพกานำมาทำยาป้องกันมะเร็งลำไส้และริดสีดวงทวาน เป็นต้น 3.รูปแบบแพคเกจจิ้ง มีหลายแบบ เช่น เป็นขวด เก็นกระปุก เป็นซอง เป็นน้ำ เป็นเม็ด เป็นต้น

 

22 0

3. การประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศน์โครงการย่อย

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงแนะนำวิธีการลงข้อมูลและใบสำคัญต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถมาลงข้อมูลในโครงการที่รับผิดชอบได้

 

4 0

4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 7 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผลที่เกิดขึ้นในการประชุม 1.ได้คณะงานขับเคลื่อนทั้งหมด15คน 2.ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนที่มาจากหน่วยงานและองค์กร ในตำบลนาชะออัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นในการประชุม 1. ได้คณะงานขับเคลื่อนทั้งหมด15คน 2ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนทั้งหมด15คน มีรายชื่อดังนี้ 1.นาย สัญชัย หนูสุด ( นายกเทศมนตรีตำบลนาชะอัง) 2.นาย ธีรนันต์ ปราบราย ( ปลัดเทศบาลตำบลนาชะอัง) 3.นาย เกียรติศักดิ์ ชนมนัส ( รองนายกเทศมนตรีตำบลนาชะอัง) 4.นาย อภินันท์ จันทรส ( รองนายกเทศมนตรีตำบลนาชะอัง) 5.นาย วิรศักดิ์ เชาว์นรังค์ ( เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลนาชะอัง) 6.นาย ภิญโญ เพชรใหม่ ( สมาชิกสภาเทศบาลตำบลนาชะอัง ) 7.นาย จีรศักดิ์ แสงเจริญ ( สมาชิกสภาเทศบาลตำบลนาชะอัง ) 8.นาย สัญญา จันทรบัวคุณ ( สมาชิกสภาเทศบาลตำบลนาชะอัง ) 9.น.ส.คมขำ องอาจ ( หัวหน้าโครงการ ) 10.น.ส.นารีรัตน์ ตัสโต (เลขานุการโครงการ ) 11.น.ส.พัชร์ธิดาภรณ์ หนูสุด ( เจ้าหน้าที่การเงิน ) 12.น.ส.สุภาพรรณ นาคบำรุง ( เจ้าหน้าที่ it ) 13.นาง รัตนา เชาว์นรังค์ ( คณะทำงาน ) 14.น.ส.ศิริวรรณ เพรชอุแท ( คณะทำงาน ) 15.นาย คาวี นาสินสร้อย ( พี่เลี้ยงโครงการ ). คณะทำงานทราบที่มาของโครงการยกระดับการผลิตการตลาด คลังอาหารและยาของตำบลนาชะอัง

 

15 0

5. การสำรวจจัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา ครั้งที่ 1

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานขับเคลื่อน สำรวจ จัดทำข้อมูล การผลิตและแผนการผลิตรายสินค้า ( ข้าวไร่ สมุนไพร ผักปลอดสารพิษ อาหารทะเลแปรรูป/รายแปลง สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ แและจัดทำปฏิทินการผลิตทั้งในระดับครัวเรือนและระดับพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการลงพื่นที่สำรวจข้อมูลประชากร และจัดอบรม จำนวน 60 คน มึความสนใจในการร่วมกิจกรรมขับเคลื่นที่เสนอไปดังนี้ 1. ความสนใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 25 คน 2. ความสนใจในการแปรรูปอาหารทะเล จำนวน 18 คน 3. ความสนใจในการปลูกพืชสมุนไพร จำนวน 10 คน 4. ความสนใจในการปลูกข้าวไร่ จำนวน 7 คน

 

60 0

6. ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ (ขาตั้งและเก็บพับ) ป้ายม้วนพร้อมขาเหล็ก

วันที่ 19 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ  (ขาตั้งและเก็บพับ)
ป้ายม้วนพร้อมขาเหล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ  (ขาตั้งและเก็บพับ)
ป้ายม้วนพร้อมขาเหล็ก

 

0 0

7. ARE ครั้งที่1

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานขับเคลื่อนฯ และ จนท.ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการติดตามและประเมินผลการผลิต การตลาด และผลลัพธ์โครงการ สรุปวิเคราะห์ข้อมูลโดยเวทีชุมชนสรุปประเมินผล เพื่อให้เกิดการเรียนรู้บทเรียนความสำเร็จ มีข้อเสนอเพื่อการพ้ฒนาและวางแผนพัฒนาการดำเนินงานในปีต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายติดตามการดำเนินงานการทำยาสมุนไพร ซึ่งทางคณะทำงานและผู้ที่สนใจด้านยาสมุนไพรได้ไปศึกษาดูงานที่วัดคีรีวงก์ อ.หลังสวน จ. ชุมพร1. ได้รับข้อเสนอแนะจากภาคีในเรื่องที่ทำให้โครงการเติบโตและสามารถเดินต่อได้ในภาคต่อไป 2. คำแนะนำจาก เจ้าหน้าที่ สสส. ในส่วนของความรู้เพิ่มเติมของผลลัพธ์ของโครงการ 3. คำแนะนำจากภาคี ในส่วนของแผนการพัฒนาการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์

 

20 0

8. ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

0 0

9. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแปรรูปอาหารทะเล

วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานและประชาชนในพื้นที่ร่วมกันทำกิจกรรมอาหารทะเลแปรรูป ซึ่งอาหารทะเลนี้ราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดและสามารถหาได้เองเมื่อหามาได้จำนวนมาก นำไปขายที่เหลือจากการขายนำมาแปรรูปจึงมีการทำอาหารทะเลแปรรูปขึ้นในโครงการยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแปรรูปอาหารทะเล การจัดอบรมครั้งนี้เสนอการแปรรูป กะปิและ ปลาแดดเดียว ซึ่งเป็นของชาวบ้านในท้องถิ่น มาแปรรูปอาหารทะเลเพื่อเป็นการถนอมอาหารไว้ให้อยู่ได้นานๆ

 

50 0

10. ประชุมการบันทึกข้อมูล ออนไลน์

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการบันทึกข้อมูล ออนไลน์ ในแวป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้ และสามารถ คีย์งานผ่านระบบได้เป็นอย่างดี

 

1 0

11. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 1

วันที่ 16 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้แก่ชุมชน ในหัวข้อ การตลาด ออฟไลน์
วิทยากรนำเสนอเครื่องมือและช่องทางการทำตลาดออฟไลน์ว่า  มีอะไรบ้าง การตลาดออฟไลน์เราสามารขายสินค้าได้ทางใดบ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนได้ทราบถึงการทำการตลาดแบบที่ไม่มีการใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งการตลาด ออฟไลน์จะมีความน่าเชื่อถือสูงกว่าการตลาด Online ดังนั้น การตลาด Offline ยังคงมีบทบาทสำคัญกับธุรกิจในปัจจุบัน ทำให้ทราบถึงกลยุทธ์การตลาดมากขึ้นจากวิทยากรผู้มีความรู้ ในด้านการตลาด Offine

 

15 0

12. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตยาจากพืชสมุนไพร (การทำยาดมสมุนไพร)

วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากร ได้อธิบายคุณสมบัติของตัวยาที่นำมาผสม เพื่อทำยาดมสมุนไพร
แบ่งกลุ่มผสมตัวยา  และการนำตัวยาใส่บรรจุภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่าย

 

50 0

13. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.รับลงทะเบียน 08.30 น.-09.00 น.
- โครงการแจ้งผลการดำเนินนงานจากที่ผ่านมาถึงปัญหาต่างๆ และความคืบหน้าของกิจกรรม 2.หัวหน้าโครงการเชิญนายกสัญชัย หนูสุด แนะนำขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรมต่อไป 3.เลขาของโครงการสรุปถึงปัญหาการปลูกข้าวไร่ที่ดำเนินการต่อไปไม่ได้ และชี้แจงการดำเนินงานต่อในส่วนของการปลูกผักปลอดสารพิษ และเดินหน้าทำการตลาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ชี้แจงปัญหาที่เกิดขึ้น คณทำงานช่วยกันคิดหาวิธีแก้ไขปัญหา 2.คณะทำงานลงมติการจัดการอบรมการปลูกผักปลอดสารพิษ และลงความเห็นจะดำเนินงานของโครงการให้สำเร็จ

 

15 0

14. จัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน แผนธุรกิจ แผน BCG

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมร่วมวางแผนว่า จะดำเนินการขั้นตอนอย่างไร โดยมีวิทยาการที่ชำนาญในพื้นที่ชี้แนะแนวทางการขับเคลื่อน และคณะกรรมการร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาในครัวเรือน มุ่งสู่ชุมชน  และแผนธุรกิจให้สอดคล้องและตามโมเดลของ BCG

