directions_run

(24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดชุมพร


“ (24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน ”

บ้านคลองขนาน ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นายวีระพล มีศิริ

ชื่อโครงการ (24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน

ที่อยู่ บ้านคลองขนาน ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0024 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"(24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านคลองขนาน ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดชุมพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน



บทคัดย่อ

โครงการ " (24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านคลองขนาน ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 65-00240-0024 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดชุมพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านคลองขนาน หมู่ที่ 10 ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นหมู่บ้านหนึ่งในเขตปกครองท้องที่อำเภอหลังสวนและองค์การบริหารปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านควน มีครัวเรือนทั้งหมด 152 ครัวเรือน จำนวนประชากร 373 คน จำแนกเป็น ชาย 184 คน หญิง 189 คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม 40 ครัวเรือน ค้าขาย 10 ครัวเรือน รับราชการ 7 ครัวเรือน และรับจ้าง 30 ครัวเรือน
    สภาพภูมิศาสตร์ ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่มเหมาะสมแก่การทำเกษตรกรรม ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูร้อน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์-พฤษภาคม ฤดูฝน ช่วงเดือน มิถุนายน-มกราคม แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร อาศัยจากคลอชั่ง และคลองธัมมัง แหล่งน้ำดื่มที่ใช้ ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง, น้ำดื่มหยอดเหรียญ 1 แห่ง การคมนาคมสะดวก ภายในหมู่บ้านเป็นถนน คสล., ลาดยาง, ลูกรัง มีสถานีรถไฟคลองขนาน และทางหลวงจังหวัด 4134 หน่วยงานธุรกิจเอกชนในหมู่บ้าน มีร้านงานเหล็ก 1 แห่ง ร้านขายของชำ 3 แห่ง แหล่งเรียนรู้และประชาสัมพันธ์ของหมู่บ้าน มีโรงเรียนระดับประถม 1 แห่ง ระดับมัธยม 1 แห่ง หอกระจายข่าว 1 แห่ง ศาลาประชาคม 1 แห่ง วัด 1 แห่ง ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีรถไฟคลองขนาน 1 แห่ง คนโดยใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) เป็นองค์กรหนึ่งที่อยู่ในการบริหารงานของหมู่บ้านตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 (ตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ.2526) โดยการแต่งตั้งของนายอำเภอ เพื่อให้ทำหน้าที่เสนอข้อแนะนำและให้คำปรึกษาต่อผู้ใหญ่บ้านเกี่ยวกับการดำเนินงานพัฒนาของหมู่บ้านซึ่งมีโครงสร้างประกอบด้วย กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และกรรมการโดยการเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 2 คน กรรมการทั้งหมด 11 คน กองทุนหมู่บ้านบ้านคลองขนาน ก่อตั้งเมื่อปี 2544 ปัจจุบันมีสมาชิก 94 คน มีเงินหมุนเวียน 2,400,000 บาท กลุ่มเงินหุ้นเงินฝากบ้านคลองขนาน ก่อตั้งเมื่อปี 2544 ปัจจุบันมีสมาชิก 94 คน มีเงินหมุนเวียน 700,000 บาท กองทุนสวัสดิการบ้านคลองขนาน ก่อตั้งเมื่อปี 2544 ปัจจุบันมีสมาชิก 94 คน มีเงินทุนหมุนเวียน 163,000 บาท กองทุนประปาบ้านคลองขนาน ก่อตั้งเมื่อปี 2545 มีสมาชิก 100 คน มีเงินหมุนเวียน 110,000 บาท โดยทุกกลุ่ม มีนายศักดิ์สิทธิ์ เขียวอุดม เป็นประธานกลุ่ม และกลุ่มมังคุดคุณภาพคลองขนาน-นาพญา ก่อตั้งเมื่อปี 2560 มีสมาชิก 30 คน มีนายชด พริกสุวรรณ เป็นประธานกลุ่ม ปราชญ์ชาวบ้านหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น มีดังนี้ 1) นางเล็ก เสือทอง อายุ 83 ปี ลักษณะเด่นเรื่องยาสมุนไพร 2) นางสำราญ เพชรรัตน์ อายุ 75 ปี ลักษณะเด่นเรื่องมโนราห์ 3) นายทรงวุทธิ์ กรสกุล อายุ 52 ปี ลักษณะเด่นเรื่องหมอกษัยเส้น 4) นางบุญรอง ทองหีต อายุ 76 ปี และ 5) นางเรื่อง สุดสาคร อายุ 85 ปี ลักษณะเด่นเรื่องเพลงบอก ด้านทรัพยากรธรรมชาติและผลผลิตที่สำคัญ ผลผลิตทางการเกษตรที่สร้างรายได้ ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน ผลไม้ ยางพารา พืชผัก และการเลี้ยงสุกร ด้านวัฒนธรรมและประเพณี มีประเพณีที่ปฏิบัติต่อเนื่องมาคือ 1) งานประเพณีลอยกระทง, แข่งเรือ 8 ฝีพาย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สืบสานประเพณี และให้ประชาชนมีส่วนร่วม 2) งานวันสงกรานต์ ทำบุญเลี้ยงพระ สรงน้ำพ่อหลวงปัน และรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ 3) วันอาสาฬหบูชา เพื่อทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา โดยมีการหล่อเทียนพรรษา แห่เทียนพรรษา   จากการพูดคุยวิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชนที่ต้องดำเนินการแก้ไขหรือพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด บ้านคลองขนานมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม 40 ครัวเรือน แต่ก็ยังมีครัวเรือนอีก 47 ครัวเรือนที่ยังไม่สามารถปลูกผักจึงต้องซื้อผักมาบริโภคในครัวเรือนด้วยเงื่อนไขการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวย จึงนำมาสู่การสรุปบทเรียนของคณะทำงานและทีมผู้นำในการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการระยะต่อไปดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ บ้านคลองขนานมีเกษตรกรส่วนหนึ่งยังประกอบอาชีพเกษตรเชิงเดี่ยว ปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน และไม้ผล ค้าขาย  10 ครัวเรือน อาชีพบริการหรือรับจ้างทั่วไป 30 ครัวเรือน จึงทำให้มีรายได้ไม่สมดุลรายจ่ายอันเนื่องจากต้นทุนการผลิตสูง ราคาผลผลิตตกต่ำ  การประกอบการเกษตรกรรมยังขาดการส่งเสริม สนับสนุนอย่างจริงจัง ครบวงจรทั้งด้านการผลิตและการตลาด  ส่วนรายจ่ายสำคัญนอกจากเพื่อการลงทุนแล้วยังมีมีรายจ่ายครัวเรือนจากการอุปโภคบริโภคและส่งบุตรเล่าเรียน
ด้านสังคม ความเข้มแข็งของทีมผู้นำในการมีส่วนร่วมพัฒนาหมู่บ้าน จัดให้มีการประชุมจำเดือนของหมู่บ้านทุกเดือนเพื่อชี้แจงสื่อสารประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการพัฒนาชุมชน  ส่วนการสร้างมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหมู่บ้านนั้นในยังมีไม่มากนัก ด้วยทักษะความรู้ของทีมผู้นำที่เป็นผู้นำใหม่ทำให้ยังขาดทักษะเฉพาะในการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ด้วยขาดพัฒนาการศักยภาพทีมผู้นำอย่างเต็มรูปแบบ ด้านสุขภาพ จากข้อมูลสุขภาพจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน-ความดัน)และ ผู้สูงอายุ จะมี อสม จัดการดูแลสุขภาพ โดยการตรวจคัดกรองสุขภาพโดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง  และการแนะนำแนวทางวิธีการดูแลสุขภาพสำหรับกลุ่มเสี่ยง  แต่ก็ไม่สามารถจัดการแก้ไขปัญหาสุขภาพได้เท่าทันสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอันเนื่องจากไม่มีการจัดกิจกรรมที่ต่อเนื่อง อีกทั้งคนในชุมชนส่วนหนึ่งยังมีความเสี่ยงต่อสุขภาพในการซื้ออาหารและผักจากตลาดและร้านค้าในชุมชนและรถกับข้าวมาบริโภคในครัวเรือน
สภาพแวดล้อมของบ้านคลองขนานเป็นพื้นที่ที่มีน้ำท่วมโดยเฉพาะในหน้าฝนจะมีน้ำท่วมตลอดทุกปีและเมื่อหน้าแล้งจะขาดแคลนน้ำที่ใช้อุปโภคและบริโภค ซึ่งปัญหานี้ทางทีมผู้นำได้นำเสนอและขอโครงการผ่านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการที่จะช่วยทำให้คนในชุมชนไม่ต้องเกิดภาวะการณ์แบบซ้ำๆ ดังนั้น โครงการอาหารปลอดภัยบ้านคลองขนาน ที่ดำเนินการผ่านมา จึงเกิดคณะทำงานที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อน มีครัวเรือนต้นแบบ มีตลาดบ้านคลองขนานทีจำหน่ายพืชผักปลอดภัย ที่สำคัญยังส่งเสริมให้นักเรียนมีการปลูกพืชผักปลอดภัยในโรงเรียนชลธารวิทยา และโรงเรียนวัดชลธารวดี ที่ตั้งอยู่ในชุมชน โดยพืชผักที่ได้นำมาปรุงอาหารกลางวัน เหลือนำมาขายในตลาด ที่สำคัญในชุมชนมีการตระหนักรู้ถึงการบริโภคพืชผักผลไม้ปลอดภัย ทำให้มีการปลูกพืชผักผลไม้ปลอดภัยในพื้นที่มากขึ้น ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจชุมชนตกต่ำ (ราคาปาล์ม ผลไม้ ยางพารา ตกต่ำ) จึงเป็นโอกาสเหมาะสมที่จะขยายผลการดำเนินงาน ส่งเสริมการผลิตพืชผักปลอดสารอาหารปลอดภัย เพื่อสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาวะให้คนในชุมชนบ้านคลองขนาน เป็นเครื่องมือปฏิบัติการเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถของกลไกผู้นำชุมชนบ้านคลองขนาน ซึ่งมาจากองค์กร ประกอบที่หลายหลากทั้งจาก คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้แทนองค์กรชุมชน และกลุ่มกิจกรรมต่างๆ อีกทั้งยังใช้แผนชุมชน โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกเพื่อสร้างความมั่นคงในชีวิตของครัวเรือนเกษตรกร และชุมชนด้วยการผลิตและบริโภคพืชผักอาหารปลอดภัย และมีแผนพัฒนาระบบอาหารชุมชนที่ต้องขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องตามแนวทางวิถีพอเพียง สำหรับการขยายผลการดำเนินงานโครงการไปสู่ครัวเรือนอื่นๆ และในชุมชน นำไปสู่การลดรายจ่ายในครัวเรือน ทั้งด้านบริโภคและค่าใช้จ่ายทางสุขภาพ เพิ่มรายได้จากการผลิตแปรรูปใช้ประโยชน์พืชพันธุ์ท้องถิ่น สำคัญยิ่งคือมีกลไกผู้นำชุมชน ที่ขีดความสามารถเพิ่มขึ้นในการบริหารจัดการหมู่บ้านอย่างเป็นระบบไปสู่ระบบสุขภาวะชุมชนที่ดีต่อไป
ในปีนี้จึงเกิดเป็น โครงการขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน เพื่อพัฒนาต่อยอดเพิ่มการผลิต และดำเนินการเชื่อมโยงระหว่าง ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ครูและโรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ เกษตรอัจฉริยะ เกษตรยั่งยืน สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน ตลาดเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ เพื่อการบริโภคพืชผักผลไม้ปลอดภัยในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บริหารจัดการ(สสส.สนับสนุน)
  2. คณะทำงานมีศักยภาพในการขยายผลเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ
  3. เกิคความร่วมมือขยายผลการผลิต/บริโภคผักผลไม้ปลอดภัย
  4. เกิดการจัดการตลาดความรู้สู่เกษตรอัจฉริยะ
  5. มีพืชผักอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชน
  6. การปฐมนิเทศโครงการย่อย
  7. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  8. การอบรมเสริมทักษะในการบันทึกข้อมูลออนไลน์
  9. จัดเวทีความร่วมมือภาคีเครือข่าย
  10. ขยายความรู้ด้านเกษตรปลอดภัยสู่ครัวเรือน
  11. พัฒนาฐานข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการขยายผลเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ
  12. พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ และเกษตรยั่งยืน
  13. อบรมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี โซล่าเซล / IOT
  14. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 2
  15. ถ่ายทอดความรู้สู่โรงเรียน ด้านเกษตรอัจฉริยะ และเกษตรปลอดภัย
  16. ดำเนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุนโครงการ
  17. เวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร
  18. เวทีประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ครั้งที่ 1
  19. อบรมการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย
  20. จัดทำป้ายสื่อประชาสัมพันธ์งดสุรา บุหรี่
  21. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 3
  22. จัดตลาดเกษตรอัจฉริยะในชุมชน
  23. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 4
  24. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ
  25. เวทีติดตามประเมินผลลัพธ์
  26. จัดเวทีนำเสนอ ข้อเสนอต่อชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
  27. เวทีประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ครั้งที่ 2
  28. บันทึกลงข้อมูลกิจกรรมและรายงานการเงินในระบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ปฐมนิเทศโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ 2 ปรึกษาหารึอการดำเนินงานและบริหารจัดการโครงการ 3 ร่วมทำแผนตามบันไดผลลัพธ์และต้นไม้ปัญหา 4 นำเสนอบันไดผลลัพธ์และต้นไม้ปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่วมปรึกษาหารือการดำเนินงานและบริหารจัดการโครงการ ๒๕ โครงการ ร่วมทำบันไดผลลัพธ์และต้นไม้ปัญหาของ ๒๕ โครงการ รับฟังและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

 

3 0

2. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ร่วมกันทำความเข้าใจกับตัวโครงการขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน 2.ระดมความคิดจากคณะทำงานเพื่อหาแนวทางดำเนินงาน 3.เลือกตัวแทนเพื่อเป็นคณะขับเคลื่อนในการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ผู้เข้าร่วมจัดตั้งคณะทำงาน     - นายวีระพล มีศิริ     - นายธนกานต์ พละสกุล     - นายอัครพล พะลัง     - นางสาวอัจชรา นิลรัตโนทัย     - นายนิพนธ์ ฤทธิชัย     - ผศ.ดร.ชุมพล อังคณานนท์   2. ได้ทำความเข้าใจกับโครงการขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน

 

30 0

3. การอบรมเสริมทักษะในการบันทึกข้อมูลออนไลน์

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ร่วมเรียนรู้การบันทึกข้อมูลกิจกรรมการเงิน รายงานความก้าวหน้าและผลของโครงการในระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 สามารถบันทึกข้อมูลกิจกรรมการเงิน รายงานความก้าวหน้าและผลของโครงการในระบบออนไลน์

 

1 0

4. จัดเวทีความร่วมมือภาคีเครือข่าย

วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนจัดทำกิจกรรม
  2. ดำเนินกิจกรรมตามแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีคณะทำงานร่วมกันระหว่างครูและชุมชนในการดำเนินกิจกรรมในแต่ละฐานกิจกรรม
  2. กำหนดฐานการดำเนินการกิจกรรมแต่ละฐานอย่างชัดเจน
  3. กำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม

 

30 0

5. ขยายความรู้ด้านเกษตรปลอดภัยสู่ครัวเรือน

วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดอบรมณ์ให้ความรู้ด้านการเกษตร 2 ให้ความรู้เกี่ยวกับดิน 3 ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูก 4 ให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูป 5 ให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลย๊ 6 ให้ความรู้เกี่ยวกับการบรรจุภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมณ์มีความรู้และนำความรู้ไปใช้และขยายผลสู่ครัวเรือนอื่น

 

30 0

6. พัฒนาฐานข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการขยายผลเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 31 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดอบรมณ์ให้ความรู้แผนปฎิบัติการขยายผลทางการเกษตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับรู้ข้อมูลที่มีการปรับพัฒนาและได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

 

30 0

7. พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ และเกษตรยั่งยืน

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนจัดทำกิจกรรม
  2. ระดมความคิดหาพื้นที่ในการดำเนินกิจกรรม
  3. ดำเนินกิจกรรมตามแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดทำสระเลี้ยงปลาและปลูกผักสมุนไพร
  2. แปลงผักกินใบ
  3. แปลงทุเรียน
  4. หลุมพอเพียง
  5. ข้าวไร่

 

30 0

8. อบรมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี โซล่าเซล / IOT

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนจัดทำกิจกรรม
  2. ระดมความคิดเพื่อจัดอบรมให้ความรู้เรื่อง IOT
  3. ดำเนินการจัดหาวิทยากร
  4. ดำเนินกิจกรรมตามแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ IOT
  2. ผู้เข้าอบรมได้รับองค์ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการกิจกรรมเกษตรอัจฉริยะ
  3. ผู้เข้าอบรมได้รับองค์ความรู้เกี่ยวกับโซล่าเซล

 

30 0

9. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 2

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมประชุมคณะทำงานและภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อติดตามการดำเนินงานและขยายผลตามบรรไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะทำงานที่มีศักยภาพ  และรู้บริบทของพื้นที่ ในการทำกิจกรรม

 

30 0

10. ถ่ายทอดความรู้สู่โรงเรียน ด้านเกษตรอัจฉริยะ และเกษตรปลอดภัย

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนจัดทำกิจกรรม
  2. ระดมความคิดเพื่อจัดอบรมให้ความรู้เรื่องเกตรปลอดภัย
  3. ดำเนินการจัดหาวิทยากร
  4. ดำเนินกิจกรรมตามแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนผู้เข้าอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตรอัจฉริยะ
  2. นักเรียนรับความรู้เรื่องการปรับปรุงดินในการทำการเกษตร
  3. นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการผลิตปู๋ยจากวัสดุทางธรรมชาติ
  4. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรโดยใชเทคโนโลยี

 

30 0

11. ดำเนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุนโครงการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นำมาใช้หนุนเสริม ประสานกระบวนการดำเนินกิจกรรมให้ครอบคลุมเกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.กลไกคณะทำงานมีขีดความสามารถขับเคลื่อนงาน 2.เพื่อเกิดการจัดการขยายความรู้ พื้นที่ผลิตเกษตรและอาหารปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะทำงานที่ศักยภาพ 10 คน  มีฐานข้อมูล/แผนปฏิบัติการ ขยายผลงานเกษตรและอาหารสุขภาพ  มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่าน มีแหล่งเรียนรู้ ด้านเกษตรอัจฉริยะ และสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน และเกษตรยั่งยืน  มีนักเรียนที่ปฏิบัติการด้านเกษตรปลอดภัย 10 คน  มีครัวเรือนขยายทำเกษตร ปลอดภัยเพิ่ม 10 ครัวเรือน  มีความร่วมมือกับภาคี มีการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย  และมีตลาดเกษตรอัจฉริยะในชุมชน มีพืชผักผลไม้อาหารปลอดภัยขยายเพิ่มขึ้นในชุมชน  เกิดการรับรู้เห็นความสำคัญ และร่วมสนับสนุนกิจกรรมเพิ่มขึ้น

 

0 0

12. เวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร

วันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร เพื่อร่วมศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวแทนคณะทำงานและผู้ร่วมโครงการพื้นที่บ้านคลองขนาน 3 คน  เกิดความรู้ในเรืองการจัดการเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร โดยสามารถนำมาปรับใช้ในพื้นที่ได้

 

3 0

13. เวทีประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ครั้งที่ 1

วันที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน/ตัวแทนโครงการย่อย ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างพื้นที่สุขภาวะ และร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการประเมินติดตามผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรมของโครงการ ตลอดจนความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม ปัญหาที่ประสบในการดำเนินกิจกรรม / พื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนของทั้ง 25 โครงการย่อย ที่มีการทำกิจกรรมไปแล้ว ตามบันไดผลลัพธ์ ซึ่งได้มีการจัดตั้งคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงานตามกิจกรรมโครงการ ทำให้เกิดความร่วมมือของสมาชิกเครือข่ายในพื้นที่

 

2 0

14. อบรมการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนจัดทำกิจกรรม
  2. ระดมความคิดเพื่อจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปสินค้า
  3. ดำเนินการจัดหาวิทยากร
  4. ดำเนินกิจกรรมตามแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร
  2. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการถนอมอาหาร
  3. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกแบบแพ็คเก็จผลิตภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจ

 

30 0

15. จัดทำป้ายสื่อประชาสัมพันธ์งดสุรา บุหรี่

วันที่ 2 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าจ้างทำป้ายไวนิล "เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ " ของ สสส. จำนวน 1 ป้าย 2.ป้ายไวนิล "บันไดผลลัพธ์โครงการฯ "  จำนวน 1 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายไวนิล "เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ " ของ สสส. จำนวน 1 ป้าย ป้ายไวนิล "บันไดผลลัพธ์โครงการฯ " จำนวน 1 ป้าย

 

0 0

16. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 3

วันที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานพร้อมภาคี ติดตามการดำเนินกิจกรรมและขยายผลลัพธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร มีการขยายผลทางการเกษตรสู่ครัวเรือน

 

30 0

17. จัดตลาดเกษตรอัจฉริยะในชุมชน

วันที่ 31 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำไวนิล ขนาด 1.5x2.5 1ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาสัมพันธ์ ตลาด

 

30 0

18. ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 4

วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญคณะทำงานร่วมประชุมขยายผล
เชิญภาคีเครือข่ายแลกเปลียนความคิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คำแนะนำเพื่อปรับปรุงการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

 

30 0

19. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ

วันที่ 23 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

 

0 0

20. เวทีติดตามประเมินผลลัพธ์

วันที่ 24 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดสถานที่เพื่อรับการประเมิน 2 ติดต่อภาคีเครือข่ายเข้าร่วมการประเมิน 3 จัดเตรียมเอกสารเพื่อเข้ารับการประเมิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แลกเปลี่ยนความคิดและนำไปปรับแก้ไขให้ดีขึ้นเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จในการทำโครงการ

 

30 0

21. จัดเวทีนำเสนอ ข้อเสนอต่อชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 สรุปผลการทำโครงการ 2 รับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ขยายความรู้ไปสู่ชุมชน ได้แลกเปลี่ยนเรียนการทำการเกษตร

 

30 0

22. เวทีประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ครั้งที่ 2

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุม ในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย

 

1 0

23. บันทึกลงข้อมูลกิจกรรมและรายงานการเงินในระบบ

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีจัดทำเอกสารการเงินประกอบกิจกรรม และบันทึกข้อมูลลงในระบบเว็บไซต์คนสร้างสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเอกสารรายงานการเงินประกอบกิจกรรม และรายงานผ่านระบบออนไลน์

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บริหารจัดการ(สสส.สนับสนุน) (2) คณะทำงานมีศักยภาพในการขยายผลเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ (3) เกิคความร่วมมือขยายผลการผลิต/บริโภคผักผลไม้ปลอดภัย (4) เกิดการจัดการตลาดความรู้สู่เกษตรอัจฉริยะ (5) มีพืชผักอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชน (6) การปฐมนิเทศโครงการย่อย (7) ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน  ครั้งที่ 1 (8) การอบรมเสริมทักษะในการบันทึกข้อมูลออนไลน์ (9) จัดเวทีความร่วมมือภาคีเครือข่าย (10) ขยายความรู้ด้านเกษตรปลอดภัยสู่ครัวเรือน (11) พัฒนาฐานข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการขยายผลเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ (12) พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ และเกษตรยั่งยืน (13) อบรมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี โซล่าเซล / IOT (14) ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน  และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 2 (15) ถ่ายทอดความรู้สู่โรงเรียน ด้านเกษตรอัจฉริยะ และเกษตรปลอดภัย (16) ดำเนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุนโครงการ (17) เวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร (18) เวทีประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ครั้งที่ 1 (19) อบรมการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย (20) จัดทำป้ายสื่อประชาสัมพันธ์งดสุรา บุหรี่ (21) ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน  และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 3 (22) จัดตลาดเกษตรอัจฉริยะในชุมชน (23) ประชุมพัฒนากลไกคณะทำงาน และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 4 (24) หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ (25) เวทีติดตามประเมินผลลัพธ์ (26) จัดเวทีนำเสนอ ข้อเสนอต่อชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (27) เวทีประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ครั้งที่ 2 (28) บันทึกลงข้อมูลกิจกรรมและรายงานการเงินในระบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ (24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน

รหัสโครงการ 65-00240-0024 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

(24)โครงการ ขยายผลการผลิตพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคลองขนาน จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0024

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวีระพล มีศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด