ชื่อโครงการ | โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน |
ภายใต้องค์กร | Node Flagship จังหวัดตรัง |
รหัสโครงการ | 65-00-0144-0009 |
วันที่อนุมัติ | 1 มิถุนายน 2565 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2565 - 31 พฤษภาคม 2566 |
งบประมาณ | 120,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายไพบูลย์ หนูอินทร์ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | 091-8543613 |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางจำเนียร มานะกล้า |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มิ.ย. 2565 | 30 ก.ย. 2565 | 1 มิ.ย. 2565 | 30 ก.ย. 2565 | 48,000.00 | |
2 | 1 ต.ค. 2565 | 31 ม.ค. 2566 | 1 ต.ค. 2565 | 31 มี.ค. 2566 | 60,000.00 | |
3 | 1 ก.พ. 2566 | 31 มี.ค. 2566 | 12,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 120,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์(Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 ประชากร สูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 ทั้งนี้ในปี 2562 เป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก และจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ในอีกไม่ถึง 20 ปี(พ.ศ 2578) ซึ่งโครงสร้าง อายุของประชากรที่เปลี่ยนไปนี้เท่ากับเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างของสังคมโดยรวมด้วย สถานการณ์ประชากรผู้สูงอายุไทยในปี 2565มีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 12.12 ล้านคน คิด เป็นร้อยละ 18.3 ของประชากรไทยทั้งหมด เมื่อจำแนกประเภทผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อย ละ 96 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดคือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) โดยส่วน ใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60-69 ปี อีกประมาณร้อยละ 2 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นในบางกิจกรรมของกิจกรรมของ กิจวัตรประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) และผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด(ติดเตียง)ประมาณร้อยละ 1 โดยส่วนใหญ่อยู่ ในวัยมากกว่า 80 ปี ซึ่งผู้สูงอายุในช่วยวัยปลายหรืออายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไปนั้น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงสะท้อนถึง การเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ แม้ว่าประชากรไทยจะมีอายุยืนยาวขึ้น แต่กลับตามมาด้วยการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังยาวนานขึ้น และ โอกาสที่จะอยู่ในภาวะพึ่งพิงเนื่องมาจากการมีทุพพลภาพและผู้สูงอายุที่อยู่ลำพังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยปัญหา สำคัญของผู้สูงอายุ คือ ประเด็นสุขภาพและด้านเศรษฐกิจ ซึ่งด้านสุขภาพจากผลการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2557 พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 95 มีปัญหาสุขภาพด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคข้ออักเสบ ข้อเสื่อม โรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตายและอัมพาต รวมทั้งยังมี ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วย นอกจากนี้ยังมีข้อมูลว่ามีผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 26.5 มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ครอบครัว รวมถึงภาครัฐที่จะต้องใช้งบประมาณ จำนวนมหาศาลเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพ อย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ด้านสังคม พบว่า ในปี 2560 มีผู้สูงอายุที่เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม/ชมรมผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 33.7 ส่วนด้านสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุ กว่าร้อยละ 10 เคยมีประสบการณ์ในการหกล้ม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ราวจับ และการปรับสภาพพื้นที่ในบ้านและนอกบ้านให้เอื้อต่อการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัยและป้องกันการหก ล้ม ซึ่งเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บอันนำไปสู่ภาวะติดบ้านและติดเตียงตามมา ด้านเศรษฐกิจ พบว่า ผู้สูงอายุร้อย ละ 34.3 เป็นผู้สูงอายุที่ยากจน โดยผู้สูงอายุ 4.4 ล้านคน (ร้อยละ 37) ยังคงทำงานอยู่ ซึ่งผู้สูงอายุชายทำงาน มากกว่าผู้สูงอายุหญิงเกือบ 2 เท่า อีกทั้ง ในปัจจุบันผู้สูงอายุเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากขึ้น ซึ่งการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต นั้นง่ายต่อการสื่อสาร แต่มีทั้งคุณและโทษ จึงควรพัฒนาช่องทางสื่อสารไปยังผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดการเข้าใจปัญหา และการเตรียมความพร้อมในการแก้ไขปัญหา เช่น การแก้ไขปัญหาข่าวลวง และความเชื่อที่ไม่มีหลักฐาน สำหรับจังหวัดตรังพบว่าประชากรที่มีอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 17.24 และประชากรอายุ 15-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 64.84 ประชากรอายุ 0.14 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.51 เพิ่มตามธรรมชาติ ร้อยละ ๐.๒๑ ภายในปี ๒๕๗๒ จะมีประชากรกลุ่มนี้กลายเป็นผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ ๓๐ ของประชากรจังหวัดตรังซึ่งจะ ทำให้จังหวัดตรังเข้าสู่สังคมสูงวัยสุดยอด (ข้อมูลเมื่อ เดือน ธันวาคม 2564) สถานการณ์ประชากรในจังหวัดตรังสามารถจำแนกเป็นกลุ่มสูงอายุส่วนใหญ่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ ต้องพึ่งผู้อื่น คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๒๙ ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด อีกประมาณร้อยละ 3.71 เป็นผู้สูงอายุที่ต้อง ส่วนที่ 2: รายละเอียดโครงการ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มี ศักยภาพในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล
|
||
2 | 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง 1.1 มีกลไกคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจำนวน ๑๕ คน ที่
ประกอบด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ.
สต. อสม. ภาคีภาคประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่ม
องค์กรภาคประชาชน |
||
3 | 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย มิติสุขภาพ |
||
4 | 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม มิติสุขภาพ |
||
5 | 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ด้านสุขภาพ |
||
6 | 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล 5.1 มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง
วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ประชากร 60 ปีขึ้นไป | 40 | - | |
ประชากรอายุ 35-59 ปี | 160 | - |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มิ.ย. 65 | ก.ค. 65 | ส.ค. 65 | ก.ย. 65 | ต.ค. 65 | พ.ย. 65 | ธ.ค. 65 | ม.ค. 66 | ก.พ. 66 | มี.ค. 66 | เม.ย. 66 | พ.ค. 66 | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | พัฒนากลไกเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 18,750.00 | |||||||||||||
2 | พัฒนาสภาพแวดล้อมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 32,800.00 | |||||||||||||
3 | พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 13,010.00 | |||||||||||||
4 | คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 32,440.00 | |||||||||||||
5 | พัฒนานโยบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 3,000.00 | |||||||||||||
6 | ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 20,000.00 | |||||||||||||
7 | บัญชีธนาคาร(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) | 0.00 | |||||||||||||
รวม | 120,000.00 |
1 พัฒนากลไกเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 130 | 18,750.00 | 9 | 15,250.00 | |
28 มิ.ย. 65 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 | 30 | 2,875.00 | ✔ | 750.00 | |
15 ส.ค. 65 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 | 0 | 1,075.00 | ✔ | 1,075.00 | |
22 ก.ย. 65 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 | 0 | 1,875.00 | ✔ | 750.00 | |
1 ต.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 | 0 | 875.00 | ✔ | 875.00 | |
5 ต.ค. 65 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 | 0 | 750.00 | ✔ | 750.00 | |
7 ต.ค. 65 | พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย | 40 | 8,800.00 | ✔ | 8,800.00 | |
30 ม.ค. 66 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 | 0 | 750.00 | ✔ | 750.00 | |
2 พ.ค. 66 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 | 30 | 750.00 | ✔ | 750.00 | |
15 พ.ค. 66 | ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 | 30 | 1,000.00 | ✔ | 750.00 | |
2 พัฒนาสภาพแวดล้อมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 1390 | 32,800.00 | 14 | 35,355.00 | |
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 20 | 6,650.00 | ✔ | 1,005.00 | |
21 ต.ค. 65 | สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย | 200 | 2,400.00 | ✔ | 2,400.00 | |
4 พ.ย. 65 | ประชาสัมพันธ์โครงการ | 200 | 500.00 | ✔ | 500.00 | |
15 ธ.ค. 65 | ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 100 | 2,500.00 | ✔ | 2,500.00 | |
22 ธ.ค. 65 | ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสุูงวัยทั้ง 4 มิติ | 100 | 2,500.00 | ✔ | 2,500.00 | |
29 ธ.ค. 65 | ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 200 | 10,000.00 | ✔ | 10,000.00 | |
29 ธ.ค. 65 | ประชาสัมพันธ์โครงการ | 200 | 750.00 | ✔ | 750.00 | |
3 ก.พ. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | |
6 ก.พ. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | |
7 ก.พ. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | |
8 ก.พ. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | |
11 ก.พ. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | |
13 ก.พ. 66 | การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | |
12 พ.ค. 66 | จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มิติด้านสังคม | 70 | 0.00 | ✔ | 8,200.00 | |
3 พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 150 | 13,010.00 | 2 | 13,300.00 | |
25 พ.ค. 66 | จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ และรู้ทันสื่อ | 100 | 6,800.00 | ✔ | 6,800.00 | |
26 พ.ค. 66 | จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสุงวัย 4 มิติ และรู้เท่าทันสื่อ | 50 | 6,210.00 | ✔ | 6,500.00 | |
4 คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 260 | 32,440.00 | 4 | 32,603.00 | |
14 มี.ค. 66 | เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย | 50 | 9,940.00 | ✔ | 9,940.00 | |
19 พ.ค. 66 | จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย | 70 | 7,482.00 | ✔ | 7,482.00 | |
19 พ.ค. 66 | เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย | 70 | 13,431.00 | ✔ | 13,431.00 | |
30 พ.ค. 66 | จัดเวทีทบทวนธรรมนุญสุขภาพตำบลบางด้วน | 70 | 1,587.00 | ✔ | 1,750.00 | |
5 พัฒนานโยบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 120 | 3,000.00 | 1 | 3,000.00 | |
18 มี.ค. 66 | การสร้างความยั่งยืนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย | 120 | 3,000.00 | ✔ | 3,000.00 | |
6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 21 | 20,000.00 | 10 | 12,760.00 | |
2 มิ.ย. 65 | ปฐมนิเทศโครงการย่อย | 0 | 1,700.00 | ✔ | 600.00 | |
6 ก.ค. 65 | จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส | 0 | 1,000.00 | ✔ | 1,000.00 | |
6 ก.ค. 65 | พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ) | 3 | 1,700.00 | ✔ | 760.00 | |
1 ต.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 | พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org) | 0 | 1,700.00 | - | ||
1 ต.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 | พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 | 3 | 1,700.00 | ✔ | 600.00 | |
1 - 31 ต.ค. 65 | เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่1 | 3 | 1,700.00 | ✔ | 800.00 | |
12 เม.ย. 66 | ประสานงานและจัดทำโครงการ | 1 | 3,000.00 | ✔ | 3,000.00 | |
12 เม.ย. 66 | จัดทำบัญชี | 1 | 2,000.00 | ✔ | 2,000.00 | |
19 เม.ย. 66 | จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ | 0 | 2,000.00 | ✔ | 2,000.00 | |
19 เม.ย. 66 | เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส. | 5 | 1,800.00 | ✔ | 1,000.00 | |
3 พ.ค. 66 | เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 | 5 | 1,700.00 | ✔ | 1,000.00 | |
7 บัญชีธนาคาร | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 1 | 500.00 | |
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 | ค่าเปิดบัญชีธนาคาร | 0 | 0.00 | ✔ | 500.00 | |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.ย. 2565 15:55 น.