directions_run

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลเกาะสุกร

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มี ศักยภาพในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล
ตัวชี้วัด :
0.00

 

 

 

2 1.1 เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.1 มีกลไกคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจำนวน 15 คน ที่ ประกอบด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ. สต. อสม. ภาคีภาคประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่ม องค์กรภาคประชาชน 1.2 มีชุดข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล (มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติการปรับสภาพแวดล้อม) 1.3 มีการนำเข้าข้อมูลคนเปราะบาง (ผู้สูงอายุ คนพิการและคนยากจน) เข้าสู่ ระบบ imed @home 1.4 ประเมินติดตามการขับเคลื่อนงานของคณะทำงานตำบล
18.00

1.1คณะทำงาน จาก3 ภาคี มีการแบ่งงานออกเป็นมิติ ด้านสุขภาพ แกนนำหลัก อสม/รพสต ด้านสภาพแวดล้อม ช่างชุมชน ด้านสังคม ชมรมผู้สูงอายุ และด้าน เศรษฐกิจ อบต และสวัสดิการชุมชน 1.2 ข้อมูล จำนวนเข้าร่วม 200 คน มีสมุดประจำตัวทุกคน
1.3 นำข้อมูลนำเข้า ผ่านโปรแกรม iMed@Home
1.4 มีการติดตามประเมินผล 1 ครั้ง(ARE 1)

1.1ความพร้อมของคณะทำงาน

คณะทำงาน ชุดแรก 20 คน ไม่เข้าใจในการทำงาน ไม่อยากทำ ไม่รู้รายละเอียด จึงหารือ ประธาน และคณะทำงานแกนนำ ปรับคณะทำงานใหม่เขายินดี ปรับใหม่ ตอนนี้แบ่งงาน ตามความถนัดแต่ละคน

3 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 2.1 มีกติกาชุมชนในการดูแลสุขภาพเพื่อรักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัยสูงวัย แข็งแรง 2.2 มีการรณรงค์ให้ความรู้เชิดชูเกียรติผู้ที่มีการดูแลสุขภาพปลอดโรคปลอดภัย 2.3 มีร้านลดหวานมันเค็ม 1 ร้าน 2.4 มีระบบดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Term Care) ผ่านมาตรฐานร้อย ละ 80** มิติสภาพแวดล้อม 2.5 มีครัวเรือนที่มีการปรับสภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (เจ้าบ้านปรับ เอง/ปรับโดยชุมชน/ปรับโดยหน่วยงาน เช่น อปท. พมจ. ) อย่างน้อยจำนวน 2 ครัวเรือน 2.6 มีพื้นที่สาธารณะในชุมชน เช่น วัด หรือ มัสยิด หรือ ศาลเจ้า หรือ อาคารและ สถานที่ของราชการ มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ อย่าง น้อย 1 จุด 2.7 มีช่างชุมชน/เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าใจแนวคิดและสามารถ ให้คำแนะนำการปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 คน มิติสังคม 2.8 มีศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล
200.00

2.1กติกาของชุมชน เรื่องอาหารและการออกกำลังกายของกลุ่มเป้าหมาย 2.2 มีเกียรติบัตร สำหรับบุคลลต้นแบบ ด้านสุขภาพ 2.3 ร้านต้า 1 ร้านเข้าร่วมโครงการ
2.4 เข้าร่วมกองทุนดูแลผู้ป่วยระยะยาว มา 3 ปีกำลังดำเนินเบิกจ่าย รอปรับ Care plan
2.5 ที่อยู้อาศัย จากกองทุนฟื้นฟูอบจ และพมจจำนวน 2 หลัง 2.6 สำรวจมัสยิดหมู่ที่ 4 มีแบบแปลน แต่รองบจากรมศาสนาและสะพาน ขึ้นลง จากกรมเจ้าท่า 2.7 ช่างชุมชนและช่างท้องถิ่น จำนวน6คน ผ่านการอบรมจากศูนย์UDC มอ ตรัง 2.8 มีศูนย์ช่วยเหลือ แต่่ขาดการดำเนินงานต่อเนื่อง

ขาดพื้นที่่สาธารณะแต่มีแบบแปลนและใส่ในแผนแล้ว

งบประมารปรับปรุงและก่อสร้างใหม่มีน้อย

4 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 3.1 กลุ่มเป้าหมายมีดัชนีมวลกายผ่านเกณฑ์ร้อยละ/มีพฤติกรรมลดการสูบบุหรี่ ร้อยละ 25 มิติสังคม 3.2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 25 มีการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน ผู้สูงอายุ/กลุ่มอื่นๆ ) อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3.3 กลุ่มเป้าหมายมีการไปเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 10 3.4 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ร้อยละ 25 มิติเศรษฐกิจ 3.5 กลุ่มเป้าหมายมีการออมเตรียมสูงวัยด้วยเงิน ได้แก่ สถาบันการเงินในชุมชน ธนาคาร กอช. ประกันตนเองมาตรา 40 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ อย่างน้อย 2 รูปแบบ ร้อยละ 25
200.00

อายุ 35-59 ปี 151 คน และอายุ60 ขึ้นไป รวม49 คน 3.1ดัชนีมวลกาย ไมไ่ด้ ดำเนินการ 3.2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 25 มีการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน    ผู้สูงอายุ/กลุ่มเครื่องแกง ) อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3.3 ไม่ได้ดำเนินการ 3.4 กลุ่มเป้าหมาย ผ่านการอบรมสื่อและเทคโนโลยี่ 3.5 กลุ่มเป้าหมายมีการออมสถาบันการเงิน ประกันสังคม ร้อยละ83.5 (167 คน)

การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุร่วมกิจกรรม LTC

LTC ตอนนี้รอCare Plan ในการดำเนินการ

5 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : ด้านสุขภาพ 4.1 กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงเป็น โรคเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ 10 มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงน้อยกว่า ร้อยละ 5 4.2 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ5 4.3 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อย ละ5 4.4 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.5 กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ควบคุมระดับได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.6 กลุ่มติดเตียง ได้รับการดูแลร้อยละ 80 ด้านสังคม 4.7 กลุ่มเป้าหมายมีความสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่นในชุมชนนดีขึ้นร้อยละ 50 ด้านสภาพแวดล้อม 4.8 กลุ่มเป้าหมายหลังปรับสภาพบ้านลดการพลัดตกหกล้มอย่างน้อยร้อยละ 80
200.00

4.1กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงเป็น โรคเบาหวาน 8คน ร้อยละ 4 4.2และมีความเสี่ยงต่อความดันfโลหิตสูง 18 ราย ร้อยละ9 4.3-4.6 ไม่ได้ดำเนินการ เก็ข้อมูล 4.7 กลุ่มเป้าหมายมีความสัมพันธ์ได้ดี จากการสอบถาม ดีขึ้น 4.8 ไม่มีพลัดตกอกล้ม ในบ้านที่ปรับสภาพแวดล้อม

4.3-4.6 ตัวชี้วัดที่ต้องใช้เวลาในการประเมินช่วงดำเนินการโครงการ10 เดือน ไม่เพียงพอ

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ไม่สามารถประเมินผลได่้ ช่วงเวลา ไม่สอดคล้องการทำงาน

6 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล
ตัวชี้วัด : 5.1 มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล 5.2 มีบทเรียนชุดประสบการณ์การขับเคลื่อนรองรับสังคมสูงวัย  
2.00

5.1มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพ จำนวน จำกัด 5.2 มีชุดบทเรียนการทำงานสามภาคีสานพลัง
5.3 มีธรรมนูญรองรับสังคมสูงวัยตำบล

งบประมาณ มีจำกัด ทั้งงบเงินอุดหนุนและงบกองทุนสุขภาพตำบล อบต

ขอสนับสนุนจากกองทุนผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในการดำเนินงานด้านโรงเรียนผู้สูงอายุและกิจกรรมในชุมชนของผู้สูงอายุ ก่อนสูงอายุ