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความร่วมมือของคณะกรรมการขับเคลื่อน ทั้งองค์กร  และ คณะทำงาน
  2. มีเป้าหมายของการขับเคลื่อนเพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้เข้าชุมชน และสินค้าในชุมชนที่เป็นสัญลักษณ์ของชุมชน

 

15 0

15. ค่าจ้างบันทึกข้อมูลรายงาน ลงระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คีย์ข้อมูลการดำเนินโครงการเข้าระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลส่ง ทาง เจ้าหน้าที่ ในระบบฯ

 

1 0

16. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4

วันที่ 11 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงทะเบียน 08.00 น.-09.00 น.
2.คณะทำงานกล่าวแสดงความยินดีที่ได้รับเกียติเข้าร่วมประชุม 3.หัวหน้าโครงการกล่าวถึงผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งแจ้งปัญหาที่เกิดขึ้นกับการขับเคลื่อนโครงการ 4.เลขาโครงการชี้แจงเรื่องการผลิตยาจากสมุนไพรพื้นบ้าน และขอแนวทางเพื่อดำเนินการต่อจาก การปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 5.คณะทำงานและชาวบ้านที่เข้ามาร่วมขับเคลื่อนยินดดีพร้อมร่วมมือกับโครงการการผลิตยาสมุนไพรพื้นบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในส่วนของการจัดกิจกรรมประชุมย่อยครั้งที่4 คณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุมให้ความร่วมมือที่จะขับเคลื่อนโครงการในชุมชนต่อไป

 

15 0

17. AREครั้งที่2

วันที่ 13 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-คณะทำงานติดตามการดำเนินงาน ประเมินผลการผลิต การตลาดและผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานของโครงการ
-การติดตามการทำงานการแปรรูปอาหารทะเล ซึ่งมาจากคณะทำงาน และประชาชนมีส่วนร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ติดตามการทำอาหารทะเลแปรรูปซึ่งทำจากฝีมือคนในพื้นที่ เช่นการทำกะปิ  ปลาหวาน และปลาแดดเดียว

 

20 0

18. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 2

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้แก่ชุมชน ในหัวข้อ การตลาด ออนไลน์    ในหัวข้อต่าง เช่น การตลาดออนไลน์คืออะไร  ทำไมต้องทำการตลาดออนไลน์  ช่องทางการทำตลาดออนไลน์มีอะไรบ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเพจของโครงการเกิดขึ้น  ไว้เพื่อ โปรโมทขายสินค้า  ชื่อ  “ของดี  ของหรอย นาชะอัง”

 

15 0

19. พบพี่เลี้ยง พร้อมเจ้าหน้าที่การเงิน สสส.เรียนรู้การลงข้อมูลในระบบเพิ่มเติม

วันที่ 23 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คีย์งานเข้าระบบ ออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้ที่่จะนำข้อมูลลงระบบมากขึ้น

 

3 0

20. การประชุมสมัชชาสุขภาพ จ.ชุมพร

วันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ชมวีดีทัศน์ระบบสุขภาพไทนพัฒนาจากกระบวนการ
-รายงานผลการขับเคลื่อนงานสมัชชาสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไดัรับความรู้เกี่ยวกับหลายประเด้น จากการบรรยายของวิทยากร

 

3 0

21. พบพี่เลี้ยงเพื่อการตรวจสอบการเงินและรายงาน online

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พบพี่เลี้ยงเพื่อการตรวจสอบการเงินและรายงาน online

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบพี่เลี้ยงเพื่อการตรวจสอบการเงินและรายงาน online

 

3 0

22. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 3

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้แก่ชุมชน เพิ่มเติมติดตามผลจากครั้งที่ 1 และ 2
  • จากการจัดอบรมครั้งที่ 1 และ 2 ทางโครงการได้ฝากหาร้านเพื่อวางขายสินค้าที่ผลิตได้ ซึ่งมีผู้สนใจจริง ก็ติดต่อมาได้ ตัวอย่างเช่น ที่ร้านกาแฟ ในสหกรณ์กาแฟท่าแซะ ร้านเสริมสวยใกล้ศูนย์ราชการจังหวัดชุมพร ร้านค้าจำหน่ายหน้า ธกส.จังหวัดชุมพรน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเพจของโครงการเกิดขึ้น  ไว้เพื่อ โปรโมทขายสินค้า  ชื่อ  “ของดี  ของหรอย นาชะอัง” และแหล่งส่งสินค้าจำหน่าย  Ofline อีกด้วย

 

20 0

23. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานและผู้ที่สนใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ ส่วนใหญ่คนในชุมชนมีผู้สูงอายุและเด็กๆจำนวนมาก การที่รับประทานอาหารแต่ละอย่างควรเน้น สะอาดและปลอดสารพิษ รักษาสุขภาพ จึงควรหันมาปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือนหากเหลือจากการรับประทานก็จำหน่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและประชาชนร่วมกันทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษไว้เพื่อบริโภคและจำหน่าย

 

50 0

24. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 1

วันที่ 20 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการรายใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีความรู้เพิ่มเติม มุ่งสู่ชุมชนเข้มแข็ง

 

15 0

25. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5

วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดประชุมครั้งนี้เป็นการวางแผนเพื่อดำเนินการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ สืบเนื่องจากที่ได้มีการ อบรมเชิงปฏิบัติเพื่อการพัฒนาและแปรรูปแล้วที่ผ่านมา  ซึ่งมีชาวบ้านที่สนใจที่จะทำต่อเพื่อต่อยอดไปสู่การตลาด ทางคณะขับเคลื่อนโครงการได้ปรึกษา และลงมติ  ให้มีการจัด  อบรมผู้ประกอบการรายใหม่
ร่วมวางแผน เพื่อประสานวิทยากร  และวิธีการจัดอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย
  2. ประสานความร่วมมือได้อย่างรวดเร็ว ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้วยคณะกรรมการจากภาคีเครือข่าย
  3. ร่วมด้วยช่วยกันแก้ปัญหา และหาวิธีแก้ไขปัญหา
  4. ร่วมด้วยช่วยกัน ประสานวิทยากร

 

15 0

26. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 2

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ และเรียนรู้การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อให้สินค้าสามารถออกสู่ตลาดได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการมีบรรจุภัณฑ์ที่สวย่งามสามารถนำสินค้าที่ผลิต ออกขายสู่ท้องตลาดได้

 

20 0

27. การสำรวจจัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา ครั้งที่ 2

วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เตรียมเอกสาร แบบฟอร์ม ให้ประชาชนผู้ที่สนใจในตำบลกรอกข้อมูลรายละเอียด
  2. จัดประชุมพัฒนาฐานข้อมูลรายการกิจกรรมที่ขับเคลื่อน การชี้แจ้งเพื่อเข้าสู่วิสาหกิจชุมชน
  3. แจกเอกสารให้ผู้เข้าร่วมประชุมกรอก เพื่อนำไปเป็นฐานข้อมูล (แบบสอบถาม)
  4. วิทยากรอธิบายความเป็นมาของความจำเป้นที่จะต้องมีการเก็บข้อมูลให้ ผู้เข้าอบรมทราบ และสอนการคีย์ google form อย่างละเอียด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลจากการสำรวจ เราได้ตั้งเป้นฐานข้อมูลในความสนใจของประชากรในพื้นที่ ได้ข้อมูลที่โครงการฯ ต้องการตามวัตถุประสงค์    ซึ่งวัตถุประสงค์ก็คือ ต้องการผู้ประกอบการทีสนใจจริง และพร้อมร่วมกลุ่มเข้าหุ้นเพื่อเป็นทุนในการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ตนเองสนใจ เพื่อเป็นส่วนช่วยในการเพิ่มรายได้รองจากอาชีพหลัก

 

60 0

28. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการจำนวน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

 

0 0

29. ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการ ของ สสส.

วันที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการเล่าถึงโครงการแต่ละโครงการซึ่งในแต่ละแห่งมีปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา และความคืบหน้า ที่แตกต่างกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบวิธีการแก้ปัญหาของโครงการย่อย หลักการและขั้นตอนในการปฎิบัติ

 

2 0

30. ARE ครั้งที่3

วันที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวที ชุมชนดำเนินการติดตามประเมิณผลการผลิต การตลาด และผลลัพธ์โครงการสรุปวิเคราะห์ข้อมูลโดยเวทีชุมชนสรุปประเมิณผลผลิต จากเจ้าหน้าที่ จาก สสส เวทีพูดคุยเพื่อพัฒนาการดำเนินงานต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับข้อเสนอแนะจากภาคีในเรื่องที่ทำให้โครงการเติบโตและสามารถเดินต่อได้ในภาคต่อไป
  2. คำแนะนำจาก เจ้าหน้าที่ สสส. ในส่วนของความรู้เพิ่มเติมของผลลัพธ์ของโครงการ
  3. คำแนะนำจากภาคี ในส่วนของแผนการพัฒนาการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์

 

20 0

31. ร่วมจัดเวทีคืนข้อมูลระดับตำบลและนำเสนอผลการประเมิน บทเรียนและข้อเสนอเพื่อการพัฒนาการผลิตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 20 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีคืนข้อมูลระดับตำบล วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น  ได้อะไรบ้างจากที่ดำเนินงานมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้เพิ่มเติมจากที่ผิดพลาด เพื่อปรับปรุงในระดับต่อไป

 

60 0

32. ค่าตอบแทนจัดบูธ และผู้ผ้าประดับโต๊ะวางสินค้า ในงาน กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ปี 2566

วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมจัดบูธ งาน  กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ปี 2566  ร่วมกับ ภาคีเครือข่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นำสินค้าออกจำหน่าย และ ทำให้รู้จักมากขึ้น

 

3 0

33. ค่าจ้างบันทึกข้อมูล รายงาน และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ ครั้งที่ 2

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมข้อมูลคีย์เข้าระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลเป็นระบบ และส่งงานได้รวดเร็ว

 

0 0

34. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6

วันที่ 3 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

หัวหน้าโครงการ และ เลขาฯโ่ครงการกล่าวถึงกิจกรรมที่ดำเนินการที่ผ่านมา สรุปปัญหา และวิธีการแก้ไข จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามความก้าวหน้า และพัฒนาการดำเนินงาน และสรุปผลต่อเนื่อง ผู้ประกอบการรายใหม่ และสืบต่อ กิจกรรมเวที่คืนข้อมูลในตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.วิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ถูกต้อง 2.รับฟังข้อเสนอแนะจากตณะทำงานและ ภาคีเครือข่ายเพื่อดำเนินการในกิจกรรมต่อไป 3.คณะทำงานร่วมสรุปโครงการเพื่อทำเวทีคืน ข้อมูลในตำบล

 

15 0

35. ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

 

2 0

36. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7

วันที่ 17 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เลขาฯโครงการ น.ส.นารีรัตน์  ตัสโต  เกริ่นนำถึงกิจกรรมที่ดำเนินการผ่านมา กล่าวถึง  ปัญหา และการแก้ปัญหาของโครงการสรุปปัญหา และวิธีการแก้ไข คณะทำงานรายงานความก้าวหน้า  การดำเนินงานของโครงการในระยะ 1 ปี ตามงบประมาณ สสส.ให้มาใช้ประโยชน์มากน้อยเพียงใด กล่าวถึงโครงการที่จะดำเนินงานในปีหน้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กร  และภาคีเครือข่าย
  2. มีข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วนในการดำเนินการของโครงการครั้งต่อไป
  3. มีปราชญ์ข้างบ้านเข้ามีบทบาทในการดำเนินงานของโครงการ และสามารถนำสินค้าไปจำหน่ายยังสถานที่ต่างๆ

 

15 0

37. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 3

วันที่ 19 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ช่วยกันเลือกบรรจุภัณฑ์เพื่อให้สินค้าออกสู่ตลาดได้ โ่ดยการสนับสนุนจากภาคี  "วิทยาลัยเทคนิคชุมพร" จากการประชุมคร้้งที่ 2  ให้ผู้ประกอบการหาทุนสนับสนุนเพื่อให้สินค้าออกจำหน้ายให้ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการมีบรรจุภัณฑ์ เพื่อบรรจุสินค้า ออกขายสู่ท้องตลาดทั้ง  ออนไลน์ และ ออฟไลน์

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนการยกระดับ การผลิตการตลาดคลังอาหารและยาทีได้รับความร่วมมือจากชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.คณะทำงานมีศักยภาพในการขับเคลื่อนงาน 2.เกิดความร่วมมือและกติการ่วมของชุมชน
90.00

 

2 เพื่อให้เกิดกระบวนการจัดการสินค้า การตลาด และการเพิ่มพื้นที่การผลิตในตำบลนาชะอัง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการจัดการสินค้าและการตลาดของพื้นที่ 2. เกิดการเพิ่มพื้นที่การปลูกผักปลอดสารและเพิ่มรายได้ 3.เกิดรายได้จากการผลิตผลจากสมุนไพร
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนผู้ปลูกข้าวไร่ ผักปลอดสาร และ การผลิตยาสมุนไ 90

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนการยกระดับ การผลิตการตลาดคลังอาหารและยาทีได้รับความร่วมมือจากชุมชน (2) เพื่อให้เกิดกระบวนการจัดการสินค้า การตลาด และการเพิ่มพื้นที่การผลิตในตำบลนาชะอัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บริหารจัดการ(สสส สนับสนุน) (2) จัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ (3) จัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา (4) จัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน แผนธุรกิจ แผน BCG (5) ศึกษาดูงานและเรียนรู้เรื่องการผลิตยาสมุนไพร (6) ติดตามประเมินผลการผลิต การตลาด และผลลัพธ์โครงการ (7) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการผลิตและการแปรรูป (8) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline (9) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ (10) จัดเวทีคืนข้อมูลระดับตำบล และนำเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (11) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (12) ศึกษาดูงานและเรียนรู้เรื่องการผลิตยาสมุนไพร (13) การประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศน์โครงการย่อย (14) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (15) การสำรวจจัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา ครั้งที่ 1 (16) ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ  (ขาตั้งและเก็บพับ) ป้ายม้วนพร้อมขาเหล็ก (17) ARE ครั้งที่1 (18) ป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (19) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแปรรูปอาหารทะเล (20) ประชุมการบันทึกข้อมูล ออนไลน์ (21) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 1 (22) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตยาจากพืชสมุนไพร (การทำยาดมสมุนไพร) (23) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (24) จัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน แผนธุรกิจ แผน BCG (25) ค่าจ้างบันทึกข้อมูลรายงาน ลงระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 (26) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (27) AREครั้งที่2 (28) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 2 (29) พบพี่เลี้ยง พร้อมเจ้าหน้าที่การเงิน สสส.เรียนรู้การลงข้อมูลในระบบเพิ่มเติม (30) การประชุมสมัชชาสุขภาพ จ.ชุมพร (31) พบพี่เลี้ยงเพื่อการตรวจสอบการเงินและรายงาน online (32) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการตลาดทั้ง Online/Offline ครั้งที่ 3 (33) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ (34) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 1 (35) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 (36) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 2 (37) ARE ครั้งที่3 (38) การสำรวจจัดทำฐานข้อมูลคน ทรัพยากร และแผนพัฒนา ครั้งที่ 2 (39) หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ (40) ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการ ของ สสส. (41) ร่วมจัดเวทีคืนข้อมูลระดับตำบลและนำเสนอผลการประเมิน บทเรียนและข้อเสนอเพื่อการพัฒนาการผลิตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (42) ค่าตอบแทนจัดบูธ และผู้ผ้าประดับโต๊ะวางสินค้า ในงาน กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ปี 2566 (43) ค่าจ้างบันทึกข้อมูล รายงาน และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ ครั้งที่ 2 (44) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 (45) ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย (46) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 (47) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ (15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง

รหัสโครงการ 65-00240-0015 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในการผลิตเป็นตัวยา และ การปลูกผักปลอดสารพิษ

ครอบครัวสานต่อการปลูกผัก และ การจำหน่ายยาสมุนไพรที่โครงการจัดและยังทำ่ต่อเนื่อง

คณะทำงาน กำลังสานต่อเพื่อให้เป็น สินค้า OTOP ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

เกิดการร่วมมือของ บุคคลในชุมชน และให้ความสนใจที่จะนำพาไปสู่การสร้าง่รายได้ให้กับครอบครัว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

คณะทำงานมีความภาคภูมิใจที่ กิจกรรมที่ทำขึ้นชุม่ชนสสามารถใช้ให้เกิดประโยชน์และสามารถทำรายได้ให้กับครัวเรือน

มีครอบครัวสานต่อในการทำกิจกรรมต่อเนื่องในครอบครัวเพื่อบริโภคเองและ จำหน่า่ยในเวลาเดียวกัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

(15)ยกระดับการผลิตและการตลาดคลังอาหารและยาตำบลนาชะอัง จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0015

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวคมขำ องอาจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด