task_alt

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

ชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เงินยืมทดลองเปิดบัญชี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เงินยืมทดลองเปิดบัญชี

 

0 0

2. ปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ประธอบ 1. นายไพบูลย์  หนูอินทร์ ตำแหน่ง ประธาน    2. นายสมศักดิ์ สุนทรนนท์  ตำแหน่ง รองประธาน 3. นางอุบล  ชัยรัตน์  ตำแหน่ง เลขานุการ ได้ลงนามในสัญญา โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัยพร้อมได้รับรู้แนวทางการดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในปีที่ 2 และแนวทางการขับเคลื่อน และการขยายผลการดำเนินกงานมาให้คณะทำงานในพื้นที่ได้รับทราบ และร่วมกันทำงานให้บรรลุตามบันไดผลลัพะ์ที่พื้นที่ได้กำหนดไว้ ในงบประมาณในการดำเนินงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย งบประมาณ 120,000 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทางประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1  วิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนีตรัง ประกอบด้วย 1. นายไพบูลย์  หนูอินทร์ ตำแหน่ง ประธาน    2. นายสมศักดิ์ สุนทรนนท์  ตำแหน่ง รองประธาน
3. นางอุบล  ชัยรัตน์  ตำแหน่ง เลขานุการ ได้มีการลงนามทำสัญญาโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุูงวัย เพื่อทาง NFT จะได้กำหนดขั้นตอนการทำงานตามบันไดผลลัพธ์ของแต่ละพื้นที่ ต้องสอดคล้องกับบันไดผลลัพธ์ของจังหวัดด้วย

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะกรรมการทั้ง30 คนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และสามารถเข้าใจในบันไดผลลัพธ์ของ node flagship  ตรัง และนำมาใช้ในพื้นที่ตำลบางด้วน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ห้องประชุม อบต.บางด้วน  จำนวน 30 คนโดยมี คุณสุวณี ณ พัทลุง  และ นายเชภาดร จันทร์หอม คณะทำงานของ Node  Flagship ตรัง มาคลี่บันไดผลลัพท์ ประกอบด้วยตัวชี้วัดผลลัพธ์กิจกรรม เพื่อให้คณะทำงานมีความเข้าใจในการดำเนินงานโดยยึดบันไดผลลัพธ์เป็นหลักในการขับเคลื่อนงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

30 0

4. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นป้ายไวนิล ขนาด 1.60x4.00 เมตร โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน เป็นป้ายชื่อโครงการไว้สำหรับการประชุมกับกลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานในพื้นที่เพื่อสร้างความรับรู้และความเข้าใจในตัวโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุูงวัยตำบลบางด้วน เป้็นการประชาสัมพันธ์โครงการและความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย สร้างการรับรู้ของประชาชนในพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายแต่ละพื้นที่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ป้ายไวนิล ขนาด 1.60x4.00 เมตร โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน เป็นป้ายชื่อโครงการไว้สำหรับการประชุมกับกลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานในพื้นที่เพื่อสร้างความรับรู้และความเข้าใจในตัวโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุูงวัยตำบลบางด้วน เป้็นการประชาสัมพันธ์โครงการและความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

0 0

5. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ)

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แกนนำคณะทำงานเข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับใช้ในพื้นที่เพื่อง่ายต่อการดำเนินการชุมชนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ  ด้านสังคม  ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1แกนนำได้รับเชิญอบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคสูงวัย จาก มอ ตรัง 2บรรยาย เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสุขภาพ 3 บรรยาย เรื่องการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติเศรษฐกิจ 4[บรรยาย เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสังคม 5.บรรยาย เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสภาพแวดล้อม ุสรุป ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ จากที่ประชุม

 

3 0

6. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ขนาดป้าย 1.20 เมตรx 2.40 เมตร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายบันไดผลลัพธ์โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน เพื่อใช้เป้็นป้ายสำหรับการขับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

200 0

7. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้ช่วยนายช่างโยธา และช่างในชุมชน รวมจำนวน 3 คน ได้เข้าร่วมอบรมช่างท้องถิ่นที่วัดไร่พรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ช่างท้องถิ่นมีความรู้ความเข้าใจในการปรับสภาพแวดล้อมบ้านพักอาศัยและอาคารสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุ  ในตำบลบางด้วน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ได้จัดส่งผู้ช่วยนายช่างโยธา และช่างในชุมชน รวมจำนวน 3 คน อบรมช่างท้องถิ่นเข้าร่วม อบรมที่วัดไร่พรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง  โดยมีทีมงานวิทยากร จาก ศุูนย์ UDC มอ ตรัง มาให้ความรุู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ การก่อสร้าง และการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ขอองบ้านเรื่อนประชาชน แและพีื้นที่สาธารณะในชุมชน ให้เกิดความปลอดภัย และเหมาะสมกับการเข้าสู่สังคมสูงวัยของจังหวัดตรัง ดังนั้น ช่างชุมชนจึงเป็นกำลังสำคํยในการออกแบบและก่อสร้างบ้านเรื่อน หรือพื้นที่สาธารณะให้เกิดความปลอดภัยและสามารถใช้ประโยชน์ได้ทุกกลุ่มวัย สามรถใช้ได้ตอนเข้าสู่สังคมสูงวัย

 

20 0

8. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มคณะทำงาน ได้เข้าร่วมประชุมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย  ครั้งที่ 2 และเป้็นปีที่ 2 ของตำบลบางด้วน ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานผู้นำท้องถิ่นและผุ้นำท้องที่เข้ามาร่วมเป้นคณะทำงานเพิ่มขึ้น จึงต้องมีการประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในในโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย  สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ให้คณะทำงานได้มีความตระหนักถึงการเข้าสู่สังคมสุงวัยของประเทศไทย และทุกคนควรจะมีบทบาทในการช่วยกันเตรียมพื้นที่ เตรียมสังคม เตรียมประชาชนให้เกิดการตื้นตัวและเข้าสู่สังคมสุงวัยอย่างรอบรู้และรู้ทันสถานะการณ์  โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน 43 คน ทุกคนมีความคิดเห็นที่ต่าง ๆกัน และเมื่อบางด้วนเป็นต้นแบบเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย แล้ว ดังนั้นการขับเคลื่อนในปีที่ 2 นี้ ทุกภาคส่วนจึงเป็นกลไกสำคํยที่ทำให้งานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยประสบความสำเร็จและเป็นไปตามบันไดผลลัพธ์ที่วางไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ได้ประชุมคณะทำงาน การดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เนื่องจากเป็นปีที่ 2 ของตำบลบางด้วน จึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานผู้นำท้องถิ่นและผุ้นำท้องที่เข้ามาร่วมเป้นคณะทำงานเพิ่มขึ้น จึงต้องมีการประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในในโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย  สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ให้คณะทำงานได้มีความตระหนักถึงการเข้าสู่สังคมสุงวัยของประเทศไทย และทุกคนควรจะมีบทบาทในการช่วยกันเตรียมพื้นที่ เตรียมสังคม เตรียมประชาชนให้เกิดการตื้นตัวและเข้าสู่สังคมสุงวัยอย่างรอบรู้และรู้ทันสถานะการณ์  โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน 43 คน

 

0 0

9. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมคณะทำงาน การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ  โดยกระจายกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 6 หมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งได้กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมและการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานให้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย  จึงได้กำหนดการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ในวันที่ 7 ตุลาคม  2565 ณ ปากปรน คาแนล ตำบลหาญสำราญ อำเภอหาญสำราจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ  โดยกระจายกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 6 หมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งได้กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมและการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานให้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 42 9                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 7,540.00                  
คุณภาพกิจกรรม 36                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

1กิจกกรรมตามแผน ล่าช้าไปบ้าง

2 บันทึกในโปรแกรม Happy network ล่าช้า

1พื้นที่ต้นแบบเตรียมรองรับสูงวัยจึงทำให้มีกิจกรรมในพื้นที่มาก

2 ขาดการเรียนรู้ ในโปรแกรม

1ให้คณะทำงานแต่ละมิติ แบ่งงาน  แยกไปต่ามกิจกรรม สอดคล้องกับเวลา

2 หารือภาคีการทำงาน เพื่อเพิ่มคนบันทึกโปรแกรมโดยผ่านการเรียนรู้ จากผุู้มีประสบการณ์

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 ( 1 ต.ค. 2565 - 31 ก.ค. 2566 )
  2. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org) ( 1 ต.ค. 2565 - 31 ก.ค. 2566 )
  3. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 ( 1 ต.ค. 2565 - 31 ก.ค. 2566 )
  4. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่1 ( 1 ต.ค. 2565 - 31 ต.ค. 2565 )
  5. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 ( 5 ต.ค. 2565 )
  6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ( 7 ต.ค. 2565 )
  7. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ( 21 ต.ค. 2565 )
  8. ประชาสัมพันธ์โครงการ ( 4 พ.ย. 2565 )
  9. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ ( 15 ธ.ค. 2565 )
  10. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสุูงวัยทั้ง 4 มิติ ( 22 ธ.ค. 2565 )
  11. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ ( 29 ธ.ค. 2565 )
  12. ประชาสัมพันธ์โครงการ ( 29 ธ.ค. 2565 )
  13. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 ( 30 ม.ค. 2566 )

(................................)
นายไพบูลย์ หนูอินทร์
ผู้รับผิดชอบโครงการ