directions_run

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มี ศักยภาพในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล
ตัวชี้วัด :
200.00

คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจและร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยมีภาคีเข้าร่วมเป็นคณะทำงานเกิน3 ภาคี

ไม่มี

จำนวน6 หมู่บ้านๆละ 35 คนทีมคณะทำงานและทีมอสม ลงสอบถาม ความต้องการเข้าร่วมโครงการ กลุ่มอายุ 35-59ปี กลุ่มอายุ60ปี ขึ้นไป 40 คน

2 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.1 มีกลไกคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจำนวน ๑๕ คน ที่ ประกอบด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ. สต. อสม. ภาคีภาคประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่ม องค์กรภาคประชาชน 1.๒ มีการนำเข้าข้อมูลคนเปราะบาง (ผู้สูงอายุ คนพิการและคนยากจน) เข้าสู่ ระบบ imed @home
26.00

1.1มีคณะทำงานมากกว่า 3 ภาคี มีความรุ้ความเข้าใจและพร้อมขับเคลื่อนงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.2 มีการนำเข้าข้อมูลคนเปราะบาง (ผู้สูงอายุ คนพิการและคนยากจน) เข้าสู่ ระบบ imed @home

ไม่มี

1.1คณะทำงาน 26 คน
ตามคำสั่ง แต่จะมีคณะทำงานหมู่บ้าน และอสม รายหมู่บ้านรวม 50 คน 1.2 กลุุ่มเปราะบาง มีการใช้fปรแกรม iMed@homeเน้นกลุ่มผู็ป่วยติดเตียงมีการใช้ในการเยี่ยมบ้าน โดยCare giver 2อาสาสมัครบริบาล3Case Managements

3 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 2.1 มีกติกาชุมชนในการดูแลสุขภาพเพื่อรักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัยสูงวัย แข็งแรง 2.2 มีการรณรงค์ให้ความรู้เชิดชูเกียรติผู้ที่มีการดูแลสุขภาพปลอดโรคปลอดภัย 2.3 มีร้านลดหวานมันเค็ม 1 ร้าน 2.4 มีระบบดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Term Care) ผ่านมาตรฐานร้อย ละ 80** มิติสภาพแวดล้อม 2.5 มีครัวเรือนที่มีการปรับสภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (เจ้าบ้านปรับ เอง/ปรับโดยชุมชน/ปรับโดยหน่วยงาน เช่น อปท. พมจ. ) อย่างน้อยจำนวน ๒ ครัวเรือน 2.6 มีพื้นที่สาธารณะในชุมชน เช่น วัด หรือ มัสยิด หรือ ศาลเจ้า หรือ อาคารและ สถานที่ของราชการ มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ อย่าง น้อย 1 จุด 2.7 มีช่างชุมชน/เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าใจแนวคิดและสามารถ ให้คำแนะนำการปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 คน
200.00

2.1 มีกติกาชุมชนในการดูแลสุขภาพเพื่อรักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัยสูงวัย แข็งแรง มีธรรมนูญสุขภาพตำบลในการดูแลสุขภาพเพื่อรักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัยสูงวัย แข็งแรง
2.2 มีการรณรงค์ให้ความรู้เชิดชูเกียรติผู้ที่มีการดูแลสุขภาพปลอดโรคปลอดภัย
2.3 มีร้านลดหวานมันเค็มต้นแบบ 1 ร้าน และเข้าร่วม 5 ร้าน 2.4 มีระบบดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Term Care) CM 1 คน/CG16 คน อาสาสมัครบริบาล 2 คน กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง 98 คน 2.5 มีครัวเรือนที่มีการปรับสภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (เจ้าบ้านปรับ เอง/ปรับโดยชุมชน/ปรับ ปี พ.ศ. 2565 -2566 ปรับบ้าน 39 หลัง ,ปรับราวจับกับโถส้วม 95 หลัง(งบสภาองค์กรชุมชน/อบต./พมจ/ท้องถิ่น/อบจ/ศูนย์ PSU-UDC) 2.6 มีพื้นที่สาธารณะในชุมชน เช่น วัด รพสต. และ อบต. มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ 3 จุด
2.7 มีช่างชุมชน/เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าใจแนวคิดและสามารถ ให้คำแนะนำการปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุจำนวน 3 คน

ไม่มี

1การดำเนินงานมากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ความร่วมมือในการทำงานทั้ง3 ภาคี 2เป็นศูนย์เรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ 3 อบตกำลังก่อสร้างห้องน้ำห้องส้วมออกแบบโดยศูนย์UDC มอตรัง สำหรับประชาชนทุกคน

4 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 3.1 กลุ่มเป้าหมายมีดัชนีมวลกายผ่านเกณฑ์ร้อยละ/มีพฤติกรรมลดการสูบบุหรี่ ร้อยละ 25 มิติสังคม 3.2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 25 มีการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน ผู้สูงอายุ/กลุ่มอื่นๆ ) อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3.3 กลุ่มเป้าหมายมีการไปเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 10 3.๔ กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ร้อยละ 25 มิติเศรษฐกิจ 3.๕ กลุ่มเป้าหมายมีการออมเตรียมสูงวัยด้วยเงิน ได้แก่ สถาบันการเงินในชุมชน ธนาคาร กอช. ประกันตนเองมาตรา 40 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ อย่างน้อย 2 รูปแบบ ร้อยละ 25
200.00

3.1.กลุ่มเป้าหมายมีดัชนีมวลกายผ่านเกณฑ์ร้อยละ72.2 /มีพฤติกรรมลดการสูบบุหรี่ ร้อยละ 25 มิติสังคม
3.2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 25 มีการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน ผู้สูงอายุ/กลุ่มอื่นๆ ) อย่างน้อยเดือนละ 4 ครั้ง
3.3 กลุ่มเป้าหมายมีการไปเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน ต่อเนื่อง 3.4กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเท่าทันสื่อและเทคโนโลยี
3.5 กลุ่มเป้าหมายมีการออมเตรียมสูงวัยด้วยเงิน ได้แก่ สถาบันการเงินในชุมชน ธนาคาร496 คน และธนาคารขี้วัว 12 คน

3.1ไม่มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดสูบบุหรี่

3.1กลุ่มเป้าหมาย ส่วนใหญ่ เป็ผู้หญิง จึงไม่ได้ดำเนินการ

5 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : ด้านสุขภาพ 4.1 กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงเป็น โรคเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ 10 มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงน้อยกว่า ร้อยละ 5 4.2 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ5 4.3 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อย ละ5 4.4 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.5 กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ควบคุมระดับได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.6 กลุ่มติดเตียง ได้รับการดูแลร้อยละ 80
200.00

4.1 กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงเป็น โรคเบาหวาน เท่ากับ 9 คน ร้อยละ 4.5และ มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงเท่ากับ8 ตน ร้อยละ 4
4.6 กลุ่มติดเตียง ได้รับการดูแลของLTC จำนวน 98 คน

ไม่มี 4.2-4.3 ไม่ได้ดำเนินการในการเก็บข้อมูล 4.4-4.5 ระยะเวลาดำเนินการ10 เดือน ไม่ได้ดำเนินการ

ได้รับความร่วมมือจากทีม อสม. รพสต. เป็นอย่างดี และกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือดี ในการดำเนินงานLTC

6 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล
ตัวชี้วัด : 5.1 มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล 5.2 มีและใช้ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ของพื้นที่
1.00

5.1. มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบลเรียร้อยแล้ว 2 มีการทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ของพื้นที่เรียบร้อยแล้ว

ไม่มี

มีการบรรจุโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัยไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น ปะจำปี พ.ศ.2566-2570 เรียบร้อยแล้ว และได้นำไปตั้งเป็นข้อบัญญัจิประตำปีงบประมาณ 2566 ซึ่งจะขับเคลื่อนกิจกรรมต่อไป ส่วนธรรมนูญสุขภาพตำบลได้มีการทบทวนและประกาสใช้ธรรมนูญสุขภาพเรียบร้อยแแล้ว