directions_run

(25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดชุมพร


“ (25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ ”

ตำบลหงษ์เจริญ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นายภาณุวัฒน์ กิมเซี้ยะ

ชื่อโครงการ (25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

ที่อยู่ ตำบลหงษ์เจริญ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0025 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"(25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหงษ์เจริญ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดชุมพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ



บทคัดย่อ

โครงการ " (25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหงษ์เจริญ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 65-00240-0025 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดชุมพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พื้นที่อำเภอท่าแซะโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สหกรณ์นิคมท่าแซะก่อตั้ง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงพื้นที่นิคมสหกรณ์ทั้งหมดเป็นพื้นที่เพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม และด้วยนิคมสหกรณ์มีโรงงานปาล์มน้ำมันในพื้นที่นิคมสหกรณ์ฯ นโยบายจึงมุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมัน พื้นที่โดยส่วนใหญ่ของนิคมสหกรณ์ท่าแซะ จึงเป็นปาล์มน้ำมันถึงร้อยละ 85 ยางพาราร้อยละ 15 ที่เหลือร้อยละ 5 ทำเกษตรผสมผสาน ด้วยนิคมสหกรณ์ท่าแซะ เป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมที่ .จัดสรรให้กับเกษตรกรเพื่อประกอบอาชีพ ซึ่งส่วนใหญ่ปลูกปาล์มน้ำมันเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและนำเงินที่ได้จากการจำหน่ายปาล์มไปซื้ออาหารมาประกอบ ทำให้เกิดความเสี่ยงในเรื่องของสุขภาพ เนื่องจากผักผลไม้ รวมทั้งวัสดุสำหรับการทำอาหารต่างๆ ล้วนล้วนนำเข้ามาจากจังหวัดอื่นๆ เป็นหลักจึงไม่สามารถตรวจสอบถึงความปลอดภัยได้ ประกอบกับเกษตรกรมุ่งหวังรายได้ทางเดียวคือปาล์มน้ำมัน ทำให้ยังพบกับความเสี่ยงเรื่องราคาปาล์มน้ำมัน เนื่องจากราคาปาล์มน้ำมัน ไม่แน่นอนผันผวนตามราคาตลาด
โครงการ การพัฒนากลุ่มเกษตรและอาหารสุขภาพ สหกรณ์นิคมท่าแซะ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร เป็นโครงการหนึ่งที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จาก สสส.เพื่อพัฒนากลุ่มคณะทำงานของนิคมสหกรณ์ท่าแซะ เพื่อให้เกษตรกรสามารถที่จะบริหารกลุ่มได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการการส่งเสริมแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพเพื่อเป็นทางเลือกและเผยแพร่แนวทางสู่เกษตกรรายอื่นๆ และเกษตรกรได้ดำเนินการจนเห็นผลสำเร็จและสามารถนำไปสู่การจำหน่ายในพื้นที่รวมทั้งการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของเกษตรกร รวมทั้งการพยายามที่จะดำเนินการจัดตั้งตลาดในพื้นที่สหกรณ์นิคมท่าแซะและได้มีการพัฒนาพื้นที่การทำเกษตรที่ปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ สู่พื้นที่เป้าหมายพร้อมทั้งจัดตั้งคณะทำงาน รวมทั้งการนำผลผลิตต่างๆ ที่ได้จากโครงการดำเนินการต่อยอดสู่การตลาดในพื้นที่อย่างเป็นระบบพร้อมทั้งผลักดันแนวทางการดำเนินกิจกรรมเพื่อให้นิคมสหกรณ์ได้ผลัดดันเป็นนโยบายและสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโครงการดังกล่าว ซึ่งสำเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายที่วางไว้ทุกประการ จนทำให้ทำให้การดำเนินงานของกลุ่มเกิดความเข้มแข็งการดำเนินกิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพมากขึ้น
โครงการการพัฒนากลุ่มเกษตรและอาหารสุขภาพ สหกรณ์นิคมท่าแซะ ในปีที่ 2 จะเป็นโครงการหนึ่งที่จะพัฒนาต่อยอด เพื่อให้เกิดการขยายเครือข่ายเกษตรและอาหารสุขภาพและคณะทำงานให้สามารถขยายพื้นที่เกษตรและอาหารสุขภาพในพื้นที่ ที่กว้างออกไปให้ครอบคลุมพื้นที่ นิคมสหกรณ์ท่าแซะ พร้อมทั้งการยกระดับคณะทำงานให้สามารถดำเนินการส่งเสริมกิจกรรมส่งเสริมเกษตรและอาหารสุขภาพ
ดำเนินการส่งเสริมกิจกรรมให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจแนวทางเกษตรและอาหารสุขภาพ ให้สามารถขยายสู่เป้าหมายกลุ่มเกษตรกรในวงกว้างมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งการพัฒนาคณะทำงานให้สามารถสามารถที่จะดำเนินการพัฒนาและยกระดับกิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพ ให้สามารถเชื่อมโยงจากการผลิตสู่มาตรฐความปลอดภัยทั้งมาตรฐาน GAP และมาตรฐาน Organic รวมทั้งการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งการยกระดับการตลาดเพื่อให้ผลผลิตที่ปลอดภัยให้ได้ขยายสู่วางกว้างมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ยกระดับคณะทำงานเกษตรสุขภาวะระดับอำเภอเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนและขยายพื้นที่เกษตรและอาหารสุขภาพ
  2. การยกระดับการผลิตสู่ตลาดเกษตรปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1
  2. ประชุมร่วมโครงการ Node
  3. พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรสุขภาวะเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งจำหน่ายผลผลิตของเกษตรต้นแบบและเกษตรกรชุมชนไกล้ เคียง เก็บข้อมูล/ประเมินผล/สรุปโครงการ
  4. กิจกรรมยกระดับคณะทำงานเกษตรสุขภาวะ
  5. พัฒนาคณะทำงานเพื่อยกระดับคณะทำงานให้มีศักยภาพ ในการบริหารงานเกษตรและอาหารปลอดภัย
  6. ประชุมสัมนา/สรุปผลงาน/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  7. หักเงินเปิด บช.
  8. ปฐมนิเทศโครงการ
  9. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 1
  10. เวทีอบรมการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์
  11. อบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 พื้นฐานเกษตรและอาหารสุขภาพ/การเตรียมพื้นที่แปลงเกษตรปลอดภัย/การจัดทำวัสดุปลูก/ปุ๋ยอินทรีย์/สารชีวภัณฑ์
  12. รายงานผลกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ งวดที่ 1
  13. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิต เกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 3
  14. ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ
  15. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 2
  16. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิต เกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 4
  17. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 5
  18. พัฒนาคณะทำงานเพื่อยกระดับคณะทำงานให้มีศักยภาพ ในการบริหารงานเกษตรและอาหารปลอดภัย
  19. พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและอาหารสุขภาพ เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งจำหน่ายผลผลิต
  20. ประชุมสัมนา/สรุปผลงาน/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  21. คืนเงินสำรองเปิดบัญชี
  22. ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ
  23. การคีย์ข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานงวดที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะกรรมการ 12

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะกรรมการและคณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการพื้นที่อื่น 2.วานแนวทางการดำเนินงานโครงการเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการและคณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจการทำโครงการ
  2. คณะกรรมการและคณะทำงาน มีความรู้ในรายละเอียดการทำกิจกรรม
  3. คณะกรรมการและคณะทำงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย

 

4 0

2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 1

วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1,ปรชุมผู้เข้าร่วมทั้งหมด จำนวน 13 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน คณะกรรมการ 2,วางแนวทางในการดำเนินงานและประเด็นที่จะขับเคลื่อนรวมทั้งกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ที่จะขยายเครือข่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงาน คณะกรรมโครงการ มีความรู้เความเข้าใจ เป้าหมายของโครงการ
  2. คณะทำงาน ได้ทราบแผนการปฎิบัติงานของโครงการ
  3. คณะทำงาน ได้ทราบบทบาทหน้าที่มีการแบ่งงานแต่ส่วนรับผิดชอบ

 

12 0

3. เวทีอบรมการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ตัวแทนโครงการเข้าร่วมอบรมการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์เพื่อให้คณะกรรมการได้คีย์ ข้อมูลให้ถูกต้อง
2.ได้มีการซักถามวิธีการคีย์ข้อมูล และแนวทางในการสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจระบบการคีย์รายงายผลในระบบมูลออนไลน์ซึ่งจะเป้นประโยชน์ ต่อการสรุปผลการดำเนินโครงการ
2.เกิดแนวทางในการสรุปผลโครงการ และแนวทางในการเก็บข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ

 

1 0

4. อบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 พื้นฐานเกษตรและอาหารสุขภาพ/การเตรียมพื้นที่แปลงเกษตรปลอดภัย/การจัดทำวัสดุปลูก/ปุ๋ยอินทรีย์/สารชีวภัณฑ์

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม 1. ประสานงานเกษตรกรเข้าร่วมอบรม ในพื้นที่ อำเภอท่าแซะ 2. เตรียมงานร่วมกับครธทำงานโครงการในการออกแบบกิจกรรมการจัดอบรม
3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติเกษตรกรจำนวน 50 คนในพื้นที่ อำเภอท่าแซะ 4. กิจกรรมการดำเนินการส่งเสริมการปลูกผัก ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ อาหารปศุสัตว์ ประมง 5. สรุปผลการจัดกิจรรมร่วมกับคณะทำงาน -ลงพื้นที่ เก็บข้อมูลจากเกษตรกรโดยตรง -ลงพื้นที่ เก็บข้อมูลโดยตรง -ตรวจนับจากเกษตรกรต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด จำนวน 57 คน
    2.การเก็บข้อมูลของเกษตรกรด้านการดำเนินกิจกรกรรมต่อยอดจากการอบรม
    3.ผลการคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบ โดยคัดจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 4.เกษตรกรที่ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องนำไปสู่การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้

 

50 0

5. รายงานผลกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ งวดที่ 1

วันที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะกรรมการโครงการรายงานการจัดกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์โดยนำข้อมูลของการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื้อให้ผลการดำเนินโครงการเป็นไปตามลำดับขั้นตอน
2.ประเมินเบื้องต้นในการดำเนินกิจกรรม เพือตรวจสอบ บันใดผลลัพธ์ ว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้รายงานผลการจัดกิจกรรมงวดที่ 1  ผ่านระบบออนไลน์ 2.ได้รายงานผลการใช้งบประมาณ งวดที่ 1 ผ่านระบบออนไลน์

 

1 0

6. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิต เกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 2

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ ตามเป้าหมายที่วางไว้
2.มอบหมายความรับผิดชอบ เพื่แแบ่งหน้าที่กันทำและกำหนดเนื้อหาในการอบรมและการขยายเครือข่ายในการดำเนินโครงการเกษตรและอาหารสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดแผลการดำเนินงานโครงการ และมีการกำหนดประเด็นที่จะดำเนินกิจกรรม รวมทั้งกลุ่มเป้าหมาย
2.เกิดการแบ่งงานกันทำ และเกิดการกำหนดเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย และกลไกที่จะขับเคลื่อนกิจกรรม

 

12 0

7. ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ

วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะกรรมการเข้าปรึกษาหารือพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนกิจกรรม เพือให้ทิศทางการดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมาย และบันใดผลลัพธ์ ตามที่ได้กำหนดไว้ในการดำเนินโครงการ
2.คณะกรรมกรรมการ วางแนวทางในการดำเนินโครงการร โดยได้มีการกำหนดเป้าหมาย คือพัฒนาคณะกรรมการจำนวน 12 คน และการขยายเครือข่ายเพื่ออบรมและพัฒนาเกษตรกรและขยายเครือข่ายเป้าหมาย 50 คร้วเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1,ได้แนวทางในการขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่ออบรมโครงการเกษตรและอาหารสุขภาพ โดยมีเป้าหมายเกษตรกรจำนวน 50 คน โดยเน้นการขยายเครือข่ายจากเดิม ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ท่าแซะ สู่พื้นที่อื่นๆ เช่น ตำบลท่าข้าม หงส์เจริญ และตำบลอื่นๆ รวมทั้งขยายเครือข่ายสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ต่อไป
2.เกิดกระบวนการขับเคลื่อนโครงการ ที่จะดำเนินงานให้เป็นไปตามขั้นตอน

 

12 0

8. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 3

วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 12 คนเพื่อวางแผนการดำเนินงาน พร้อมทั้งพัฒนาทักษะคณะทำงาน พร้อมทั้ง กำหนดเนื้อหาที่จะขับเคลื่อน และกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งวิธีการ วิทยากรที่จะให้ความรู้ และประเด็นอื่นๆ
2. คณะทำงานดำเนินการลงพื้นที่พร้อมประสานงานกลุ่มเป้าหมาย และวางแผนการดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดแผนการดำเนินงาน พร้อมทั้งเกิดทักษะคณะทำงาน พร้อมทั้ง เนื้อหาที่จะขับเคลื่อน และกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งวิธีการ วิทยากรที่จะให้ความรู้ และประเด็นอื่นๆ อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
2.เกิดขั้นตอนการดำเนินงาน เกิดกลุ่มเป้าหมาย เกิดกระบวนการในการขับเคลื่อน รวมทั้งผู้ที่จะต้องเป็นวิทยากร ในการให้ความรู้ กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล

 

12 0

9. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิต เกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 4

วันที่ 21 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงาน 12 คนหลังจากคณะทำงานลงพื้นที่ และนำข้อมูลมาสรุปเพื่อจะดำเนินกิจกรรม
2.ปรับแนวทางเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เนื่องจากปัญหาที่ได้รับผลกระทบ อย่างกว้างขวาง คือสถานการณ์ Covid-19
3.วางแผนการปรับปรุงการดำเนินการเรื่องตลาด เพื่อยกระดับตลาดให้มีความชัดเจนในกิจกรรมและเป้าหมายการดำเนินงานด้านการตลาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้แผนปฏิบัติการสำหรับการขับเคลื่อนโครงการเกษตรและอาหารสุขภาพ ของนิคมสหกรณ์ท่าแซะ อย่างชัดเจน พร้อมทั้งการกำหนดวันเวลา และสถานที่ในการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
2.ได้แนวทางที่ได้จากการปรับเรียบร้อยเพื่อให้สามารถดำเนินงานโครงการได้ อย่างไม่มีอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การระบาดของ Covid-19
3.เกิดแผนการปรับปรุงการตลาด เพื่อรองรับผลผลิตที่มีเพิ่มมากขึ้นหลังจากโครงการดังกล่าวมุ่งเน้นที่จะยกระดับคณะทำงานและขยายเครือข่ายของโครงการ

 

12 0

10. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 5

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.นัดประชุมคณะกรรมการเพื่อประเมินผลการดำเนินงานและผลผลิตที่เกิดขึ้น เพื่อวางแผนเรื่องการยกระดับการตลาดเพิ่มเติม
2.ตวจสอบผลการดำเนินงานโครงการในปีที่ 1 หลังได้ขับเคลื่อนผ่านไปในปีที่ 2 เพื่อตรวจสอบผู้ทีเคยเข้าร่วมโครงการ เพื่อต่อยอดในปีที่ 2
3.ประสานงานนิคมสหกรณ์ ท่าแซะ เพื่อประสานงานการใช้ประโยชน์จากพื่นที่ตลาด และยกระดับตลาดเกษตรและอาหารสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ปริมาณผลผลิตที่จะเกิดขั้น ทั้งชนิดของผลผลิต จำนวน และช่องทางในการจัดจำหน่าย
2.ได้ผลสำเร็จของโครงการปีที่ 1 พบว่าเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมได้รับการรับรองมาตรฐาน Organic Thailand จำนวน 1 ราย และมีจำนวน 15 รายได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ซึ่งผลพวงมาจากโครงการเกษตรและอาหารสุขภาพในปีที่ 1 และจำเป็นต้องต่อยอดในปีที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย เกิดการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
3.ได้ข้อสรุปหลังผล ผอ.นิคมฯ ท่าแซะ เพื่อให้คณะกรรมการ ได้กลับมาดำเนินงานด้านการพัฒนาตลาด

 

12 0

11. หักเงินเปิด บช.

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบัญชีธนาคารเพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สสส.และถอนเงินคืนสำรองเปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทำการคืนเงินสำรองโครงการให้หัวหน้าโครงการแล้ว

 

0 0

12. พัฒนาคณะทำงานเพื่อยกระดับคณะทำงานให้มีศักยภาพ ในการบริหารงานเกษตรและอาหารปลอดภัย

วันที่ 19 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมคณะทำงานจำนวน 12 คน เพื่อยกระดับการบริหารโครงการและบริหารเครือข่าย รวมทั้งทักษะในการบริหารงาน เพื่อให้โครงการสามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง
2.คณะกรรมการได้ร่วมแสดงความคิดเห็นกับวิทยากรเพื่อใช้ทักษะและองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการบริหารโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานทั้ง 12 คนเกิดการยกระดับการบริหารงานโครงการ และเรียนรู้ที่จะกำหนดเป้าหมายของโครงการ และแนวทางในการขยายเครือข่ายเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหารสุขภาพให้สู่พื้นที่ที่กว้างยิ่งขึ้น
2.คณะกรรมการเกิดทักษะ และความมั่นใจในการขับเคลื่อนโครงการ และเข้าใจแผนการดำเนินงานและบันใดผลลัพธ์ และเป้าหมาของโครงการอย่างชัดเจน

 

12 0

13. พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและอาหารสุขภาพ เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งจำหน่ายผลผลิต

วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะทำงานและพี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อสำรวจผลผลิตที่เกิดขึ้นจากโครงการ รวมทั้งการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลผลิตที่เกิดขึ้นจากเกษตรกรและเครือข่าย เพื่อวางแผนในการตลาด
2.คณะทำงานประชุมพูดคุยถึงปัญหาการดำเนินการตลาดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการวิเคราะห์ จุดอ่อนและจุดแข็ง อุปสรรคและโอกาสที่จะขับเคลื่อนให้เกิดความต่อเนื่อง
3.คณะทำงานได้วางแนวทางเรื่องของกติกา กฎของการเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมการตลาดของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ข้อมูลจำนวนผลผลิตและแนวทางในการวางแผนการตลาด/
2.ได้แนวทางในกานดำเนินงานของตลาด และกฎ กติกา เพื่อนำมายกระดับตลาดเกษตรและอาหารปลอดภัยของพื้นที่นิคมสหกรณ์ ท่าแซะ
3.ได้แนวทางเรื่องของกติกา กฎของการเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมการตลาดของโครงการ ที่จะดำเนินงานต่อไป

 

0 0

14. ประชุมสัมนา/สรุปผลงาน/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงานขับเคลื่อนโดยคณะทำงาน 12 คนได้รับการยกระดับการทำงาน และเกษตรกรที่ได้เผยแพร่เครือข่าย จำนวน 50 ครัวเรือน
2.ทำการยกระดับตลาด หลังจากประชุมสัมมนา ทำให้ตลาดได้รับการยกระดับเพื่อดำเนินการต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกษตรกรเป้าหมายในเครือข่ายต่างๆ นำผลการอบรมเชิงปฏิบัติการไปปฏิบัติและขยายพื้นที่ เพิ่มขึ้น
2.เกิดตลาดและยกระดับตลาด หลังจากประชุมสัมมนา ทำให้ตลาดได้รับการยกระดับเพื่อดำเนินการต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา

 

12 0

15. ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ

วันที่ 23 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะกรรมการเดินทางมาปรึกษาหารือพี่เลี้ยง หลังจากคณะกรรมการศึกษาดูงานที่ตลาดใต้เคี่ยมและนำผลการศึกษาดูงาน มาปรึกษาหารือพี่เลี้ยงเพื่อวางแผนการทำตลาด
2.ร่วมพูดคุยแนวทางการขับเคลื่อตลาดต่อยอดจากโครงการในปีที่ 1 เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ต่อไปในอนคต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะกรรมการจะนำผลการปรึกษาหารือไปดำเนินการตลาดเพื่อให้เกิดความมั่นคงรวมทั้งแผนการพัฒนาตลาดในอนาคต
2.เกิดผลการตกลง กฎระเบียบ การวางรูปแบบการจำหน่ายผลผลิต ข้อตกลงกับตัวแทนเกษตรกร

 

12 0

16. การคีย์ข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานงวดที่ 2

วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะกรรมการดำเนินการคีย์ข้อมูล โดยนำผลการลงพื้นที่ การเก็บข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เข้าในระบบโดยตรวจสอบกับบันใดผลลัพธ์ของโครงการ
2.เปรียบเทียบผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่วางไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดผลการดำเนินงานและผลสำเร็จของการลงพื้นที่และเก็บข้อมูล
2.ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ยกระดับคณะทำงานเกษตรสุขภาวะระดับอำเภอเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนและขยายพื้นที่เกษตรและอาหารสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 1.1. เกิดการยกระดับคณะทำงานเกษตรสุขภาวะในพื้นที่อำเภอท่าแซะ 1.2 เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันในพื้นที่ผ่านหน่วยงานระดับพื้นที่ของอำเภอ
12.00

 

2 การยกระดับการผลิตสู่ตลาดเกษตรปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 2เกิดการขยายกิจกรรมเกษตรสุขภาวะสู่พื้นที่เป้าหมาย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 เกิดการขยายครัวเรือนเกษตรสุขภาวะสู่พื้นที่เป้าหมาย…. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 เกิดการยกระดับผลผลิตสู่มาตรฐานเกษตรปลอดภัยทั้ง GAP และมาตรฐาน Organic ผลลัพธ์ที่ 4 เกิดกลไกการตลาดทั้งออนไลน์และออฟไลน์ …………… ผลลัพท์ที่ 3 เกิดกลไกการตลาดทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 เกิดการเชื่อมโยงสู่ตลาดในระดับพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 เกิดการการพัฒนาตลาดออนไลน์ เพื่อขยายผลผลิตเกษตรที่ปลอดภัยสู่ครัวเรือนอื่นๆ
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะกรรมการ 12

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ยกระดับคณะทำงานเกษตรสุขภาวะระดับอำเภอเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนและขยายพื้นที่เกษตรและอาหารสุขภาพ (2) การยกระดับการผลิตสู่ตลาดเกษตรปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 (2) ประชุมร่วมโครงการ Node (3) พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรสุขภาวะเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งจำหน่ายผลผลิตของเกษตรต้นแบบและเกษตรกรชุมชนไกล้ เคียง เก็บข้อมูล/ประเมินผล/สรุปโครงการ (4) กิจกรรมยกระดับคณะทำงานเกษตรสุขภาวะ (5) พัฒนาคณะทำงานเพื่อยกระดับคณะทำงานให้มีศักยภาพ ในการบริหารงานเกษตรและอาหารปลอดภัย (6) ประชุมสัมนา/สรุปผลงาน/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (7) หักเงินเปิด บช. (8) ปฐมนิเทศโครงการ (9) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 1 (10) เวทีอบรมการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ (11) อบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 พื้นฐานเกษตรและอาหารสุขภาพ/การเตรียมพื้นที่แปลงเกษตรปลอดภัย/การจัดทำวัสดุปลูก/ปุ๋ยอินทรีย์/สารชีวภัณฑ์ (12) รายงานผลกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ งวดที่ 1 (13) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิต เกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 3 (14) ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ (15) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 2 (16) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิต เกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 4 (17) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและแผนการผลิตเกษตรและอาหารสุขภาพ ครั้งที่ 5 (18) พัฒนาคณะทำงานเพื่อยกระดับคณะทำงานให้มีศักยภาพ ในการบริหารงานเกษตรและอาหารปลอดภัย (19) พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและอาหารสุขภาพ เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งจำหน่ายผลผลิต (20) ประชุมสัมนา/สรุปผลงาน/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (21) คืนเงินสำรองเปิดบัญชี (22) ปรึกษา หารือ พี่เลี้ยงโครงการ (23) การคีย์ข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานงวดที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ (25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

รหัสโครงการ 65-00240-0025 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การใช้ประโยชน์ จากปุ๋ยชีวภาพ เช่นปุ๋ยปลา การเลี้ยงแหนแดง การพัฒนาปุ๋ยชีวภาพกับการทำการเกษตร

จากผู้นำกลุ่มเกษตรกร เครือข่ายตำบลท่าข้าม นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

ส่งเสริมให้เกิดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

กระบวนการทำงานผ่านเครือข่ายผู้นำชุมชน/ตัวแทนชุมชน

ประธานกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มแปรรูปผลผลิตมัลเบอร์รี่ ตำบลท่าข้าม นิคมสหกรณ์ ท่าแซะ

ส่งเสริมให้กลุ่มเข้มแข็ง/และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนากลุ่มอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่ม/เช่นกลุ่มผู้เลี้ยงแหนแดง กลุ่มผักปลอดภัย กลุ่มปลูกกระท่อมปลอดภัย

กลุ่มคณะกรรมการเกษตรอินทรีย์นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

ส่งเสริมความต่อเนื่อง ในการปลูกและจำหน่าย สูตลาดในระดับต่างๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การพัฒนาปัจจัยผลิตเพื่อการลดต้นทุน การเกษตรปลอดภัย บ้านอ่อนตา และเครือข่าย พื้นที่ คทช.หงส์เจริญ

ตัวแทนเกษตกร บ้านพี่อ่อนตา ตำบลท่าข้าม/ และแปลงเกษตรกรตัวอย่าง พื้นที่ คทช.หงส์เจริญ

พัฒนาเป็นฐานการเรียนรู้ การผลิตปุ๋ย และการแปรรูปผลผลิต เกษตรปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

เกิดพฤติกรรม การปลูกพืชเชิงเดี่ยว และใช้สารเคมี เต็มรูปแบบ

เกิดการแบ่งพื้นที่ ทำเกษตรผสมผสาน ปลูกผัก ปศุสัตว์ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา เพื่อผลิตอาหารที่ปลอดภัยไว้บริโภคในครัวเรือน

ขยายจากนิคมฯ ไปสู่พื้นทีอื่นๆ นอกนิคมสหกรณ์ ท่าแซะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เกิดการนำผัก ไข่ไก้ ปลา ไม้ผลที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการมาบริโภคในครัวเรือน และต่อยอดสู่การจำหน่ายบริเวณ ตลาดปลอดภัยของกลุ่มเกษตรอินทรีย์ นิคมสหกรณ์ ท่าแซะ

ผลผลิตที่ตลาดเกษตรปลอดภัย หน้านิคมสหกรณ์ฯ โดยคณะกรรมการได้ดำเนินการจัดตั้งขึ้นตามเป้าหมายของโครงการ

ขยายผลผลิตให้เพียงพอความต้องการของผู้บริโภคที่ต้องการบริโภคสินค้าปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มีการบริหารจัดการกลุ่ม โดยคณะทำงานที่ได้จัดตั้งขึ้นตอนเริ่มต้นโครงการ เพื่อบริหารกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดความต่อเนื่อง

คณะกรรมการกลุ่มเกษตรอินทรีย์ นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

พัฒนากลุ่มคณะทำงานอย่างต่อเนื่อง ให้เกิดตวามเข้มแข็งและขยายสู่ชุมชนอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการนำขยะมาผลิตปุ๋ยอย่างต่อเนื่อง/มีการใช้จุลินทรีย์กำจัดขยะและเปลี่ยนขยะย่อยสลายได้มาเป็นปุ๋ย

บ้านผู้ใหญ่ธวัช ทองสิน

พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ไปสู่ชุมชนอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

เกิดอาชีพใหม่ คือจำหน่ายแหนแดง จำหน่ายปุ๋ยปลา ไปยังพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผู้นำเกษตรกรบ้านท่าข้าม (บ้านคุณอ่อนตา)

ส่งเสริมและพัฒนาเป็นเกษตรกรต้นแบบ เพื่อให้เกิดการขยายกิจกรรมไปสู่ขุมชนอื่นๆ ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการเชื่อมโยงประสานระหว่างกลุ่มและขยายเครือข่ายไปสู่พื้นทีนอกนิคมสหกรณ์ เช่นพื้นที่ คทช.หงส์เจริญ พื้นที่ เกษตรกรท่าข้าม เพื่อขขายกิจกรรมการเกษตรปลอดภัยและเครือข่ายเพิ่มเติม

เครือข่ายเกษตรกร พื้นที่ตำบลท่าข้าม จำนวน 1 กลุ่ม อยู่นอกเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ ท่าแซะ

ขยายเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการแต่งตั้งคณะทำงาน และขับเคลื่อนกลุ่มอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งการขยายไปสู่เครือข่ายที่กว้างขึ้น

รายชื่อคณะกรรมการ และการประชุมพูดคุยสรุปงาน

พัฒนาคณะกรรมการอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับการดำเนินงานของกลุ่มเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ สุขภาพ และสังคมต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนการ พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้และเกิดการเผยแพร่องค์ความรู้กันเองในชุมชน

พื้นที่บ้านผู้ใหญ่ธวัช ทองสิน นิคมสหกรณ์ท่าแซะ

พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้ที่เกิดขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกษตรกรเกิดทักษะในการวางแผนการจัดโครงการ และการผลิตอาหารปลอดภัยให้เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค

กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่นำผลผลิตมาจำหน่ายที่คลาดเกษตรและอาหารสุขภาพ

พัฒนาคณะทำงานให้สามารถบริการและวางแผนการผลิตและวางแผนการดำเนินกิจกรรม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

เกษตรกรและเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการปลูกพืชเชิงเดียว ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีอย่างเข้มข้น เป็นการปลูกพืชผสมผสาน และมีการผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน มีการปลูกผัก เลี้ยงไก่ ปลา ผลิตปุ๋ยชีวภาพ เพื่อลดการใช้สารเคมี

ต้นแบบแต่ละในนิคมสหกรณ์ ท่าแซะ

ขยายต้นแบบ และขยายครัวเรือนพอเพียงให้กระจายออกไปอย่างกว้างขวาง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชน มีการแบ่งปันองค์ความรู้ เช่นการผลิตปุ๋ย การแบ่งปันผัก รวมทั้งการแลกเปลี่ยนสินค้า

ตลาดเกษตรและอาหารสุขภาพบริเวณหน้านิตมสหกรณ์ ที่เป็นแหล่งพบปะแลกเปลี่ยนผลผลิต

พัฒนาต่อยอดให้กลุ่มและเครือข่ายเข้มแข็งและวางแผนการผลิตให้เพียงพอกับประชาชนที่ต้องการอาหารปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

(25)โครงการ พัฒนาคณะทำงานเกษตรสุขภาวะเพื่อขยายกิจกรรมเกษตรและอาหาปลอดภัย นิคมสหกรณ์ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0025

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภาณุวัฒน์ กิมเซี้ยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด