directions_run

(22)โครงการ พัฒนาต้นแบบเกษตรกร (YOU MODEL) ผู้นำเกษตรและอาหารสุขภาพ จังหวัดชุมพร ปีที่ 2

assignment
บันทึกกิจกรรม
คีย์ข้อมูลออไลน์ งวดที่ 230 เมษายน 2566
30
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการคีย์ข้อมูลรายงานกิจกรรมงวดที่ 2 ลง ระบบอออนลไน์เพื่อรายงานผล การทำงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
2.คณะทำงานดำเนินการคีย์ข้อมูล พร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ และประเมินผลการดำเนินงานว่าดำเนินไปตามรายกิจกรรมที่ได้ดำเนินการหรือไม่
3.คณะทำงานเก็บหลักฐานต่างๆ ทั้งบิลล์ ภาพถ่าย คลิ๊ปวีดีโอ และอืนๆ เพื่อแนบหลักฐานการนำเสนอผลสำเร็จของโครงการผ่านการคีย์ข้อมูล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดผลสำเร็จตามรายกิจกรรมและทำให้คณะกรรมการโครงการเข้าใจกระบวนการคีย์ข้อมูล อันจะส่งผลดีคือทำให้คณะกรรมการเข้าใจระบบการทำงานตั้งแต่ต้นจนจบโครงการ
  2. ผลการลงข้อมูลทำให้คณะทำงานมองเห็นผลสำเร็จโครงการอย่างชัดเจน มากยิ่งขึ้นในลักษณะรายกิจกรรม และสามารถประเมินผลสำเร็จได้อย่างชัดเจน
  3. ผลการคีย์ข้อมูลทำให้คณะกรรมการมีความมั่นใจในแนวทางการขับเคลื่อนที่ผ่านมาว่าหากดำเนินการด้วยความตั้งใจและลงมือปฏิบัติจริง ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น ย่อมเป็นไปตามเป้าหมายและแผนที่วางไว้อย่างชัดเจน
ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ23 เมษายน 2566
23
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานเดินทางมาปรึกษาพี่โครงการ เรื่องเอกสารการเงิน และ การลงข้อมูลออนไลน์เพื่อเตรียมการสรุปข้อมูลของโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานโครงการเป็นไปตามเป้าหมายของ สสส.
2.คณะทำงานปรึกษาหาเรือเพื่อตรวจสอบผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาว่่าเกิดผลสำฤทธิ์เพียงใด รวมทั้งการเคลียร์เอกสารการเงินต่างๆ ให้เป็นตามระเบียบข้อบังคับ
3.คณะทำงานได้ปรึกษาหารือเพื่อวางแผนร่วมกันในอนาคตที่ขับเคลื่อนโครงการหลังเสร็จสิ้นโครงการของ สสส.เนื่องจากเครือข่ายได้ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องแม้จะเสร็จสิ้นโครงการก็ตาม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะกรรมการได้แนวทางในการดำเนินการเรื่องเอกสาร การเคลียร์บิลให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ
2. คณะทำงานสามารถประเมินผลสำเร็จของโครงการ อย่างเป็นระบบ รวมทั้งเกิดกระบวนการเรียนรู้ในกระบวนการทำงานของ สสส. 3.คณะทำงานเกิดแนวคิดและแผนการยกระดับโครงการขับเคลื่อเครือข่ายในอนาค
4. เกิดการพูดคุยถึงแนวทางการดำเนินงาน หลังเสร็จสิ้นโครงการกับ สสส. เพื่อคัดเลือกประเด็นขับเคลื่อนโครงการต่อยอดพัฒนาจากโครงการ You model เช่นประเด็น การตลาด การแปรรูป การท่องเที่ยวเชิงเกษตรและอาหารปลอดภัย การวางเครือข่ายให้เข้มแข็ง เพื่อให้เกิดความร่วมมือในอนาคต

ประเมินผลโครงการ/สรุปผลโครงการ11 เมษายน 2566
11
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.หารสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามบันใดผลลัพธ์ โดยได้แยกย่อยเป็นกิจกรรมต่างๆ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ  เพื่อเสนอต่อ สสส.ให้เห็นผลการดำเนิงงานที่ผ่านมา พร้อมทั้งการตรวจสอบผลสำเร็จที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามเป้าหมายดิมหรือไม่
2. การสกัดองค์ความรู้ที่เกิดขึ้น รวมทั้งการมองหาแนวทางในการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต เพือให้เครือข่ายที่ขับเคลื่อนสามารถดำเนินการอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งยังได้ รวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อให้เป็นข้อเท็จจริงสำหรับเสนอผลสำเร็จของโครงการ
3. จัดเตรียมรายงานผลในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อให้เห็นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย ตามรายกิจกรรม รวมทั้งบันใดผลลัพธ์ ที่ชัดเจน พร้อมนำผลสำเร็จมาเปรียบเทียบกับแผนและเป้าหมายที่วางไว้ ตั้งแต่เริ่มโครงการ
2.เกิดผลสำฤทธิในเชิงรายงาน และเชิงพื้นที่อย่างชัดเจน ในเชิงรายงานคือผลที่ได้นำเสนอในเชิงเอกสาร วีดีโอ ภาพถ่าย ตัวเลข และอื่นๆ ในเชิงพื้นที่ คือผลการผลิตอาหารปลอดภัย ผลการขยายเครือข่าย ความเข้มแข็งของอำเภอที่เกิดขึ้น การเพิ่มทักษะของเกษตรกรต้นแบบที่เกิดขึ้น ความเชื่อมั่นซึ่งกันและกันของคณะทำงาน
3.เกิดผลการขยายแนวทางไปสู่นโยบายของจังหวัดผ่านหน่วยงานต่างๆ เช่น เกษตรจังหวัดชุมพร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด สปก.จังหวัดชุมพร รวมทั้งภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐเอกชน และภาคะุรกิจได้ให้ความสนใจ แนวทางของโครงการ You model

อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพเน้นการผลิตและการพัฒนาพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์4 เมษายน 2566
4
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เชิญตัวแทนเกษตรกรจาก 8 อำเภอ อำเภอละ 5-10 คนที่เป็นเกษตรกรต้นแบบรวม 40-80 คน เข้าร่วมอบรมเพื่อให้ผู้นำเกษตรกรทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้ในแต่ละอำเภอโดยได้เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพของการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ เพื่อให้ตัวแทนเกษตรกรทั้ง 8 อำเภอนำองค์ความรู้ไปปรับใช้ในพื้นที่ตนเองอย่างเป็นรูปธรรม
2.วิทยากรได้ดำเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่การปฏิบัติทั้งแนวทางเรื่องการพัฒนาคุณภาพของผลผลิตให้มีคุณภาพที่ดี รวมทั้งแนวทางเรื่องความปลอดภัยของผลผลิตที่เกิดขึ้น รวมทั้งแนวทางการรับรองมาตฐานการผลิต ทั้งมาตรฐานปลอดภัยและมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
3.เปิดโอกาสให้ตัวแทนเกษตรกรทั้ง 8 อำเภอ นำผลสำเร็จของโครงการมาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อให้เห็นผลการดำเนินงานที่ผ่านว่าเกิดผลสำเร็จในเชิงประจักษ์ อะไรบ้าง
4. เปิอโอากาสให้เครือข่ายเกษตรกรต้นแบบแต่ละอำเภอได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน กับเครือข่ายของอำเภออืนๆ  เพื่อเสริมทักษะการขยายเครือข่ายของแต่ละอำเภอ
5. เชิญรองผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อเปิดงาน พร้อมทั้งมีหน่วยงานต่างๆ ระดับจังหวัด เข้าร่วมโครงการ เช่น เกษตรและสหกรณ์จังหวัด เกษตรจังหวัด สปก.จังหวัด พัฒนาที่ดิน รวมทั้งมีบริษัท จากภายในและเครือข่ายต่างประเทศ ที่สนใจผลผลิตเกษตรอินทรีย์ และปลอดภัยจำหน่ายในต่างประเทศ
6. เปิดโอกาสให้ประชาชนของจังหวัดเข้าร่วมโครงการ ทั้งเครือข่ายนักเรียน อำเภอเมืองจังหวัดชุมพร เทศบาลบางหมาก อสม. ตัวแทนเกษตรกรในอำเภอเมือง และพื้นที่อื่นๆ เดิมนทางมาร่วมงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างชัเจน
7.อบรมตัวแทนเกษตรกรต้นแบบ ทั้งเรื่องการพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาปัจจัยการผลิต การเผยแพร่ความรู้เกษตรและอาหารปลอดภัย การบริหารศูนย์เรียนรู้ฯ การบริหารกลุ่มและการเผยแพร่องค์ความรู้สู่เกษตรกร
8.ตัวแทนแต่ละอำเภอนำองค์ความรู้ ไปขยายกิจกรรมแต่ละพื้นที่ รวม 8 อำเภอ พร้อมทั้งดำเนินการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ อำเภอละ 1 พื้นที่ รวม 8 พื้นที่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกษตรกรต้นแบบ 8 อำเภอเข้าร่วมโครงการ เพื่อรับการถ่ายทอดองค์ความรู้จาวิทยากรเเรื่องการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานในการทำเกษตรและอาหารสุขภาพ จำนวน 80 รายที่จะทำหน้าที่นำองค์ความรู้ไปเผยแพร่ต่อให้เกษตรกรรายอื่นๆ ครอบคลุมทั้ง 8 อำเภอ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดละเลิกการใช้สารเคมีทางเกษตกร
2.ตัวแทนเกษตรกรต้นแบบทั้ง 8 อำเภอเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากร ตัวแทนเครือข่ายอื่นๆ ทำให้เกิดความมั่นใจในแนวทางการขับเคลื่อนที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และที่สำคัญ เกิดความมั่นใจในการขยายเครือข่าย จาก 80 รายไปสู่ 800 รายอย่างชัดเจน
3.เกิดความร่วมมือระดับเครือข่ายขยายไปสู่องค์กรและเครือข่ายต่างๆ ทั้งจังหวัด เช่นเกิดการผลักดันไปสู่นโยบายของจังหวัด ผ่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด(นายทศพล เผื่อนอดุม) ที่จะใช้เป็นแนวทางในการขัลเคลื่อนโครงการในการลดละเลิก การใช้สารเคมีในจังหวัด นอกจากเกิดเครือข่ายความร่วมมือในหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายความร่วมมือในภาคเอกชน สถาบันการศึกษา (แม่โจ้-ชุมพร) สจล.ลาดกระบัง-ชุมพร โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทน อสม. ภาคธุรกิจ
4.เกิดการเชื่อมโยงตลอด Value Chain ในกระบวนการพัฒณาการเกษตรอินทรีย์ คือกระบวนการปรับปรุงดิน การใช้ปุ๋ยชีวภาพ สารชีวภัณฑ์ กระบวนการปลูก การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การแปรรูป การเชื่อมโยงการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ การเชื่อมโยงสู่ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรและอาหารสุขภาพ การขับเคลื่อเครือข่ายระดับจังหวัด สู่ระดับภาคและระดับประเทศในอนาคต
5. เกิดความสนใจของประชาชนที่เข้าร่วมงาน เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ 80 คนจากตัวแทนเครือข่าย 8 อำเภอ พบว่าเมื่อถึงวันจัดโครงการ มีผู้เข้าร่วมงานจากหน่วยงานต่างๆ ภาคีเครือข่าย ภาครัฐเอกชน เพื่อเดินทางมาเยี่ยมชมผลงานของเครือข่ายเกษตรกร 8 อำเภอประมาณ 200 คน ทำให้องค์ความรู้ด้านเกษตรและอาหารสุขภาพถูกเผยแพร่ออกไปอย่างต่อเนื่องอย่างเข้มแข็ง
6.เกิดแรงผลักดันให้ขับเคลื่อนเครือข่ายต่อเนื่อง หลังเสร็จสิ้นโครงการ โดยใช้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และสถานบันพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบังวิทยาเขตชุมพร ในการขับเคลื่อนแนวทางเกษตรอินทรีย์ สู่การขยายกิจกรรมในเชิงนโยบาย ผ่านศูนย์ AIC (Agritech Innovation Center) เพื่อให้เกิดการขยายกิจกรรมดังกล่าวทั้งจังหวัดชุมพร 7.เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายตั้งแต่ต้นน้ำ คือการผลิตของเกษตรกรให้ได้คุณภาพมาตรฐาน และให้ได้ผลผลิตที่รองรับความต้องการของผู้บริโภค กลางน้ำ คือหน่วยงานภาครัฐ คือกระบวนการรับรองมาตรฐาน โดยโครงการได้เชื่อมโยงกับแนวทางของ กรมวิชาการเกษตร ที่ได้เข้ามาสนับสนุนการรับรองมาตรฐารเกษตรอินทรัย์ (Organic Thailand) ทำให้เกิดการรับรองมาตรฐานในบางอำเภออย่างชัเจน รวมทั้งหน่วยงานอื่นๆ ที่ทำหน้าที่หนุนเสริมให้เกิดการเพิ่มมูลค่า เช่น พัฒนาชุมชน เกษตรแต่ละอำเภอ เกษตรตำบล นำไปสู่กระบวนการแปรรูปผลผลิตที่ได้จากโครงการ ในหลายๆ อำเภอ เช่น ปะทิว ท่าแซะ อำเภอเมือง พะโต๊ ละแม ปลายทางคือตลาดในระดับต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม
8.เกิดเครือข่ายการตลาดอย่างเป็นรุปธรรม เชน เครือข่ายตลาดเชิงพื้นที่ ในพื้นที่อำเภอสวี อำเภอละแม อำเภอพะโต๊ะ และอำเภอเมือง ทำให้ผลผลิตที่ได้จากโครงการ ที่เหลือจาากบริโภคในครัวเรือนกระจายไปสู่กลุ่มประชาชนกลุ่มอื่นๆ  ทำให้เกิดรายได้อย่างเป็นรูปธรรมในทุกอำเภอ เครือข่ายตลาดระดับจังหวัด พบว่าบางอำเภอได้ขยายเครือข่ายผลลิตสู่ระดับจังหวัด เช่นกลุ่มพะโต๊ะ กลุ่มปะทิว กลุ่มท่าแซะ เครือข่ายระดับต่างประเทศ พบว่าผลผลิตโครงการบางอำเภอขยายไปสู่ตลาดต่างประเทศ ทั้งประเทศญี่ป่น ตะวันออกกลาง และยุโรป ผ่านบริษัทเอกชน ที่ได้เข้ามาร่วมงานและกิจกรรมของโครงการดังกล่าว
9.เกิดกระแสความสนใจในแนวทางเกษตรอินทรีย์อย่างกว้างขวาง โดยสังเกตจากผู้เข้าร่วมงานดังกล่าวมากกว่า 200 คนมีหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมโครงการมากกว่า 10 หน่วยงาน มีภาคีเครือข่ายมากกว่า 10 ภาคีเครือข่าย และโครงการดังกล่าวขยายไปสู่แนวนโยบายต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
10. เกิดความเข้มแข็งของเครือข่าย You model จังหวัด และเกิดแนวทางการขับเคลื่อน ต่อยอดสู่ประเด็นอื่นๆ เช่น การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุชภาวะ การขับเคลื่อนเชิงนโยบายในระดับต่างๆ เกิดการเชื่อมโยงผลผลิตสู่ตลาดระดับในประเทศและต่างประเทศ
11. เกิดความเชื่อมโยงกับภาควิชาการอย่างเหนียวแน่น โดยการขับเคลื่อนหลังเสร็จสิ้นโครงการ มียถานบันการศึกษาเข้ามารองรับที่จะขับเคลื่อน กิจกรรมต่อไป แม้จะเสร็จสิ้นโครงการจาก สสส.ก็ตาม

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.หลังสวน28 มีนาคม 2566
28
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.พี่เลี้ยง หัวหน้าโครงการ คณะกรรมการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบผลการดำเนินงาจของการขยายเครือข่าย ของฐานการเรียนรู้ของอำเภอหลังสวนรวมทั้งการพูดคุยถึงแนวทางการขับเคลื่อนของอำเภอหลังสวนหลังเสร็จสิ้นโครงการ
2.เก็บข้อมูลการดำเนินงานของอำเภอหลังสวนหลังดำเนินโครงการครบ 1 ปี และประเมินผลในมิติต่างๆ เพื่อเปรียบเทียบผลสำเร็จกับเป้าหมายที่ว่างไว้
3.ให้คำแนนำฐานการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาต่อยอดไปสู่ฐานเรียนรู้ที่เผยแพร่องค์ความรู้ให้สามารถเผยแพร่แนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ อย่างมั่นคงต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.1.เกิดผลการดำเนินงาจของการขยายเครือข่าย ของฐานการเรียนรู้ของอำเภอหลังสวนหลังเสร็จสิ้นโครงการและพบว่าเกษตรกรต้นแบบ ฐานเรียนรู้และเครือข่ายมีความเข้มแข็งมากขึ้น มีการรวมกลุ่มผลิตปุ๋ย การกผลิตไม้ผล ผัก รวมทั้งการรวมกลุ่มต่อยอดสู่การตลาดในระดับต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ทำให้เห็นผลสำเร็จและความคุ้มค่าของงบประมาณของ สสส.ที่ได้จัดสรรให้กับโครงการ และเกิด Impact ที่กระทบในเชิงบวกในวงกว้าง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
2.เห็นผลสำเร็จของอำเภอหลังสวนอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งการรวมกลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภัณฑ์ การแปรรูป การเชื่อมโยงสู่ตลาด ทั้งในและต่างประเทศ
3.เกิดความเชื่อมั่นที่เกิดขึ้นกับเครือข่าย และมองเห็นแนวทางในการขับเคลื่อนในอนาค รวมทั้งประเด็นที่จะขับเคลื่อนที่เกิดจากพื้นที่เป็นหลัก ทำให้มองเห็นโมเดลการทำงานที่ ชัดเจน

พัฒนาและยกระดับเกษตรกรต้นแบบเพื่อยกระดับฐานการเรียนรู้เพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหารปลอดภัย18 มีนาคม 2566
18
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานเกษตรกร 8 อำเภอ มาประชุมพร้อมกันเพื่อติดตามและให้คำปรึกษาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และกระบวนการขยายเครือข่าย
2.นำเสนอแนวทางการขยายเครือข่ายของตนเองให้ได้ตามเป้าหมายและบันใดผลลัพธ์
3.พัฒนาฐานเรียนรู้ และขยายเครือข่ายสู่อำเภอของตนเอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดผู้นาเกษตรกร 8 อาเภอ ได้รับการยกระดับเป็นฐานการเรียนรู้เกษตรและอาหารสุขภาพ ให้สามารถเผยแพร่กิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพสู่เกษตรกรต้นแบบในแต่ละอำเภออย่างเป็นรูปธรรม ตามเป้าหมายที่วางไว้ คือ 5-10 ราย
2.พัฒนาฐานการเรียนรู้แต่ละอำเภอเพื่อขยายแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพสู่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย 40-80 รายโดยเกษตรกรต้นแบบแต่ละอำเภอจะทำหน้าที่พัฒนาต่อยอดเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคต
3.ได่้คณะทำงานต่อยอดการทำงานของแต่ละอำเภอทำหน้่าที่ช่วยกันขับเคลื่อนแนวทางเกษตรและอาหารปลอดภัยของอำเภอตนเอง
4.ได้แผนการพัฒนาเครือข่าย You model เพื่อขับเคลื่อนแนวทางเกษตรและอาหารปลอดภัย ของจังหวัดชุมพร

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.สวี11 มีนาคม 2566
11
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.พี่เลี้ยงคณะกรรมการลงพื้นที้อำเภอสวีเพื่อติมตามงานขยายเครือข่าย และถ่ายทำผลการดำเนินงานผ่าน Clip vdo เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
2.พบปะพูดคุยกับฐานเรียนรู้ พร้อมทั้งให้คำปรึกษาในการดำเนินงานขับเคลื่อน เครือข่าย แนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ
3.เก็บข้อมูลเพิ่มเคิมเพื่อเตรียมสรุปโครงการ พร้อมทั้งตรวจสอบผล เชิงปริมาณและคุณภาพ และผลประจักษ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่จริง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.พี่เลี้งและคณะกรรมการเห็นความคืบหน้าของโครงการในเชิงประจักษ์ พร้อมทั้งผลการพูดคุยในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอคิดเห็นของเครือข่ายอำเภอสวี
2.ได้แนวทางในการพัฒนากิจกรรมต่อจากการลงพื้นที่เพื่อที่จะพัฒนาต่อยอดโครงการของ You model
3.ได้ข้อมูลเพื่อเตรียมสรุปโครงการ พร้อมได้ผลการดำเนินงานเชิงปริมาณและคุณภาพ และผลประจักษ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่จริงซึ่งจะนำไปใช้ในการสรุปผลโครงการและต่อยอดโครงการในปี ต่อไป

แต่งตั้งคณะทางานขับเคลื่อนเกษตรและอารหารปลอดภัย เพื่อทาหน้าที่ขับเคลื่อนโครงการทั้ง 8 อาเภอ ครั้งที่ 28 มีนาคม 2566
8
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานเกษตรกร 8 อำเภอ มาประชุม/พัฒนาฐาน/ขยายแนวทางการเกษตร/คณะทำงานต่อยอดการทำงาน 2.วางแผนกับคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรม เกษตรและอาหารปลอดภัยในระยะที่ 2 เพื่อวางแผนการจัดอบรมและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบแต่ละอำเภอ
3.วางแผนการเก็บข้อมูล และการประเมินผลการดำเนินโครงการผ่านกิจกรรมย่อยต่างๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้นาเกษตรกร 8 อาเภอ เพื่อยกระดับฐานการเรียนรู้เกษตรและอาหารสุขภาพ ให้สามารถเผยแพร่กิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพสู่พื้นที่อื่นๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรม 2.พัฒนาฐานการเรียนรู้แต่ละอาเภอเพื่อขยายแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพสู่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย 3.ได่้คณะทำงานต่อยอดการทำงาน 4.ได้แผนการพัฒนาเครือข่าย You model เพื่อจะดำเนินการต่อในระยะที่ 2 เพื่อเป้าหมายของโครงการที่จะยกระดับคุณภาพและปริมาณของเกษตรกรต้นแบบ พร้อมทั้งวางแผนให้เห็นเป็นรูปธรรม เพื่อเชื่อมโยงสู่ผลสำเร็จที่จะเกิดขึ้น

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ปะทิว25 กุมภาพันธ์ 2566
25
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมทั้งสอบถามความคืบหน้าของการขยายเครือข่ายของฐานเรียนรู้ฯ เพื่อตรวจสอบข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
  2. ให้คำปรึกษาพร้อมทั้งวางแนวทางพัฒนาต่อยอดในอนาคต กิจกรรมของอำเภอปะทิว ทั้งเรื่องผลผลิตกาแฟอินทรีย์ โกโก้ และผักเพื่อเชื่อมโยงการตลาดต่อไป
  3. วางแนวทางการทำงานและการเชื่อมโยงเครือข่ายกับอำเภอไกล้เคียงเพื่อเชื่อมโยงให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพ เช่นอำเภอท่าแซะ เป็นต้น
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมทั้งรับทราบผลการดำเนินงานของฐานเรียนรู้ อำเภอปะทิว เช่นเรื่องการใช้แนวทางเกษตรอินทรีย์ กับการปลูกผัก กาแฟ และโกโก้ การแปรรูปผลผลิต การทำตลาดภายใต้แนวทางเกษตรอินทรีย์
  2. เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทั้งองค์ความรู้ การบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ การเชื่อมโยงตลาดสินค้ากลุ่มเกษตรอินทรีย์ และความร่วมมือของเครือข่ายในอนาคต
  3. เกิดแผนการขยายและเชื่อมโยงเครือข่ายอำเภอไกล้เคียงคืออำเภอท่าแซะ เพื่อให้เกิดความร่วมมือเชิงประจักษ์ ในพื้นที่ไกล้เคียง และความร่วมมือระดับจังหวัดอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมต่อไป
คืนเงินสำรองเปิดบัญชี23 กุมภาพันธ์ 2566
23
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Pallapa
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สำรองเงินเปิดบัญชีโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คืนเงินสำรองเปิดบัญชีโครงการจำนวน 500 บาทแก่หัวหน้าโครงการ

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ละแม18 กุมภาพันธ์ 2566
18
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อติดตามและประเมินผลพร้อมเก็บข้อมูลเชิงตัวเลข และเชิงคุณภาพ พร้อมทั้งการสังเกตผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาของโครงการ พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ You model หรือไม่ พร้อมทั้งการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรต้นแบบที่ยกระดับตนเองเป็นฐานเรียนรู้เรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพ
2.ให้คำปรึกษาเรื่องการแปรรูปผลผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากผักพื้นบ้าน ไม้ผล เห็นอินทรีย์ เสาวรส เป็นต้น พร้อมทั้ง ให้คำแนะนำในการขยายเครือข่ายเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรและอาหารสุขภาพของอำเภอละแม
3.การพูดคุยเพื่อวางแนวทางในอนาคต เพื่อให้กิจกรรมของฐานเรียนรู้ มีความก้าวหน้าและไม่หยุดนิ่ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้รับทราบข้อมูลจากการลงพื้นที่เพิ่มเติมทั้งข้อมูลเชิงตัวเลข และเชิงคุณภาพพบว่าฐานเรียนรู้อำเภอละแม มีความก้าวหน้า และเห็นผลความสำเร็จ พร้อมทั้งการสังเกตผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาของโครงการ พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ You model หรือไม่ พร้อมทั้งการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรต้นแบบที่ยกระดับตนเองเป็นฐานเรียนรู้เรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพ
2.เกิดแนวทางการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมของฐานเรียนรู้และเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบ เกษตรและอาหารสุขภาพ และแนวทางพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากผักพื้นบ้าน ไม้ผล เห็นอินทรีย์ เสาวรส เป็นต้น พร้อมทั้ง แนวทางการเชื่อมโยง ตลอด Value chain เพื่อยกระดับเครือข่ายและรายได้ของกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายละแม
3.เกิดแนวทางในอนาคต เพื่อให้กิจกรรมของฐานเรียนรู้ มีความก้าวหน้าและไม่หยุดนิ่ง พร่อมทั้งขยายสู่ชุมชนอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ท่าแซะ11 กุมภาพันธ์ 2566
11
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อติดตามและประเมินผลพร้อมเก็บข้อมูลเชิงตัวเลข และเชิงคุณภาพ พร้อมทั้งการสังเกตผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาของโครงการ พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ You model หรือไม่ พร้อมทั้งการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรต้นแบบที่ยกระดับตนเองเป็นฐานเรียนรู้เรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพ
2.ให้คำปรึกษาเรื่องการแปรรูปผลผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากผักพื้นบ้าน ไม้ผล เห็นอินทรีย์ เสาวรส เป็นต้น พร้อมทั้ง ให้คำแนะนำในการขยายเครือข่ายเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรและอาหารสุขภาพของอำเภอละแม
3.การพูดคุยเพื่อวางแนวทางในอนาคต เพื่อให้กิจกรรมของฐานเรียนรู้ มีความก้าวหน้าและไม่หยุดนิ่ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้รับทราบข้อมูลจากการลงพื้นที่เพิ่มเติมทั้งข้อมูลเชิงตัวเลข และเชิงคุณภาพพบว่าฐานเรียนรู้อำเภอละแม มีความก้าวหน้า และเห็นผลความสำเร็จ พร้อมทั้งการสังเกตผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาของโครงการ พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ You model หรือไม่ พร้อมทั้งการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรต้นแบบที่ยกระดับตนเองเป็นฐานเรียนรู้เรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพ
2.เกิดแนวทางการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมของฐานเรียนรู้และเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบ เกษตรและอาหารสุขภาพ และแนวทางพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากผักพื้นบ้าน ไม้ผล เห็นอินทรีย์ เสาวรส เป็นต้น พร้อมทั้ง แนวทางการเชื่อมโยง ตลอด Value chain เพื่อยกระดับเครือข่ายและรายได้ของกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายละแม
3.เกิดแนวทางในอนาคต เพื่อให้กิจกรรมของฐานเรียนรู้ มีความก้าวหน้าและไม่หยุดนิ่ง พร่อมทั้งขยายสู่ชุมชนอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ทุ่งตะโก4 กุมภาพันธ์ 2566
4
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อติดตามและประเมินผลพร้อมเก็บข้อมูลเชิงตัวเลข และเชิงคุณภาพ พร้อมทั้งการสังเกตผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาของโครงการ พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ You model หรือไม่ พร้อมทั้งการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรต้นแบบที่ยกระดับตนเองเป็นฐานเรียนรู้เรื่องเกษตรและอาหารสุขภาพ โดยเฉพาะพื้นที่ทุ่งตะโกจะเน้นการใช้จุลินทรีย์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มผักอินทรีย์ และได้มีการขยายเครือข่ายสู่กลุ่มอื่นๆ ของอำเภออย่างต่อเนื่อง
2.ให้คำปรึกษาเรื่องการผลิตปุ๋ยชีวภาพให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะปุ๋ยเศษอาหารจากครัวเรือน รวมทั้งการแก้ปัญหาเรื่องโรคและแมลง เพื่อให้เกษตรกรลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในพื้นที่ตนเองให้มากยิ่งขึ้น
3.การพูดคุยเพื่อวางแนวทางในอนาคต เพื่อให้กิจกรรมของฐานเรียนรู้ มีความก้าวหน้าอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
4.จัดทำสื่อเพิ่มเติม เป็นการเก็บภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพื่อชี้ให้เห็นถึงกิจกรรมที่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนประสบผลสำเร็จ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้ผลการดำเนินงานทั้งเชิงตัวเลข ข้อมูล เชิงคุณภาพ คือผลสำเร็จของการลดรายจายและเพิ่มรายได้ รวมทั้งการสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัย พร้อมทั้งการดำเนินกิจกรรมของฐานเรียนรู้ที่ได้ทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบ รายอื่นๆ ตามเป้าหมายที่วางไว้ จนก่อให้เกิดการแพร่กระจายของแหล่งอาหารที่ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรในพื้นที่ อำเภอทุ่งตะโกเพื่อพัฒนาตนเองให้สามารถเป็นศุนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ในอนาคตได้ อย่างชัดเจน
2.เกิดเกษตรกรต้นแบบแบบ You model ในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโกอย่างชัดเจน จำนวน 10 รายมีการพัฒนากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ พร้อมทั้งนำปัญหามาแลกเปลี่ยนกัน เป็นระยะ ในกลุ่มเครือข่ายของอำเภอทุ่งตะโก โดยมีฐานเรียนรู้ ของคุณสายสุดา เป็นฐานเรียนรู้หลัก และกระจายไปสู่เกษตรกรต้นแบบอีก 10 ราย ทำหน้าที่ขยายเครือข่ายไปเป็นระยะ
3.เกิดแนวทางการขับเคลื่อนในอนาคต และการเตรียมการสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมของคณะกรรมการส่วนกลาง เพื่อที่จะนำผลการดำเนินงานของเครือข่ายทุ่งตะโกรายงานต่อคณะกรรมการ You model ส่วนกลาง

ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ12 มกราคม 2566
12
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานเดินทางมาปรึกษาเกี่ยวกับการขับเคลื่อนโครงการเพื่อให้โครงการสามารถขับเคลื่อนโครงการไปสู่เป้าหมาย และขยายผลการดำเนินงานให้เกิดการเผยแพร่
2.คณะทำงานได้นำปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาพูดคุยและปรึกษาหารือเพื่อให้เกิดการหาทางออกร่วมกัน เช่น เรื่องของปัญหาตวามมีั่นใจของเครือข่ายในการใช้แนวทางเกษตรอินทรีย์ และการเชื่อมโยงให้เกิดผลสำเร็จให้เป็นรูปธรรม
3. คณะทำงานได้ร่วมกันวางแนวทางในการแก้ปัญหาและขับเคลื่อน โครงการตามระยะเวลาให้สอดคล้องกับบันใดผลลัพธ์ ให่้เกิดผลชัดเจน ตามเป้าหมายของ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คนทำงานได้แนวทางในการขับเคลื่อนโครงการเพื่อให้เกิดผลสำฤทธิ์ ตามกรอบระยะเวลาที่ได้กำหนดไว้ในโครงการ
2.เกิดปรับแผนการทำงานเพื่อให้เหมาะสมกับอำเภอของตนเองและผลการปรึกษาหารือทำให้เกิดขวัญและกำลังและเกิดความชัดเจนในการขับเคลื่อน และมองเห็นเป้าหมายการขับเคลื่อนเครือช่่ายชัดเจนยิ้งขึ้น
3. เกิดประเด็นการนำไปสู่การพัฒนา โครงการและกิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพ เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาเครือข่ายและขยายเครือข่ายแต่ละอำเภอ

คีย์ข้อมูลออลน์ งวดที่ 131 ตุลาคม 2565
31
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการคีย์ข้อมูลรายงานกิจกรรมงวดที่ 1 ลง ระบบอออนลไน์ 2.คีย์ รายงานผลการปฏิบัติงาน ลงระบบออนไลน์ พร้อมทั้งการสรุปผลการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผลการดำเนินงานในการจัดกิจกรรมงวดที่ 1 ผ่านระบบในระบบออนนไลน์ 2.ได้ตรวจสอบผลการดำเนินงานกับเป้าหมายตามบันใดผลลัพธ์ ที่วางไว้

งานสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร26 ตุลาคม 2565
26
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย แสงนภา. หลีรัตนะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการเข้าร่วม จำนวน 4 คนเพื่อดำเนินการของกรรมการสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการความเชื่อมโยงกับโครงการในการพัฒนา กลไกการพัฒนาเครือข่ายอย่างชัดเจน
2.ได้ร่วมกันจัดบูธแสดงผลิตภัณฑ์ของกิจกรรมต่างๆ ของภาคคีเครือข่าย ของโครงการเพื่อชี้ให้เห็นผลสำเร็จของโครงการ ที่ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2565
3. ได้นำเสนอความคิดเห็นต่างๆ ของคณะกรรมการเพื่อเสนอแนวทางในการสร้างสุขภาพที่ดีใหกับคณะทำงานของจังหวัด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดรูปแบบการทำงานของกิจกจรรมเพื่อให้เห็นถึงกระบวนการและกลไกในการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 2 ที่ได้ดำเนินการมาในปี 2565
2.ได้เรียนรู้ภาพรวมของนโยบายจังหวัดผ่านสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพรเพื่อที่จะนำมาปรับใช้กับการดำเนินการของโครงการของ You model เพื่อปรับกระบวนการทำงานให้สอดคล้องกับนโยบายของจังหวัด
3.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเครือข่ายอื่นๆ ทำให้เห็นรูปแบบการทำงานที่แตกต่างกัน แต่มีเป้าหมายเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป้าหมายของสุขภาพของจังหวัด
4.ร่วมจัดบูธแสดงผลิตภัณฑ์ของกิจกรรม เพื่อชี้ให้เห็นผลสำเร็จของโครงการที่ผ่านมา

กิจกรรม พัฒนาและยกระดับเกษตรกรต้นแบบเพื่อยกระดับฐานการเรียนรู้เพื่อทาหน้าที่ขยายกิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพ 8 อาเภอ ครั้งที่ 214 ตุลาคม 2565
14
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดอบรมผู้นำเกษตรกร 8 อำเภอ เพื่อให้เกษตรกรนำองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการยกระดับเป็นฐานการเรียนรู้ของแต่ละอำเภอ พร้อมทั้งดำเนินการวางแผนและนวทางในการเผยแพร่กิจกรรมสู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของพื้นที่อำเภอของตนเองตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ คืออำเภอละไม่น้อยกว่า 1 ฐานการเรียนรู้ และ 1 ฐานการเรียนรู้ ต้องขยายเครือข่าย 5-10 ต้นแบบ เพื่อทำหน้าที่เผยแพร่องค์ความรู้ให้ได้ 80-100 ครัวเรือนของแต่ละอำเภอ
2.พัฒนาฐานการเรียนรู้แต่ละอำเภอ โดยการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาพร้อมทั้งการนัดประชุมพร้อมทั้ง วางแนวทางในการขยายเครือข่ายสู่ครัวเรือนอื่นๆ ของอำเภอตนเอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดผู้นาเกษตรกร 8 อาเภอ เพื่อยกระดับฐานการเรียนรู้เกษตรและอาหารสุขภาพ ให้สามารถเผยแพร่กิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพสู่พื้นที่อื่นๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายของโครงการ พร้อมทั้งเกิดฐานเรียนรู้ ครอบคลุม 8 อำเภอของจังหวัดชุมพร ไม่น้อยกว่า 8 ฐานการเรียนรู้
2.พัฒนาฐานการเรียนรู้แต่ละอำเภอเพื่อขยายแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพสู่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายคือเกษตรกรต้นแบบ อำเภอละ 5-10 รายเพื่อเป็นเกษตรกรต้นแบบที่พร้อมจะพัฒนาตนเองเป็นฐานการเรียนรู้ในอนาคต
3.เกิดเครือข่ายความร่วมมือในพื้นที่แต่ละอำเภอ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนแนวทางเกษตรและอาหารปลอดภัย
4.ได้แผนการพัฒนาเครือข่าย You model ของ 8 อำเภอ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร5 ตุลาคม 2565
5
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ 1 ฐาน ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบสู่ฐานเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่กระจายองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ในส่วนของอำเภอท่าแซะได้พัฒนาเกษตรกรต้นแบบจำนวน 10 รายเป็นฐานเรียนรู้ อีกจำนวน 10 ฐาน แต่ละฐานจะทำหน้าที่โดดเด่นไ่ม่เหมือนกัน เช่น ฐานเรียนรู้เรื่องใผ่ ฐานเรียนรู้เรื่องการเลี้ยงไส้เดือน ฐานเรียนรู้เรื่องการผลิตกาแฟอินทรีย์ ฯลฯ
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้หรือศูนย์เรียนรู้ ของอำเภอท่าแซะ 10 ฐานเรียนรู้ตามแนวทางการขยายลูกไก่ จากแม่ก่ คือคุณชัยยุทธ ชัยโย สู่เกษตรกรต้นแบบจำนวน 10 ราย 10 ประเด็น และปัจจุบัน 10 รายดังกล่าวได้พัฒนาต่อยอดเป็น 10 ฐานเรียนรู้ในพื้นที่อำเภอท่าแซะ เพื่อทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้ต่อไป
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอื่นๆ จาก 10 ฐาน สู่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยมีลักษณะกิจกรรมที่แตกต่างกันออกไป
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอท้าแซะ การผลิตปุ๋ย การปลูกผัก การปลูกใผ่ การเลี้ยงไก่ เกษตรอินทรีย์  และการผลิตปุ๋ยจากวัสดุในครัวเรือน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบสู่ฐานเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่กระจายองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ของพื้นที่ต่อไปโดยพื้นที่อำเภอท่าแซะ  บ้านหมอพอเพียงนายชัยยุทธ ไชยโย จะเน้นการผลิตปุ๋ย การปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น และการปลูกใผ่ รวมทัังกิจกรรมอื่น
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้หรือศูนย์เรียนรู้ ของอำเภอท่าแซะ ผ่านแนวคิดแม่ไก่่ โดยเกษตรกรต้นแบบจะถูกขยายออกไปเรื่อยๆ  โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทำการเกษตรชองอำเภอท่าแซะพร้อมทั้งเชิ่อมโยงเกษตรกรต้ยแบบจำนวน 10 ฐานเรียนรู้ให้มีความโดดเด่นในแต่ละประเด็น และทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้ สู่เกษตรกรเป้าหมรย จำนวน 100 ครัวเรือ
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำท่าแซะ เน้นเกษตรเกษตรอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยการปลูกผักอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยครัว การปลูกใผ่ และกิจกรรมอื่นๆ
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอท่าแซะ การผลิตปุ๋ย การปลูกผัก  เกษตรอินทรีย์  และการผลิตปุ๋ยจากมูลสัตว์ การแปรรูปผลผลิตเกษตรอินทรีย์

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.เมือง จ.ชุมพร1 ตุลาคม 2565
1
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ 2 ฐาน ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบสู่ฐานเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่กระจายองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ในประเด็นการปลูกผักอินทรีย์ ด้วยรูปแบบการปลูกผักในกระถางในพื้นที่ชานเมือง พร้อมทั้งได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการผลิตวัสดุปลูกเพื่อพัฒนาคุณภาพของผักอินทรีย์
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้หรือศูนย์เรียนรู้ ของอำเภอเมือง 2 ฐานเรียนรู้ โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทำการเกษตรชองอำเภอเมือง พร้อมทั้งเชิ่อมโยงฐานเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆ เช่นเกษตรอำเภอ เกษตรจังหวัดชุมพร องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น อบต.และโรงเรียน อสม.เทศบาล และองค์กรอื่นๆ
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำเภอเมิอง เน้นเกษตรเกษตรอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยการปลูกผักอินทรีย์ในกระถาง
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอเมิอง การผลิตปุ๋ย การปลูกผัก  เกษตรอินทรีย์  และการผลิตปุ๋ยจากมูลสัตว์และวัสดุปลูก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้จำนวน 2 ฐานทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของอำเภอเมือง โดยแบ่งเป็น 2 ฐานการเรียนรู้ทั้งการผลิตผักกระถาง บ้านคุณมะลิวัลย์ ชัยบุตร และบ้านผู้ใหญ่ประสงค์ คอนกำลัง เพื่อให้เกษตรกรต้นแบบขยายองค์ความรู้ และพัฒนาสู่เกษตรกรต้นแบบ และฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตตามเป้าหมายของโครงการ -เกิดเกษตกรต้นแบบจำนวน 12 ราย ที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ จากฐานเรียนรู้และคณะทำงานของอำเภอเมืองเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ และทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกรในระดับอำเภอและตำบลต่อไป เพื่อขยายพื้นที่เกษตรและอาหารปลอดภัยให้ครอบคลุมจังหวัดชุมพร -เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ ผ่านการศึกษาดูงานการพูดคุย การถ่ายทอดโดยฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ จนนำไปสู่การตระหนักในความปลอดภัยในแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงไปสู่การตลาดอาหารปลอดภัยและอาหารอินทรีย์ได้แก่ผัก ผลไม้ และอื่นๆ จำนวน 120 รายเพื่อให้เป็นแหล่งอาหารปลอดภัยของอำเภอเมือง รวมทั้งการขยายสู่การตลาดในชุมชนเมือง
-การถ่ายทำเป็นสื่อเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐานเรียนรู้ สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ภายในประเทศเพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อ เป็นลักษณะ สื่อ Media เพื่อให้สามารถขยายความรู้อย่างกว้างขวาง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อะทิว จชุมพร1 ตุลาคม 2565
1
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบสู่ฐานเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่กระจายองค์ความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ กาแฟอินทรีย์ การผลิตผักอินทรีย์ การผลิตโกโก้อินทรีย์  เป็นต้น
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้หรือศูนย์เรียนรู้ ของอำเภอปะทิว โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทำการเกษตรชองอำเภอปะทิว พร้อมทั้งเชิ่อมโยงฐานเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆ เช่นเกษตรอำเภอ เกษตรจังหวัดชุมพร องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำปะทิว เน้นเกษตรเกษตรอินทรีย์ทั้งการผลิตกาแฟ โกโก้ ผักอินทรีย์
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอปะทิวการผลิตปุ๋ย การปลูกผัก  เกษตรอินทรีย์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้จำนวน 1 ฐานทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของอำเภอปะทิวเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบขยายองค์ความรู้ และพัฒนาสู่เกษตรกรต้นแบบ และฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตตามเป้าหมายของโครงการ -เกิดเกษตกรต้นแบบจำนวน 7 ราย ที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ จากฐานเรียนรู้และคณะทำงานของอำเภอปะทิวเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ และทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกรในระดับอำเภอและตำบลต่อไป เพื่อขยายพื้นที่เกษตรและอาหารปลอดภัยให้ครอบคลุมจังหวัดชุมพร -เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องกาแฟอินทรีย์ โกโก้อินทรีย์ ผักอินทรีย์ และการผลิตอาหารอินทรีย์  ผ่านการศึกษาดูงานการพูดคุย การถ่ายทอดโดยฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ จนนำไปสู่การตระหนักในความปลอดภัยในแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงไปสู่การตลาดอาหารปลอดภัยและอาหารอินทรีย์ จำนวน 70 ราย
-การถ่ายทำเป็นสื่อเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐานเรียนรู้ สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ภายในประเทศเพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อ เป็นลักษณะ สื่อ Media เพื่อให้สามารถขยายความรู้อย่างกว้างขวาง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ทุ่งตะโก18 กันยายน 2565
18
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบสู่ฐานเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่กระจายองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ของพื้นที่ต่อไปโดยพื้นที่ทุ่งตะโกจะเน้นการผลิตปุ๋ย การปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้หรือศูนย์เรียนรู้ ของอำเภอทุ่งตะโก โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทำการเกษตรชองอำเภอทุ่งตะโก พร้อมทั้งเชิ่อมโยงฐานเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆ เช่นเกษตรอำเภอ เกษตรจังหวัดชุมพร องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น อบต.และโรงเรียน
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำทุ่งตะโก เน้นเกษตรเกษตรอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยการปลูกผักอินทรีย์
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอทุ่งตะโก การผลิตปุ๋ย การปลูกผัก  เกษตรอินทรีย์  และการผลิตปุ๋ยจากมูลสัตว์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้จำนวน 1 ฐานทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของอำเภอทุ่งตะโกเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบขยายองค์ความรู้ และพัฒนาสู่เกษตรกรต้นแบบ และฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตตามเป้าหมายของโครงการ -เกิดเกษตกรต้นแบบจำนวน 8 ราย ที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ จากฐานเรียนรู้และคณะทำงานของอำเภอทุ่งตะโกเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ และทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกรในระดับอำเภอและตำบลต่อไป เพื่อขยายพื้นที่เกษตรและอาหารปลอดภัยให้ครอบคลุมจังหวัดชุมพร -เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ ผ่านการศึกษาดูงานการพูดคุย การถ่ายทอดโดยฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ จนนำไปสู่การตระหนักในความปลอดภัยในแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงไปสู่การตลาดอาหารปลอดภัยและอาหารอินทรีย์ได้แก่ผัก ผลไม้ และอื่นๆ จำนวน 80 ราย -การถ่ายทำเป็นสื่อเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐานเรียนรู้ สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ภายในประเทศเพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อ เป็นลักษณะ สื่อ Media เพื่อให้สามารถขยายความรู้อย่างกว้างขวาง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.สวี จ.ชุมพร17 กันยายน 2565
17
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบและพัฒนาเกษตรกรต้นแบบสู่ฐานเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่กระจายองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ของพื้นที่ต่อไป
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้ โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การศึกษาจากตัวอย่างฐานเรียนรู้และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทำการเกษตรชองอำเภอสวี พร้อมทั้งเชิ่อมโยงฐานเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆ เช่นเกษตรอำเภอ เกษตรจังหวัดชุมพร องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น อบต. 3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำสวี เน้นเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยการปลูกผักอินทรีย์  การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรื่องตลาดผักอินทรีย์
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอสวี การผลิตปุ๋ย การปลูกผัก  เกษตรอินทรีย์  การปลูกผักในกระถาง และการผลิตปุ๋ยจากมูลสัตว์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้จำนวน 1 ฐานทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของอำเภอทุ่งตะโกเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบขยายองค์ความรู้ และพัฒนาสู่เกษตรกรต้นแบบ และฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตตามเป้าหมายของโครงการ
-เกิดเกษตกรต้นแบบจำนวน 10 ราย ที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ จากฐานเรียนรู้และคณะทำงานของอำเภอทุ่งตะโกเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ และทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกรในระดับอำเภอและตำบลต่อไป เพื่อขยายพื้นที่เกษตรและอาหารปลอดภัยให้ครอบคลุมจังหวัดชุมพร
-เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ ผ่านการศึกษาดูงานการพูดคุย การถ่ายทอดโดยฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ จนนำไปสู่การตระหนักในความปลอดภัยในแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงไปสู่การตลาดอาหารปลอดภัยและอาหารอินทรีย์ได้แก่ผัก ผลไม้ และอื่นๆ จำนวน 100 ราย -การถ่ายทำเป็นสื่อเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐานเรียนรู้ สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ภายในประเทศเพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อ เป็นลักษณะ สื่อ Media เพื่อให้สามารถขยายความรู้อย่างกว้างขวาง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.พะโต๊ะ10 กันยายน 2565
10
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบ
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้ โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การศึกษาจากตัวอย่างฐานเรียนรู้และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำเภอหลังสวนเน้นเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ ทั้งมังคุดอินทรีย์ การผลิตปุ๋ย การใช้สารปรับปรุงดิน การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งการจัดการทางการตลาดผลไม้ปลอดภัยและผลไม้อินทรีย์
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอพะโต็ะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้จำนวน 1 ฐานทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของอำเภอพะโต๊เพื่อให้เกษตรกรต้นแบบขยายองค์ความรู้ และพัฒนาสู่เกษตรกรต้นแบบ และฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตตามเป้าหมายของโครงการ
-เกิดเกษตกรต้นแบบจำนวน 10 ราย ที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ จากฐานเรียนรู้และคณะทำงานของอำเภอพะโต๊ะเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ และทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกรในระดับอำเภอและตำบลต่อไป เพื่อขยายพื้นที่เกษตรและอาหารปลอดภัยให้ครอบคลุมจังหวัดชุมพร
-เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ ผ่านการศึกษาดูงานการพูดคุย การถ่ายทอดโดยฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ จนนำไปสู่การตระหนักในความปลอดภัยในแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงไปสู่การตลาดอาหารปลอดภัยและอาหารอินทรีย์ได้แก่ผัก ผลไม้ และอื่นๆ จำนวน 100 ราย -การถ่ายทำเป็นสื่อเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐานเรียนรู้ สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ภายในประเทศเพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อ เป็นลักษณะ สื่อ Media เพื่อให้สามารถขยายความรู้อย่างกว้างขวาง

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.หลังสวน จ.ชุมพร5 กันยายน 2565
5
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานโครงการลงพื้นที่พบปะฐานเรียนรู้ ที่พัฒนาจาก เกษตรกรต้นแบบ You model ปีที่ 1 สู่ฐานเรียนรู้ ในปีที่ 2 พร้อมทั้ง Choaching เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรต้นแบบ
2.พัฒนาเกษตรกรต้นแบบผ่านฐานเรียนรู้ โดยการถ่ายทอดความรู้ การแปลกเปลี่ยนความรู้ การศึกษาจากตัวอย่างฐานเรียนรู้และพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคตเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่ องค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป
3.ขยายองค์ความรู้สู่เครือข่ายอำเภอหลังสวนเน้นเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ ทั้งมังคุดอินทรีย์ การผลิตปุ๋ย การใช้สารปรับปรุงดิน การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งการจัดการทางการตลาดผลไม้ปลอดภัยและผลไม้อินทรีย์
4. ถ่ายทำ Clip เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ จากฐารเรียนรู้ของอำเภอหลังสวน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้จำนวน 1 ฐานทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่เกษตรกรต้นแบบรายอื่นๆ ของอำเภอหลังสวนเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบขยายองค์ความรู้ และพัฒนาสู่เกษตรกรต้นแบบ และฐานเรียนรู้ต่อไปในอนาคต
-เกิดเกษตกรต้นแบบจำนวน 10 ราย ที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ จากฐานเรียนรู้และคณะทำงานของอำเภอหลังสวนเพื่อให้เกษตรกรต้นแบบพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ในอนาคต เพื่อฐานเรียนรู้ เผยแพร่ความรู้ สู่เกษตรกรในระดับอำเภอและตำบลต่อไป เพื่อขยายพื้นที่เกษตรและอาหารปลอดภัยให้ครอบคลุมจังหวัดชุมพร
-เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ ผ่านการศึกษาดูงานการพูดคุย การถ่ายทอดโดยฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ จนนำไปสู่การตระหนักในความปลอดภัยในแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงไปสู่การตลาดอาหารปลอดภัยและอาหารอินทรีย์ได้แก่ผัก ผลไม้ และอื่นๆ จำนวน 100 ราย

พัฒนาลงพื้นที่เก็บข้อมูล อ.ละแม3 กันยายน 2565
3
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานโครงการลงพื้นที่อำเภอละแมเพื่อพบปะพูดคุย กับฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบของอำเภอละแม พร้อมทั้งถ่ายทำ เป็นคลิ๊ป/เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
-ให้คำปรึกษากับฐานเรียนรู้ และเกษตรกรต้นแบบ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้เกษตรกรต้นแบบและเกษตรกรทั่วไป
-เก็บข้อมูลฐานเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ อ.ละแม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ข้อมูลฐานเรียนรู้ จำนวน 2 ฐานเรียนรู้ เป็นศูนย์กลางของการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ผักอินทรีย์ ไม้ผลอินทรีย์ เห็ดอินทรีย์ พร้อมทั้งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
-ได้เกษตกรต้นแบบจำนวน 10 ราย  โดยการเผยแพร่จากฐานเรียนรู้สู่เกษตรกรต้นแบบ จำนวน 10 ราย เพื่อพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้ในการขยายองค์ความรู้ต่อไปในอนาคต
-เกิดการขยายเครือข่ายไปสู่เกษตรกรกลุ่มอื่นๆ มากกว่า 50 ครัวเรือน ที่เข้ามาศึกษาองค์ความรู้จากฐานเรียนรู้และนำองค์ความรู้เรื่องการผลิตพืชอินทรีย์ นำไปปรับใช้ในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้อย่างเป็นรูปธรรม

เวทีอบรมการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์30 กรกฎาคม 2565
30
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย แสงนภา. หลีรัตนะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เข้าร่วมอบรมผ่านระบบออนไลน์ ที่โรงแรมมรกต
2.คณะทำงานโครงการจำนวน 3 คน เข้าร่วมอบรม 3.คระทำงานฝึคีย์ข้อมูลลงระบบออนไลน์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้เข้าร่วมอบรมการทำรายงานผลรายงานการเงินผ่านระบบอนนไลน์ 2.ได้ร่วมแผนเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายอื่น 3.ทำรายงานผลรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์

พัฒนาและยกระดับเกษตรกรต้นแบบเพื่อยกระดับฐานการเรียนรู้เพื่อทำหน้าที่ขยายกิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพ 8 อำเภอ29 กรกฎาคม 2565
29
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.อบรมเชิงปฏิบัติการเกษตรกรต้นแบบ เพื่อยกระดับฐานเรียนรู้ทั้ง 8 อำเภอจำนวน 30 คน
2.คณะทำงานทำความเข้าใจกับกระบวนการขยายเครือข่าย 3.คณะวิทยากรให้ความรู้เรื่อง -การขยายเครือข่ายและการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เพื่อพัฒนเป็นฐานการกระจายองค์ความรู้เกษตรและอาหารปลอดภัย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกษตรกรต้นแบบได้รับการพัฒนาและยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ 8 อำเภอ ทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้และขยายเครือข่ายในพื้นที่อำเภอต่างๆ
2.คณะทำงานและตัวแทนเกษตรกรต้นแบบแต่ละอำเภอเข้าใจกระบวนการขยายเครือข่ายเกษตรและอาหารสุขภาพ ในพื้นที่อำเภอของต้นเองพร้อมทั้งทำหน้าที่ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นๆ ในพื้นที่ให้ครอบคลุมเป้าหมาย 8 อำเภอและมีเกษตรกรนำองค์ความรู้ไปใช้ต่อ ไม่น้อยกว่าอำเภอละ 10 รายรวม 80 ราย
3. เกษตรกรต้นแบบมีความเข้าใจ เรื่องการพัฒนาฐานการเรียนรู้และเป้าหมายของการขยายองค์ความรู้

แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเกษตรและอาหารปลอดภัยเพื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนโครงการในระดับอำเภอต่อไป23 กรกฎาคม 2565
23
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมตัวแทนเกษตรกรต้นแบบทั้ง 8 อำเภอ
2.แต่งตั้งคณะทำงานเกษตรกรต้นแบบเพื่อขยายเครือข่าย 8 อำภเเภอ จำนวน 15 คน
3. วางแผนการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบทั้ง 8 อำเภอ
4. วางแผนขยายเครือข่ายเกษตรและอาหารปลอดภัยในแต่ละอำเภอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดคณะทำงาน จำนวน 15 คน
2.เกิดเกษตรกรต้นแบบในแต่ละอำเภอ 3. เกิดแผนการดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ
4. เกิดแผนการขยายเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบ

พัฒนาสื่อเผยแพร่ความรู้สู่กลุ่มเป้าหมายทั้งในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์1 กรกฎาคม 2565
1
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ดำเนินการพัฒนาสื่อต่างๆ เป็นลักษณะ พัฒนาสื่อเป็นลักษณะ page ผ่าน Facebook  ทั้งลักษณะผ่านสื่อ Online และสื่อเป็นลักษณะ คลิ๊ป โดยผลิตเป็นตอนๆ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ด้านเกษตรและอาหารสุขภาพ โดยเนื้อหาของสื่อต่างๆ ที่เน้นไปทางกระบวนการที่นำไปสู่ การพัฒนาเกษตรและอาหารสุขภาพของโครงการ ผ่านสื่อสิ่งพิพม์ สื่อออนไลน์ รวมทั้ง การจัดทำเป็นคลิ๊ป ต่างๆ ทั้ง 8 อำเภอ เพื่อนำเสนอแนวทางของเกษตรการสุขภาพ ที่แตกต่างกันออกไป
    2.การเผยแพร่ องค์ความรู้ ผ่านคู่มือสำหรับกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ไม่น้อยกว่า 80 เล่มเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ เพื่อจะได้นำองค์ความรู้ เผยแพร่ไปสู่กระบวนการเผยแพร่องค์ความรู้ กระบวนการและวิธีการทำเกษตรที่มีเป้าหมายปลายทาง สู่สุขภาพ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านสื่อทาง Facebook ในลักษณะ Clip เป็นตอนๆ จำนวน 8-10 ตอนเพื่อนำองค์ความรู้ กระบวนการทำเกษตรและอาหารสุขภาพ และเกิดการรับรู้แพร่หลายมากยิ่งขึ้น
2.เกิดสื่อผ่าน Youtube เป็นลักษณะเป็นตอนๆ ทำให้เกิดการเผยแพร่องค์ความรู้ในวงกว้าง มากยิ่งขึ้น ทำให้กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ได้รับรู้ข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
3.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและความรู้ ทำให้เกิดความรู้นำไปปรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมของแต่ละอำเภอ

ปฐมนิเทศโครงการร่วมกับ node4 มิถุนายน 2565
4
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย 65-00-0152-0022
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการปฐมนิเทศโครงการ You Model ปีที่ 2 โดยคณะกรรมการได้เข้าร่วมปฐมนิเทศ เพื่อรับฟังการชี้แจง วิธีการทำงาน การประเมิน การเงิน การเก็บข้อมูล การ ARE การวัดและประเมินผลตามบันใดผลลัพท์ และการใช้กลไกต่างๆ ให้โครงการบรรลุเป้าหมายโดยคณะทำงานโครงการจำนวน 3 คนเข้าร่วมปฐมนิเทศเพื่อทำความเข้าใจ ในกระบวนการทำงาน
-ผลที่ได้จากการปฐมนิเทศ ทำให้คณะทำงานได้เข้าใจแนวทางและนำไปวางแผนการปฏิบัติงานโครงการให้ได้ตามเป้าหมายของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. หัวหน้าโครงการ คณะทำงานเข้าใจกระบวนการทำงาน
    2.พี่เลี้ยงและหัวหน้าโครงการได้มีความเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการและเกิดแผนการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่อง
  2. คณะทำงานโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการทำงานโครงการ